86 ผลลัพธ์ สำหรับ *ค้นคว้า*
ภาษา
หรือค้นหา: ค้นคว้า, -ค้นคว้า-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
การศึกษาค้นคว้าภาษาอังกฤษโดยอิสระ | (n, phrase) Independent Study in English |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ค้นคว้า | (v) research, See also: dig into, study intensively, search, Example: เขากำลังค้นคว้าเรื่องโรคมะเร็งที่ตา เพราะกำลังเป็นที่สนใจอยู่ในขณะนี้, Thai Definition: หาเอามา, สืบสาวหามา |
งานค้นคว้า | (n) research, See also: investigation, investigating, Syn. งานวิจัย, งานค้นคว้าวิจัย, Example: ในปัจจุบันมีงานค้นคว้าที่น่าสนใจของนักวิทยาศาสตร์เกิดขึ้นมากมาย, Count Unit: งาน, ชิ้น, Thai Definition: งานที่มีการสืบสาวหาข้อมูลอย่างถูกถ้วนตามหลักวิชา |
นักค้นคว้า | (n) researcher, Syn. นักวิจัย, Example: บรรดานักค้นคว้าและวิจัยพยายามค้นหาวิธีการเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ว่องไวและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น, Thai Definition: ผู้ที่สืบสาวหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา |
ผู้ค้นคว้า | (n) researcher, Example: สรรพคุณของพืชชนิดนี้เป็นที่ยอมรับของผู้ค้นคว้าเพียงบางกลุ่มเท่านั้นว่าใช้รักษาโรคเอดส์ได้, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: บุคคลที่สืบสาวหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา |
สถาบันค้นคว้า | (n) research institute, Syn. สถาบันวิจัย, Example: เขาทำงานอยู่ที่สถาบันค้นคว้าการอพยพของนกจากไซบีเรีย, Thai Definition: สถานที่ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำการค้นคว้าและวิจัย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ค้นคว้า | ก. หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา. |
กฎ | ข้อกำหนดในเรื่องธรรมชาติตามที่ค้นคว้าได้. |
ค้นพบ | ก. ศึกษาค้นคว้าหรือค้นหาจนได้ความจริงหรือสิ่งที่ยังไม่เคยมีการพบมาก่อน. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. |
ทฤษฎี | (ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ ิ). |
บรรณานุกรม | (บันนานุกฺรม) น. บัญชีรายชื่อหนังสือที่ใช้ประกอบการค้นคว้า, บัญชีรายชื่อหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยุคใดยุคหนึ่ง หรือของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์. |
โบราณคดี | (โบรานนะคะดี, โบรานคะดี) น. วิชาที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณวัตถุและโบราณสถาน, เดิมใช้ โบราณคดีวิทยา. |
ปทานุกรม | น. หนังสือสำหรับค้นคว้าความหมายของคำที่เรียงตามลำดับบท. |
ภาคนิพนธ์ | (พากคะ-, พาก-) น. รายงานการค้นคว้าประจำภาคเรียน. |
รายงาน | น. เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนำมาเสนอที่ประชุม ครูอาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น. |
วิจัย ๒ | น. การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น วิจัยเรื่องปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร. |
วิจัย ๒ | ก. ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น เขากำลังวิจัยเรื่องมลพิษทางอากาศอยู่. |
วิจัย ๒ | ว. ที่ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น งานวิจัย. |
วิทยาศาสตร์ | น. ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ. |
สถานภาพ | น. ฐานะ เช่น ราชบัณฑิตยสถานมีสถานภาพเป็นแหล่งค้นคว้าและบำรุงสรรพวิชา |
สืบสาวราวเรื่อง | ก. ค้นคว้าให้ได้เรื่อง เช่น ไฟไหม้ครั้งนี้สืบสาวราวเรื่องได้ว่าเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร. |
ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Research report | รายงานการค้นคว้าวิจัย, Example: <p>รายงานการค้นคว้าวิจัยหรือรายงานผลการวิจัย (Research Report) หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้นคว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานการค้นคว้าวิจัย หรือรายงานผลการวิจัย ดังนี้ <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิดเป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิง อันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง <p>ส่วนประกอบที่สำคัญของรายงานการค้นคว้าวิจัย ประกอบด้วย ความนำ เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการวิจัย ผลของการวิจัย <p>แนวทางการเขียนเนื้อเรื่องรายงานผลการวิจัย ส่วนเนื้อเรื่องถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของรายงานผลการวิจัย ซึ่งมีแนวทางในการเขียน คือ ความนำ การเขียนความนำเป็นการเกริ่นนำเรื่องให้ผู้อ่านได้ทราบถึงที่มาของปัญหา <p>ส่วนเนื้อหา <p>1. เริ่มด้วยการเชื่อมโยงจากส่วนนำเข้าสู่เนื้อหา <p>2. อธิบายวิธีการศึกษาเรื่องนั้น ๆ เช่น รวบรวมจากเอกสาร สัมภาษณ์ สังเกต ทดลอง เป็นต้น <p>3. เสนอหลักการ ทฤษฎี ข้อค้นพบ หรือข้อวิเคราะห์วิจารณ์ให้ชัดเจน ยกเหตุผลสนับสนุนให้หนักแน่น อ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง หากมีหลายประเด็นควรจำแนกเป็นประเด็น ๆ ไป <p>4. ให้นิยามศัพท์เฉพาะที่สำคัญ <p>5. อธิบายขยายความ ยกตัวอย่างประกอบให้เข้าใจง่าย <p>6. ใช้แผนภูมิ ภาพ ตาราง กราฟ ฯลฯ ประกอบในส่วนที่จำเป็นเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น <p>ส่วนสรุป <p>1. สรุปเนื้อหา อาจสรุปย่อประเด็นสำคัญ เป็นข้อความหรือแผนภูมิ เพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหาอย่างชัดเจน <p>2. กล่าวย้ำจุดสำคัญหรือจุดเด่นของเนื้อหา <p>3. เสนอทรรศนะของผู้เขียน แต่ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัว มิใช่หลักการหรือทฤษฎีตายตัวที่ทุกคนต้องทำตาม <p>4. ชี้นำให้ผู้อ่านขบคิดพิจารณาต่อไป เพื่อให้ผู้อ่านมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาวิชาการนั้น ๆ <p>บรรณานุกรม <p>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คู่มือการเขียนรายงานการวิจัย. Available at : http://www.riclib.nrct.go.th/link/info/researchwrite.pdf. Accessed June 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Discovery | กระบวนการค้นคว้า [การแพทย์] |
applied science | วิทยาศาสตร์ประยุกต์, วิชาหรือความรู้เกี่ยวกับการนำผลจากการวิจัยค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
observation | การสังเกต, การใช้ประสาทสัมผัสเฝ้าศึกษาและบันทึกเหตุการณ์ที่ปรากฏขึ้นเพื่อให้ทราบสาเหตุและผลที่ได้รับ เป็นทักษะเบื้องต้นในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pure science | วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์, วิชาหรือความรู้ที่ได้จากผลการศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ โดยความสนใจหรือความต้องการของนักวิทยาศาสตร์เอง ซึ่งอาจจะเป็นพื้นฐานนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทางประยุกต์หรือเทคโนโลยี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientific method | วิธีการทางวิทยาศาสตร์, วิธีการที่ใช้ศึกษาค้นคว้าโดยการสังเกตรวบรวมข้อมูลและตั้งสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางที่จะทำการทดลองหรือทดสอบสมมติฐานนั้น เพื่อหาคำอธิบายที่เชื่อถือได้ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ถ้าสมมติฐานนั้นถูกต้องก็จะสร้างทฤษฎีหรือกฎขึ้น วิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ใช้ในการศึกษาค้นคว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientist | นักวิทยาศาสตร์, บุคคลที่ได้รับการศึกษาและฝึกอบรมให้มีความสามารถที่จะทำวิจัยค้นคว้า เสาะแสวงหาความรู้ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Groups Investigation | กลุ่มค้นคว้าร่วมกัน [การแพทย์] |
Institute of Food Research and Product Developm | สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร [การแพทย์] |
Investigation | การสืบสวน, การตรวจสอบ, วิธีการค้นคว้า, การตรวจสืบสวน, การตรวจช่วยวิเคราะห์ [การแพทย์] |
Literature Search | การค้นคว้า [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การค้นคว้า | [kān khonkhwā] (n) EN: research FR: recherche [ f ] |
การค้นคว้าวิจัย | [kān khonkhwāwijai] (n) EN: research |
ค้นคว้า | [khonkhwā] (v) EN: search ; research ; do research ; ransack ; frisk ; dig into ; study intensively ; investigate ; find out FR: faire des recherches ; creuser (fig.) |
ค้นคว้าเพิ่มเติม | [khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ] |
สถาบันค้นคว้า | [sathāban khonkhwā] (n, exp) EN: research institute FR: institut de recherche [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
entomologist | (n) ผู้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลง |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
delve | (vi) ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียด, See also: ค้นคว้าอย่างละเอียด, ศึกษาอย่างละเอียด, ขุดคุ้ยข้อมูล, Syn. investigate, research |
library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
pierce | (vt) ค้นคว้า, See also: ค้นพบ |
rake | (vt) เสาะหา, See also: ค้นคว้า, สืบเสาะ, Syn. rummage, search |
research | (n) การวิจัย, See also: การศึกษา, การค้นคว้า, Syn. investigation, study |
research | (vi) วิจัย, See also: ศึกษาค้นคว้า, Syn. explore, investigate, study |
research | (vt) วิจัย, See also: ศึกษาค้นคว้า, Syn. explore, investigate, study |
researcher | (n) นักวิจัย, See also: นักค้นคว้า |
read in | (phrv) เข้าใจ (ด้วยการอ่านหรือค้นคว้า) |
research into | (phrv) ค้นคว้า, See also: ศึกษาหาความรู้, ทำวิจัย |
run after | (phrv) กระตือรือร้นเพื่อบางสิ่ง (เช่นค้นคว้า) |
science | (n) วิทยาศาสตร์, See also: ความรู้ที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้าและทดลอง, Syn. discipline, body of knowledge, branch of knowledge |
scour | (vi) เที่ยวค้นคว้า, See also: เสาะหา, Syn. search, seek |
search | (vt) สืบค้นข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: เสาะหาข้อมูล, ค้นคว้าข้อมูล |
search | (n) การสืบค้นข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การหาข้อมูล, ค้นคว้า |
study | (n) รายงานการศึกษา, See also: รายงานการค้นคว้า, Syn. report |
study | (n) ห้องค้นคว้า, See also: ห้องศึกษาเล่าเรียน, ห้องเขียนหนังสือ, Syn. library, schoolroom |
Hope Dictionary
ascertain | (แอสเซอเทน') vt. เสาะหา, ค้นคว้า, สืบหา, ทำให้แน่ใจหรือชัดเจน. -ascertainment n., Syn. discover, determine |
field work | n. การวิจัยค้นคว้าหรือสำรวจในสถานที่จริง., See also: fieldworker n. |
heuristic | (ฮิวริส'ทิค) adj., n. (วิธีการ) ซึ่งกระตุ้นความสนใจ, ซึ่งกระตุ้นให้ค้นคว้าด้วยตนเอง. |
high tech | เทคโนโลยีขั้นสูงเป็นคำที่แสดงถึงคุณภาพที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เพื่อแสดงให้เห็นว่าสิ่งนั้น ๆ หรืองานนั้น ๆ ได้มีการค้นคว้าและพัฒนากันมามากมายแล้ว |
pierce | (เพียส) vt. ทิ่ม, แทง, เจาะ, ไช, มองทะลุ, ทะลุผ่าน, ทะลวง, ค้นคว้า, (เสียง) แทรกผ่าน, vi. ทิ่ม, แทง, เจาะ, ไช, ทะลวง., See also: piercable adj. piercer n., Syn. penetrate, bore |
project | (พรอจ'เจคทฺ) n. โครงการ, แผนการ, โครงการวิจัย, โครงการค้นคว้า, โครงการเคหะ. vt. (โพรเจคทฺ') เสนอ, ออกแบบ, วางแผน, ยื่นออกมา, ต่อ, ส่อง, ฉาย, ฉายเป็นเงา, ถ่ายแผนที่, ถ่ายทอด. vi. ปรากฎตัว, แสดงออก, จินตนาการตัวเอง, Syn. plan, venture |
rake | (เรค) n. คราด, เครื่องคราด, คนเสเพล, คนเหลวไหล, คนเจ้าชู้, การเอียง, การเอียงลาด -v. คราด, ขูด, กวาด, เสเพล, คุ้ย, เก็บ, เขี่ย, มองกราด, ยิ่งกราด, ประณาม, ค้นคว้า, เสาะหา, See also: raker n. |
research | (รีเซิร์ชฺ', รี'เซิร์ชฺ) n. การวิจัย, การค้นคว้า, การวินิจฉัย, การสืบเสาะ, การสำรวจ vi., vt. วิจัย, ค้นคว้า, See also: researchable adj. researcher n. researchist n., Syn. scrutiny, study, inquire, investigation |
scour | (สเคาร์'เออะ) vt., vi., n. (การ) ขัดให้สะอาด, ขัดเงา, ขัดอย่างแรง, ถูอย่างแรง, ถูให้สะอาด, ลอกท้องร่อง, กรอกลำไส้, ถ่ายท้อง, ล้างท่อ, กลั้วท่อ, ล้างออก, ชะออก, ขจัด, กำจัด vi., vt. ไปอย่างรวดเร็ว, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, ผ่านไปอย่างฉับพลัน, เที่ยวค้นคว้า |
seek | (ซีค) (sought, sought, seeking, seeks } vt. ค้นหา, หา, ค้นคว้า, แสวงหา, สอดส่องหา, สืบหา, พยายามได้มา, ถามหา, สอบหา, สำรวจ. vi. สอบถาม, สอบหา, See also: seeker n., Syn. search for, request, inquire |
study | (สทัด'ดี) n. การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, การดูหนังสือ, การพิเคราะห์พิจารณา, การสืบสวนสอบสวน, การวิจัย, สิ่งที่ศึกษา, สิ่งที่ค้นคว้า, รายงานการค้นคว้า, สาขาวิชา, ความมานะบากบั่น, การทดลองวาดหรือประพันธ์, ห้องค้นคว้า, เพลงฝึกซ้อม, สิ่งที่ใช้ฝึกฝนการเรียน. vi. ศึกษา |
Nontri Dictionary
ascertain | (vt) ค้นคว้า, สืบหา, สอบถาม |
delve | (vt) ค้นหา, ค้นคว้า, ขุดค้น |
disquisition | (n) การถกเถียง, การตรวจสอบ, การค้นคว้า, การบรรยาย, ปาฐกถา |
laboratory | (n) ห้องทดลอง, ห้องค้นคว้า, ห้องวิจัย, ห้องแล็บ |
nose | (vt) สูดกลิ่น, ดมกลิ่น, บ่ายหน้า, ค้นคว้า |
quest | (n) การค้นหา, การสืบหา, การค้นคว้า |
quest | (vt) ค้นหา, สืบหา, ค้นคว้า, แสวงหา |
research | (n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย |
study | (n) การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, ห้องค้นคว้า |
study | (vt) พิจารณา, เรียน, ศึกษา, ค้นคว้า |
Longdo Approved JP-TH
検討 | [けんとう, kentou] (n) การค้นคว้า พิเคราะห์พิจารณา |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
学研 | [がっけん, gakken] (n) การเรียนและการค้นคว้า |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
研究 | [けんきゅう, kenkyuu] TH: สำรวจค้นคว้า EN: investigation |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0313 seconds, cache age: 0.357 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม