96 ผลลัพธ์ สำหรับ *ดูดกลืน*
ภาษา
หรือค้นหา: ดูดกลืน, -ดูดกลืน-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ดูดกลืน | (v) absorb, Syn. ดูด, กลืน |
การดูดกลืน | (n) absorption, See also: assimilation, Example: น้ำมีคุณสมบัติในการดูดกลืนได้ดี |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
การแผ่รังสี | น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อน เป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม. |
คลอโรฟิลล์ | (คฺลอ-) น. สารสีเขียว มีปรากฏในพืช ซึ่งสามารถดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้นํ้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาผลิตคาร์โบไฮเดรตได้. |
แคดเมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๘ สัญลักษณ์ Cd เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๑ °ซ. เป็นตัวดูดกลืนอนุภาคนิวตรอนได้ดี จึงทำเป็นแท่ง เรียกว่า แท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. |
ยูโรเพียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๓ สัญลักษณ์ Eu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา เนื้ออ่อนมาก หลอมละลายที่ ๘๒๖ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปดูดกลืนนิวตรอนเพื่อควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ ใช้ประกอบเป็นตัวเรืองแสงในเครื่องรับโทรทัศน์สีเป็นต้น. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
absorb | ๑. ดูดซึม๒. ดูดกลืน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absorbance | ความดูดกลืนรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absorbant; absorbent | สารดูดกลืน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
absorption | ๑. การดูดซึม๒. การดูดกลืน [ แสง ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
absorption | การดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorption | การดูดกลืน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorption | การดูดกลืน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
absorption chiller | เครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorption refrigerator | เครื่องทำความเย็นแบบดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorption spectrum | สเปกตรัมดูดกลืน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
absorbent | ตัวดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorber | ตัวดูดกลืน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
absorber | ชุดดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absorber plate | แผ่นดูดกลืน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
absorptance | ความดูดกลืน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
absorption | ๑. การดูดซึม [ มีความหมายเหมือนกับ sorption ๒ ]๒. การดูดกลืน๓. ความหมกมุ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absorption | การดูดกลืน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
absorptivity | สภาพดูดกลืน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
centigray | หน่วยรังสีดูดกลืน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
endothermic reaction | ปฏิกิริยาแบบดูดกลืนความร้อน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Labour absorption | การดูดกลืนแรงงาน [เศรษฐศาสตร์] |
Absorbed dose | ปริมาณ (รังสี) ดูดกลืน, Absorbed dose, D<sub>T, R</sub> ปริมาณพลังงานที่วัตถุดูดกลืนไว้เมื่อได้รับรังสี มีหน่วยเป็น เกรย์ ปกติจะระบุชนิดของวัตถุและชนิดของรังสี โดยเขียนเป็นสัญลักษณ์ดังนี้ D<sub>material, radiation</sub> เช่น D<sub>lung, alpha </sub>ยกเว้นรังสีแกมมาอาจไม่ต้องระบุชนิดของรังสี เช่น Dwater (ดู gray, Gy ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Absorber | สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์] |
Attenuation | การลด (ความเข้มของรังสี), การลดลงของความเข้มของรังสีเมื่อผ่านสสารเนื่องจากกระบวนการดูดกลืนและการกระเจิงรังสี [นิวเคลียร์] |
Burnable poison | สารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์] |
Chain reaction, Fission | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส, ปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสที่สามารถเกิดขึ้นซ้ำๆ ได้เอง โดยนิวเคลียสจะดูดกลืนนิวตรอนแล้วเกิดการแบ่งแยกของนิวเคลียสขึ้น พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอนใหม่เพิ่มขึ้นออกมา ซึ่งจะถูกนิวเคลียสอื่นๆ ดูดกลืนต่อไปอีก และทำให้เกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสต่อเนื่องไปเรื่อยๆ (ดู nuclear fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chemical shim | สารเคมีเสริมการควบคุม, สารเคมี เช่น กรดบอริก ที่เติมเข้าไปในตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อเสริมการทำงานของแท่งควบคุมปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส โดยการดูดกลืนนิวตรอน, Example: [นิวเคลียร์] |
Control rod | แท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] |
Very high radiation area | บริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์] |
Thermoluminescence | เทอร์โมลูมิเนสเซนซ์, ปรากฏการณ์การเปล่งแสงของสารบางชนิดเมื่อได้รับความร้อน นำมาประยุกต์ใช้วัดปริมาณรังสีที่สารนั้นดูดกลืนไว้ เช่น การวัดปริมาณรังสีด้วยทีแอลดี การหาอายุโบราณวัตถุและโบราณสถาน เทอร์โมลูมิเนสเซนซ์เกิดเมื่อสารได้รับรังสีและดูดกลืนพลังงานจากรังสีไว้ ทำให้อิเล็กตรอนส่วนหนึ่งหลุดออกมา และบางส่วนจะถูกจับไว้ในผลึกที่มีโครงสร้างไม่สมบูรณ์ ซึ่งเมื่อนำมากระตุ้นด้วยความร้อน อิเล็กตรอนดังกล่าวจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมทั้งคายพลังงานในรูปของแสง ตัวอย่างสารเทอร์โมลูมิเนสเซนซ์ในธรรมชาติ เช่น แร่แคลไซต์ แร่โดโลไมต์ หินฟันม้า หินเขี้ยวหนุมาน เพทาย และสารที่สังเคราะห์ขึ้น เช่น แคลเซียมฟลูออไรด์ (ดู thermoluminescence dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Sievert | ซีเวิร์ต, หน่วยวัดปริมาณรังสีสมมูล เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นเกรย์ กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์อีบี) หน่วยซีเวิร์ตนี้ใช้แทนหน่วยเรม โดย 1 ซีเวิร์ต เท่ากับ 100 เรม (ดู rem ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radiography | การถ่ายภาพรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออน เช่น รังสีเอกซ์ หรือ รังสีแกมมา ถ่ายภาพวัตถุบนแผ่นฟิล์มโดยอาศัยหลักการดูดกลืนรังสี ส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้น้อยกว่าจะปรากฏภาพเงาบนฟิล์มทึบกว่าส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้มากกว่า [นิวเคลียร์] |
Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radiation absorbed dose | หน่วยที่ใช้วัดปริมาณรังสีดูดกลืน, หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีดูดกลืน โดย 1 แร็ด มีค่าเท่ากับ 100 เอิร์ก (erg) ต่อกรัมของมวลสาร ปัจจุบันใช้หน่วยเกรย์แทน โดย 1 เกรย์ เท่ากับ 100 แร็ด [นิวเคลียร์] |
Poison | สารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์] |
Neutron generation | รุ่นนิวตรอน, นิวตรอนที่เกิดขึ้นจากการแบ่งแยกนิวเคลียสในแต่ละรุ่น โดยนิวตรอนที่เกิดและปล่อยออกมาในรุ่นก่อน จะเกิดการเทอร์มัลไลซ์ และถูกดูดกลืนโดยวัสดุฟิสไซล์แล้วเกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสให้นิวตรอนรุ่นถัดมา และเกิดตามกระบวนการนี้ไปเรื่อยๆ <br>ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลังทั่วไป จะมีนิวตรอนเกิดขึ้นประมาณ 40, 000 รุ่นในทุก ๆ วินาที</br> <br>(ดู thermalization ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron capture | การจับยึดนิวตรอน, กระบวนการที่นิวเคลียสของอะตอมดูดกลืนหรือจับยึดนิวตรอนเอาไว้ โอกาสที่วัสดุจะจับยึดนิวตรอนได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพลังงานของนิวตรอนและธรรมชาติของวัสดุนั้น <br>(ดู cross section ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Fission-product poisoning | ภาวะพอยซันจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส, การดูดกลืน หรือ การจับยึดนิวตรอนโดยผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้ปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ลดลง (ดู <strong>poison</strong> ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Absorption and adsorption | การดูดกลืนและการดูดซับ [TU Subject Heading] |
gray | หน่วยวัดปริมาณรังสีดูดกลืน, หน่วยวัดปริมาณรังสีดูดกลืน โดย 1 เกรย์ มีค่าเท่ากับ 1 จูล ต่อกิโลกรัมของมวลสาร [นิวเคลียร์] |
Spectrophotometer | เครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง [TU Subject Heading] |
Absorption | การดูดซึม, การดูดกลืน, Example: การดูดซึมสารชนิดหนึ่งเข้าในสารอีกชนิดหนึ่ง [สิ่งแวดล้อม] |
Absorptive Capacity | ขีดความสามารถ (ในการ) ดูดซึม, ดูดกลืน [สิ่งแวดล้อม] |
Absorb | การดูดแสง, ดูดซึม, ดูด, การดูดซึม, ดูดกลืน, ดูดซับ, ถูกดูดซึมได้, การดูดซับ, การละลายตัวเอง [การแพทย์] |
Absorbance | การวัดแอบสอบแบนซ์, การดูดกลืนแสง, การดูดกลืน, การดูดแสง [การแพทย์] |
Absorbance Difference | ผลต่างของการดูดกลืน [การแพทย์] |
Absorbents | สารที่เป็นตัวดูด, วัสดุดูดกลืน, ตัวแยกสารพิษ [การแพทย์] |
Absorption | การดูดซึม, การดูดซึมอาหาร, การดูด, การดูดซับ, ดูดซึม, ดูดแสง, ดูดซับ, การดูดกลืน, การดูดซึมสารอาหาร, ดูดกลืน, การละลายออก [การแพทย์] |
Absorption Band | แถบการดูดซึมแสง, แถบการดูดซึม, แถบการดูดกลืนแสง, แอบซอรพชั่นแบนด์ [การแพทย์] |
Absorption, Self | การดูดกลืนรังสีในตัวสาร [การแพทย์] |
Curve, Absorption | เส้นโค้งของค่าการดูดกลืนแสง [การแพทย์] |
Detector, Ultra-Violet Absorption | ดีเทคเตอร์ชนิดดูดกลืนแสงอุลตราไวโอเลต [การแพทย์] |
Fetal Resorption | การดูดกลืนตัวอ่อน, การตายของลูกหนูในครรภ์ [การแพทย์] |
Fluorescence Detector | ดีเทคเตอร์ชนิดดูดกลืนแสงอุลตราไวโอเลต [การแพทย์] |
Absorption | การดูดกลืน [อุตุนิยมวิทยา] |
Absorption factor (absorptivity) | แฟคเตอร์ของการดูด กลืน หรือพลังความสามารถในการดูดกลืน [อุตุนิยมวิทยา] |
Absorption coefficient | สัมประสิทธิ์ของการ ดูดกลืน [อุตุนิยมวิทยา] |
Atmospheric absorption | การดูดกลืนของ บรรยากาศ [อุตุนิยมวิทยา] |
Selective absorption | การเลือกดูดกลืน [อุตุนิยมวิทยา] |
absorption | การดูดกลืน, กระบวนการที่วัตถุดูดกลืนสารหรือพลังงาน เช่น ใบไม้ ดูดกลืนพลังงานแสงบางความถี่ เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ ด้วยแสง หรือผิวโลหะดูดกลืนพลังงานแสงบางความถี่ แล้วทำให้เกิดโฟโตอิเล็กตรอน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
filter | แผ่นกรองแสง, แผ่นวัสดุโปร่งแสงซึ่งมีสมบัติดูดกลืนแสงบางสีได้ ถ้านำแผ่นกรองแสงสีใดมากั้นทางเดินของแสงสีขาว แผ่นกรองแสงจะให้แสงสีนั้นทะลุผ่านไปได้โดยจะดูดกลืนแสงสีอื่นไว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
control rod | แท่งควบคุม, แท่งวัตถุทำหน้าที่ควบคุมอัตราการเกิดฟิชชันในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำด้วยสารที่ดูดกลืนอนุภาคนิวตรอนได้ดี เช่น โบรอน แคดเมียม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
photon | โฟตอน, อนุภาคไม่มีมวลซึ่งประกอบด้วยควอนตัมของแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือโฟตอน เป็นพลังงานหน่วยหนึ่งซึ่งมีค่าเท่ากับ hf โดย h เป็นค่าคงตัวของพลังค์ และ f เป็น ความถี่ของแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาหรือถูกดูดกลืน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
acoustics | สวนศาสตร์, วิชาฟิสิกส์ของเสียงซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการส่งผ่าน การดูดกลืน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน การแทรกสอด และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของเสียงในตัวกลางและภาวะแวดล้อมต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
stratosphere | สตราโตสเฟียร์, ชั้นบรรยากาศถัดขึ้นไปจากโทรโปสเฟียร์จนถึงระยะสูงประมาณ 50 กิโลเมตรเป็นชั้นบรรยากาศที่มีแก๊สโอโซน ซึ่งสามารถดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของแสงอาทิตย์ไว้ได้มาก ทำให้ไม่เกิดอันตรายต่อพืชและสัตว์ อุณหภูมิของอากาศชั้นนี้ จะสูงขึ้นบ้างจากประมาณ -50° C ที่ระยะต่ำสุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pigment | สี, สารสี, สารมีสีที่ทำให้วัตถุอื่นมีสีได้ ไม่ละลายในตัวทำละลาย แต่สามารถแขวนลอยอยู่ได้ ใช้ทำสีเคลือบผิว ผงสีแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวในการดูดกลืนและสะท้อนแสงสี จึงทำให้เห็นเป็นสีต่าง ๆ ได้ ในเซลล์พืชหรือสัตว์จะพบสารสีได้ เช่น พบที่คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียวซึ่งท [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Materials, Absorbent | วัสดุดูดกลืน [การแพทย์] |
Medium, Absorbing | ตัวกลางดูดกลืน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ดูดกลืน | [dūtkleūn] (v) EN: absorb FR: absorber |
การดูดกลืน | [kān dūtkleūn] (n) EN: absorption ; assimilation FR: absorption [ f ] |
ตัวดูดกลืน | [tūa dūtkleūn] (n, exp) EN: absorber |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
engulf | (vt) กลืน, See also: ดูดกลืน, Syn. inundate, submerge |
subtractive | (adj) ซึ่งเป็นสีที่เหลืออยู่หลังจากที่สีอื่นถูกดูดกลืนไปหมด (ทางฟิสิกส์) |
swallow | (vt) ท่วมท้น, See also: ดูดกลืน, Syn. absorb, engulf |
Nontri Dictionary
absorb | (vt) ดึงดูด, ซึมซับ, ดูดกลืน, หมกมุ่น, รับภาระ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Absorbierung { f } | [แอฟซอปแบ้น] (vt) ค่าการดูดกลืนแสง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0363 seconds, cache age: 7.158 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม