115 ผลลัพธ์ สำหรับ *ตรรกะ*
ภาษา
หรือค้นหา: ตรรกะ, -ตรรกะ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตรรกะ | (n) logic, Example: การออกแบบวงจรทั้งหลายได้อาศัยหลักการง่ายๆ ทางตรรกะซึ่งถือเป็นพื้นฐานของพีชคณิต |
ตรรกะ | (n) thought, See also: thinking, Syn. ตรรก, ความคิด, ความตรึก, Example: ผมพยายามใช้ตรรกะและความรู้ของตัวเองให้มากที่สุดเพื่อที่จะให้คำตอบ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตรรก-, ตรรกะ | (ตักกะ) น. ความตรึก, ความคิดอย่างใช้เหตุผล. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
PAL (programmable array logic) | พีเอแอล (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
PLA (programmable logic array) | พีแอลเอ (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmable array logic (PAL) | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ (พีเอแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmable logic array (PLA) | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ (พีแอลเอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logic | ตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logic | ตรรกะ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
logic programming | การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical comparison | การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical design | การออกแบบเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical diagram | แผนภาพตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical expression | นิพจน์ตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical instruction | คำสั่งเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical operation | การดำเนินการตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical operator | ตัวดำเนินการตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical operator | ตัวดำเนินการตรรกะ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
logical product | ผลคูณตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical record | ระเบียนเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
logical shift | การเลื่อนเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic-logic unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ (เอแอลยู) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic-logic unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ (เอแอลยู) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ALU (arithmetic-logic unit) | เอแอลยู (หน่วยคำนวณและตรรกะ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ALU (arithmetic-logic unit) | เอแอลยู (หน่วยคำนวณและตรรกะ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Boolean logic | ตรรกะแบบบูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
combinational logic element | ส่วนตรรกะเชิงผสม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Boolean operator | ตรรกะบูลีน, Example: <p>ตรรกะบูลีน เป็นเทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง (Advanced Search) ใช้สำหรับการสืบค้นที่มีคำสำคัญมากกว่าหนึ่งชุด หรือมีความต้องการในการค้นคืนมากกว่า 1 เงื่อนไข <p>ผู้ใช้สามารถป้อนคำค้น และเลือกระบุขอบเขต หรือเงื่อนไขของการสืบค้น โดยใช้คำในตรรกะบูลีนเป็นตัวเชื่อม ทำให้ผลการสืบค้นที่ได้มีความถูกต้อง แม่นยำ และตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากกว่าการสืบค้นแบบพื้นฐาน (Basic Search) <p>คำในตรรกะบูลีน สำหรับเชื่อมคำหรือชุดคำสั่งต่าง ๆ เข้าด้วยกัน คือ and or not ซึ่งมีความแตกต่างกัน ในการใช้สืบค้นข้อมูล ดังนี้ <p>1. and ใช้เชื่อมระหว่างคำค้นเพื่อให้ได้เรื่องที่แคบลง และตรงกับเรื่องที่ต้องการมากขึ้น ตัวอย่างเช่น bacterial cellulose and composite <p>2. or ใช้เชื่อมระหว่างคำค้นที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน จะได้ผลการค้นเป็นจำนวนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น cassava or tapioca <p>3. not ใช้นำหน้าคำค้นที่ไม่ต้องการ เป็นการค้นหาเรื่องหนึ่งที่ไม่มีอีกเรื่องหนึ่งเข้ามาเกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น cellulose not nanofiber <p>การสืบค้นแบบตรรกะบูลีน มักจะใช้สำหรับการสืบค้นข้อมูล ที่ผู้ใช้มีประสบการณ์ ความชำนาญในการสืบค้นข้อมูล และมีความรู้ในหัวข้อเรื่องที่จะสืบค้นอย่างชัดเจน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และตรงกับความต้องการมากที่สุด <p>ทั้งนี้การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ การใช้เทคนิคตรรกะบูลีนมีความสำคัญ เพื่อให้ผลการสืบค้นข้อมูลมีความแม่นยำและถูกต้อง ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์ในการฝึกฝนและสืบค้นบ่อยครั้งจึงจะมีความเชี่ยวชาญ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Programmable array logic | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ, Example: เป็นวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ในการคำนวณทางเลขคณิต เปรียบเทียบค่าต่างๆ ว่าเท่ากันหรือไม่ นอกจากนั้นยังดำเนินการทางตรรกะด้วย วงจรนี้ที่จริงคือวงจรหลักของไมโครโพรเซสเซอร์ หรือชิปต่างๆ นั่นเอง [คอมพิวเตอร์] |
Logic programming | การโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์] |
Logic design | การออกแบบเชิงตรรกะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Logic | ตรรกะ [คอมพิวเตอร์] |
fuzzy logic | ตรรกศาสตร์วิภัชนัย/ตรรกะคลุมเครือ [คอมพิวเตอร์] |
First-order logic | ตรรกะลำดับที่ 1 [TU Subject Heading] |
Logic design | การออกแบบเชิงตรรกะ [TU Subject Heading] |
Logic diagrams | แผนภาพตรรกะ [TU Subject Heading] |
Logic programming | การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ [TU Subject Heading] |
Programmable array logic | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ [TU Subject Heading] |
Arithmetic-Logic Unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ หรือเอแอลยู, หน่วยที่ทำหน้าที่ในการคำนวณต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อทำการตัดสินใจ เช่น การเปรียบเทียบข้อมูล การเปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
นิพจน์ตรรกะ | [niphot takka] (n, exp) EN: logical expression |
ตรรกะ | [takka] (n) EN: logic FR: logique [ f ] |
ตรรกะ | [takka] (n) EN: thought ; thinking FR: pensée [ f ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
legitimate | (adj) ถูกต้องตามเหตุผล, See also: ตามตรรกะ, Syn. logical, valid |
Hope Dictionary
accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ |
alu | (เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ |
arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ |
boolean logic | ตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง |
chip | (ชิพ) 1. { chipped, chipping, chips } n. เศษไม้, เศษหิน, ชิ้น, แผ่นตัด, เศษ, เบี้ย, สิ่งเล็กสิ่งน้อย, สิ่งที่ไร้ค่าหรือมีค่าน้อย, ไม้ตอก, ก้อนมูลแห้ง, เงิน vt. ตัด, เลาะ, แกะ, แชะ, ขูด, สกัด, เจาะ, ทำปากแหว่ง, เฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ , พูดเหน็บแนม, พูดสอด, จิกให้ไข่แตก vi. แหว่ง, เป็นรอยร้า 2. n. หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทำหน้าที่ เหมือนสาร กึ่งตัวนำ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มีชิปแบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit) ซึ่งจะมีทรานซิสเตอร์เป็นพัน ๆ ตัว แต่มีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แต่มีประสิทธิภาพสูงมาก ถ้าชิปใดมีทั้งหน่วยความจำ หน่วยคำนวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (micro processor) ปัจจุบัน เราใช้ชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย์ ฯ ดู microprocessor ประกอบ |
control unit | หน่วยควบคุมเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมด กล่าวคือ ควบคุมการทำงานของหน่วยคำนวณและตรรกะ ควบคุมการรับ/ส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก (main memory) กับหน่วยความจำในหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ติตต่อและควบคุมการทำงานของหน่วยรับข้อมูลและแสดงผล (input/output unit) เป็นต้นว่า รับข้อมูลเข้ามาเก็บในหน่วยความจำ ปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง รวมทั้งจัดการให้การทำงานเป็นไปตามขั้นตอน และแสดงผลตามคำสั่งด้วยดู central processing unit ประกอบ |
dry running | การตรวจสอบ (โปรแกรม) นอกเครื่องหมายถึง การตรวจสอบดูชุดคำสั่งในเชิงตรรกะ และการใช้รหัสคำสั่งจากผังงาน (flowchart) และคำสั่งข้อเขียน เพื่อดูว่า ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นถูกต้องหรือไม่ก่อนที่จะนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขสมมติใส่เข้าไปก็ได้ ในบางครั้ง ใช้คำว่า การไล่สอบบนโต๊ะทำงาน (desk check) |
exclusive or | หรือใช้ตัวย่อว่า XOR (อ่านว่า ซอร์) เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมใช้ เมื่อจะสั่งให้แสดงภาพออกมาเป็นตัวดำเนินการเชิงตรรกะตัวหนึ่ง ซึ่งใช้เลขฐานสอง สองตัวมาทำให้เกิดเป็นค่าใหม่ ถ้าในการคำนวณได้ผลลัพธ์เป็น 0 แสดงว่าคอมพิวเตอร์คำนวณได้ผลออกมาเหมือนกัน แต่ถ้าค่าออกมาไม่เท่ากัน ผลลัพธ์จะออกมาเป็นหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องเข้าใจเรื่องตรรกะนี้ก็ได้ |
fuzzy logic | ตรรกศาสตร์คลุมเคลือหมายถึง แบบหนึ่งของตรรกะ ซึ่งใช้ในระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) ตรรกะ ประเภทนี้ไม่ใช่มีแต่ ผิด-ถูก (กล่าวคือ ถ้าไม่ถูก ก็ต้องผิด หรือถ้าไม่ผิด ก็ต้องถูก) แต่ตรรกะแบบนี้ มีขอบเขตกว้างขวาง |
logical drive | หน่วยบันทึกตรรกะหมายถึง การแบ่งจานเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการใช้สอยจานนั้นให้คุ้มค่า เช่น แบ่งฮาร์ดดิสก์ออกเป็น 2 ส่วน ชื่อ C: และ D: ทั้ง ๆ ที่มีเพียงจานเดียว การแบ่งเช่นนี้อาจแบ่งเพื่อใช้เก็บแฟ้มข้อมูลที่ไม่ต้องการให้ใครทราบก็ได้ |
logical expression | นิพจน์ตรรกะหมายถึงนิพจน์ที่จะให้ค่าตรรกะเท่านั้น เช่น XZ = A>B AND B>C มีความหมายว่า ถ้า A มากกว่า B เป็น "จริง" ถ้า B มากกว่า C เป็นจริง XZ ก็จะเก็บค่า "จริง" แต่ถ้าถ้าใดค่าหนึ่งไม่จริง XZ ก็จะเก็บค่า "เท็จ"ดู expression ประกอบ |
logical operator | ตัวดำเนินการตรรกะหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม การสร้างแผ่นตารางจัดการ หรือการสร้างฐานข้อมูลเพื่อแสดงถึงสัมพันธภาพระหว่างรายการสองรายการ ตัวดำเนินการดังกล่าวมีด้วยกัน 3 ตัวคือ AND, OR, และ NOT เช่น จะเขียนโปรแกรมสั่งให้เครื่องค้นหา (จากแฟ้มข้อมูลใหญ่ ๆ) คนที่มีรายได้สูงกว่าห้าแสนบาทต่อปี AND ใช้รถเบนซ์รุ่นใหม่สุด (หมายความว่า ต้องมีคุณสมบัติทั้งสองอย่าง) ดู OR เปรียบเทียบ |
microprocessor | (ไมโครโพร'เซสเซอร์) n. , ไมโครโปรเซสเซอร์, ตัวประมวลผลจุลภาค, หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยชิป (chip) ที่มักจะเป็นวงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่หรือวีแอลเอสไอ (VLSI) มีหน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ และตรรกะที่รวมอยู่ในชิป (chip) อันเดียวนำมาใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ |
nand | (แนนด์) ไม่และตัวดำเนินการตรรกะ (logical operator) ตัวหนึ่งซึ่งจะให้สัญญาณเป็น "จริง" ถ้าสัญญาณเข้าทางใดทางหนึ่งหรือทั้งสองทางเป็น "เท็จ" และถ้าสัญญาณเข้าทั้งคู่เป็น "จริง" สัญญาณผลออกจะเป็น "เท็จ" |
pal | (แพล) n. เพื่อน, เกลอ, พีเอแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก programmable array logic (แปลว่า แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมความจุสูงมาก (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
pararell computer | คอมพิวเตอร์งานขนานหมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ทำงานทางตรรกะ หรือทางคณิตศาสตร์หลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจาก คอมพิวเตอร์นั้นมีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หลายตัว แต่ละตัวทำงานแต่ละอย่าง และสามารถทำไปพร้อม ๆ กันได้ โดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) ทำหน้าที่ดูแลให้ทำงานประสานกันดู serial computer เปรียบเทียบ |
pla | (พีแอลเอ) ย่อมาจาก programmable logic array (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
programmable logic array | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ใช้ตัวย่อว่า PLA (อ่านว่า พีเอแอล) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
scratchpad memory | หน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ |
spaghetti code | รหัสสปาเกตตี้หมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยไม่มีตรรกะ ไม่มีหลักเกณฑ์ ขาดระเบียบ ไม่มีเทคนิคในการใช้โปรแกรมโครงสร้าง (คงจะหมายถึงว่า พันกันยุ่งเหยิงเหมือนกับเส้นสปาเกตตี้) |
Longdo Approved DE-TH
unlogisch | (adj, adv) ไม่ตรรกะ หรือ ไม่สมเหตุสมผล, See also: A. logisch, nachvollziehbar, Syn. unnachvollziehbar |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0204 seconds, cache age: 2.179 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม