59 ผลลัพธ์ สำหรับ *คดีแพ่ง*
ภาษา
หรือค้นหา: คดีแพ่ง, -คดีแพ่ง-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
คดีแพ่ง | (n) civil case, Example: ขณะนี้เขาได้ฟ้องเรียกค่าเสียหายกับนายเสรีในคดีแพ่งแล้ว, Count Unit: คดี, Thai Definition: คดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับสิทธิส่วนเอกชน |
สำนักงานคดีแพ่ง | (n) Office of Civil Litigation, Syn. สคพ., Example: สำนักงานคดีแพ่งมีหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินคดีแพ่งทั้งปวง ตามที่กฎหมายกำหนด |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คดีแพ่ง | น. คดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับสิทธิในทางแพ่ง. |
คดี | เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง. |
คดีอนาถา | น. คดีแพ่งที่โจทก์หรือจำเลยได้รับอนุญาตจากศาลให้ฟ้องหรือต่อสู้คดีได้ โดยไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งหมดหรือบางส่วน. |
คดีอุทลุม | น. คดีที่บุคคลฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ซึ่งต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไม่ได้. |
คำให้การ | น. ถ้อยคำหรือข้อความที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้อง รับ ภาคเสธ ปฏิเสธ หรือแก้ข้อหาในคดีที่ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา หรือที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่งหรือในคดีปกครอง. |
ถอนคำฟ้อง, ถอนฟ้อง | ก. ยื่นคำร้องหรือคำบอกกล่าวต่อศาลแสดงความประสงค์ว่าจะไม่ดำเนินคดีที่ยื่นฟ้องไว้อีกต่อไป ในคดีแพ่งและคดีปกครองเรียกว่า ถอนคำฟ้อง ในคดีอาญาเรียกว่า ถอนฟ้อง. |
ศาลจังหวัด | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่ตั้งประจำในแต่ละจังหวัดหรือในบางอำเภอ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ. |
ศาลแพ่ง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลแพ่งมีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลแพ่ง ศาลแพ่งอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้. |
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. |
อัยการ | องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยประกอบด้วยคณะกรรมการอัยการ อัยการสูงสุด และพนักงานอัยการอื่น โดยมีสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยธุรการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครอง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ตรวจร่างสัญญาและเอกสารทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย เรียกว่า องค์กรอัยการ, เดิมเรียกว่า กรมอัยการ, ถ้าหมายถึงเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เรียกว่า พนักงานอัยการ หรือ ข้าราชการอัยการ, โบราณเรียกว่า พนักงานรักษาพระอัยการ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
penal actions | ๑. คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา [ ดู civil and penal actions ]๒. การฟ้องคดีอาญาเกี่ยวเนื่องกับคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plaint | คำฟ้อง (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plaintiff | โจทก์ (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
supplementary plaint | คำฟ้องเพิ่มเติม (คดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
actions, civil and penal | คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joint plaintiff | โจทก์ร่วม (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bail | ๑. การประกันตัว (ในคดีอาญา)๒. การวางประกันความเสียหาย (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bail, civil | การประกันตัวผู้ถูกบังคับในคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil action | การฟ้องคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil and penal actions | คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา [ ดู penal actions ความหมายที่ ๑ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil suit | คดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil process; civil proceedings | การดำเนินคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Court of Chancery; Chancery, Court of | ศาลชานเซอรีของอังกฤษ (ศาลชั้นต้นในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil bail | การประกันตัวผู้ถูกบังคับในคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil commitment | ๑. การสั่งขังในคดีแพ่ง๒. การกักตัวคนวิกลจริตหรือเมาสุรา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil trial; civil hearing | การพิจารณาคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil proceedings; civil process | การดำเนินคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
co-defendants | จำเลยร่วม (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil hearing; civil trial | การพิจารณาคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Chancery, Court of; Court of Chancery | ศาลชานเซอรีของอังกฤษ (ศาลชั้นต้นในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
co-plaintiffs | โจทก์ร่วม (ในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause | ๑. มูล, มูลเหตุ๒. คดีแพ่ง (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
counterclaim | ฟ้องแย้ง (คดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dismissal of action | การยกฟ้องคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demurrer | การคัดค้าน, คำคัดค้าน (ของจำเลยในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
defendant | จำเลยในคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enter a civil claim in connection with an offence | ฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
writ of summons | ๑. หมายเรียก (ในคดีแพ่ง)๒. หมายเลื่อนการพิจารณาคดี๓. หมายเริ่มคดีในศาล (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
withdrawal of a plaint | การถอนคำฟ้องคดีแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Citizen suits (Civil procedure) | การฟ้องคดีแพ่ง [TU Subject Heading] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ฟ้องคดีแพ่ง | [føng khadī phaeng] (v, exp) EN: file a civil action |
การดำเนินคดีแพ่ง | [kān damnoēnkhadī phaeng] (n, exp) EN: civil procedure ; civil proceedings ; civil litigation |
การฟ้องคดีแพ่ง | [kān føng khadī phaeng] (n, exp) EN: civil action ; civil suit FR: action civile [ f ] |
การยกฟ้องคดีแพ่ง | [kān yokføng khadī phaeng] (n, exp) EN: dismissal of a civil action |
คดีแพ่ง | [khadī phaeng] (n, exp) EN: civil case ; civil suit |
Longdo Approved EN-TH
Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
Hope Dictionary
civil | (ซิฟ'เวิล) adj. เกี่ยวกับพลเรือน (พลเมือง, ประชากร) อย่างพลเมืองที่ดี, เกี่ยวกับคดีแพ่ง, มีอารยธรรม, มีมารยาท, ไม่เกี่ยวกับศาสนา |
complaint | (คัมเพลนทฺ') n. การบ่น, การร้องทุกข์, การแสดงความข้องใจ, มูลเหตุที่บ่นหรือร้องทุกข์, การฟ้องร้องคดีแพ่งในระยะแรกของโจทก์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0334 seconds, cache age: 0.055 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม