73 ผลลัพธ์ สำหรับ *การเติม*
ภาษา
หรือค้นหา: การเติม, -การเติม-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เบียนธาตุ | ก. ทำให้ความหมายของธาตุในภาษาบาลีและสันสกฤตแผกเพี้ยนไปจากเดิมโดยการเติมอุปสรรค เช่น ธาตุ คม แปลว่า ไป เติม อา เบียนธาตุ เป็น อาคม แปลว่า มา. |
ปริศนาอักษรไขว้ | น. ปริศนาที่จะต้องตอบโดยการเติมคำลงในตารางสี่เหลี่ยมที่กำหนดให้ช่องละ ๑ อักษร แล้วให้อ่านได้ใจความทั้งในแนวยืนและแนวนอน. |
ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
oxygenation | การเติมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
overall weld metal recovery | ประสิทธิภาพการเติมโลหะรวม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
Boolean complementation | การเติมเต็มแบบบูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
metal recovery; deposition efficiency | ประสิทธิภาพการเติม, ประสิทธิภาพการพอกพูน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
deposition coefficient | สัมประสิทธิ์การเติม, สัมประสิทธิ์การพอกพูน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
deposition efficiency; metal recovery | ประสิทธิภาพการเติม, ประสิทธิภาพการพอกพูน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
deposition rate | อัตราการเติม, อัตราการพอกพูน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Aeration | การเติมอากาศ [TU Subject Heading] |
Hydrogenation | การเติมไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Chlorination | การเติมคลอรีน, Example: การใส่คลอรีน เช่น การเติมคลอรีนลงในน้ำเพื่อฆ่าเชื้อโรค [สิ่งแวดล้อม] |
Super Chlorination | การเติมคลอรีนเกินขั้น, Example: การฆ่าเชื้อด้วยคลอรีนโดยที่ปริมาณคลอรีนมีมาก พอจะทำให้เกิดคลอรีนอิสระ [สิ่งแวดล้อม] |
Prechlorination | การเติมคลอรีนก่อนบำบัด, Example: การใช้คลอรีนในการบำบัดน้ำหรือน้ำเสียก่อนการ บำบัดด้วย วิธีอื่น ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Seeding | การเติมหัวเชื้อ, Example: หมวดคุณภาพน้ำ seed หมายถึง จุลินทรีย์ที่เติมลงในระบบบำบัด เพื่อให้แพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว <br>หมวดกฎหมายสิ่งแวดล้อม หมายถึง เมล็ด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพืชที่ใช้เพาะปลูกหรือใช้ทำพันธุ์ เช่น ต้น ตอ หน่อ เหง้า กิ่ง แขนง ตา ราก หัว ดอก หรือผล </br> [สิ่งแวดล้อม] |
Reaeration | การเติมออกซิเจนซ้ำ, Example: การที่ออกซิเจนในอากาศซึมสู่น้ำในสภาวะการขาด แคลนออกซิเจน [สิ่งแวดล้อม] |
Reoxygenation | การเติมออกซิเจนซ้ำ, Example: การที่ปริมาณออกซิเจนในลำน้ำเพิ่มขึ้นจากการ เติมน้ำดีในน้ำเสีย หรือจาก การสังเคราะห์โดยใช้แสงของพืชและจากการสัมผัสอากาศผิวน้ำ [สิ่งแวดล้อม] |
Aeration | การเติมอากาศ, Example: กระบวนการที่ทำให้น้ำและอากาศสัมผัสกัน ทำให้ค่าออกซิเจนละลายน้ำ เพิ่มขึ้น [สิ่งแวดล้อม] |
Mechanical Aeration | การเติมอากาศแบบเครื่องกล, Example: การเติมอากาศแก่น้ำเสียในระบบเอเอสด้วยเครื่อง จักรกล โดยการตีปั่น ให้น้ำที่ผิวฟุ้งกระจายสัมผัสอากาศ [สิ่งแวดล้อม] |
Step Aeration | การเติมอากาศแบบเป็นขั้น, Example: วิธีการหนึ่งในระบบเอเอส ที่มีการป้อนน้ำเสียเข้าหลายจุดตาม ความยาวของถังเติมอากาศ [สิ่งแวดล้อม] |
Jet Aeration | การเติมอากาศแบบดูดพ่น, Example: การเติมอากาศโดยอาศัยแรงดูดเนื่องจากความเร็ว ของกระแสลม ในท่อดูดอากาศทำให้ดูดอากาศลงไปผสมกับน้ำแล้วพ่นออก [สิ่งแวดล้อม] |
Preaeration | การเติมอากาศก่อน(บำบัด), Example: การตระเตรียมสภาพของน้ำก่อนการบำบัด โดยการเติมอากาศเพื่อไล่ก๊าซ เพิ่มออกซิเจนให้ไขมันลอยตัว [สิ่งแวดล้อม] |
Coagulant | สารเคมีที่เติมลงไปในตัวกลางที่มีอนุภาคขนาดเล็กแขวนลอยอยู่ ทำให้อนุภาคเหล่านั้นรวมตัวกันเป็นก้อนใหญ่และตกตะกอน เช่น การเติมกรดซัลฟุริก (H2SO4) กรดฟอร์มิก (HCOOH) หรือ กรดแอซิติก (CH3COOH) ลงในน้ำยาง ทำให้น้ำยางจับตัว [เทคโนโลยียาง] |
Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] |
Crosslinking | การทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ เช่น การเติมกำมะถันในยางธรรมชาติ (กระบวนการเรียกว่า vulcanization) ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยางโดยกำมะถัน ได้ยางที่มีโครงสร้างแบบเชื่อมโยง (crosslink) หรือร่างแห (network) ทำให้ยางเปลี่ยนสมบัติจากอ่อนนิ่ม เป็นยางที่มีสมบัติแข็งและเหนียวขึ้น เหมาะแก่การใช้งาน [เทคโนโลยียาง] |
Epichlorohydrin | ยางอิพิคลอโรไฮดรินเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีสายโซ่หลักเป็นพอลิ อีเทอร์และมีหมู่คลอโรเมทิลเป็นกิ่งก้าน แบ่งได้เป็น 3 ชนิดหลัก คือ 1.โฮโมพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดริน (CO) ได้จากการทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเปิดวงแหวนของอิพิคลอโรไฮดริน 2.โคพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดรินและเอทิลีนออกไซด์ (ECO) ได้จากการนำเอทิลีนออกไซด์ไปพอลิเมอไรเซชันร่วมกับอิพิคลอโรไฮดริน 3.เทอร์พอลิเมอร์ระหว่างอิพิคลอโรไฮดริน เอทิลีนออกไซด์ และมอนอเมอร์ชนิดที่ไม่อิ่มตัว (GECO/ETER) ได้จากการเติมมอนอเมอร์ชนิดที่สามลงไปเพื่อให้ยางชนิดนี้สามารถคงรูปได้โดย ใช้ระบบกำมะถันและเพอร์ออกไซด์ ยางอิพิคลอโรไฮดรินมีสมบัติเด่นหลายประการ คือ ทนต่อน้ำมันและน้ำมันเชื้อเพลิงได้ดี ทนต่อความร้อนและโอโซนได้ดีเยี่ยม มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซและน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำที่สุด ทนทานต่อการติดไฟได้ดี และมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดีมากอีกด้วย ยางชนิดนี้แม้ว่าจะมีสมบัติที่ดีหลายประการ แต่ไม่นิยมนำมาใช้มากนักเนื่องจากยางชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะและยางจะ อ่อนตัว (reversion) เมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานานและมีราคาแพงมาก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจากยางชนิดนี้ ได้แก่ ซีล ปะเก็น ท่อน้ำมัน ปลอกหุ้มสายเคเบิล ลูกกลิ้งในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Epoxidised or Epoxidized natural rubber | ยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] |
Mastication | ขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง] |
Silicone rubber | ยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Acetylation-Deacetylation | การเติมหรือดึงหมู่อะเซทิล, การเติมหรือดึงหมู่อะเซทิล [การแพทย์] |
Addition | ปฏิกิริยาการรวมตัว, การเพิ่มขึ้น, การเติมเข้าไป, แอดดิชัน [การแพทย์] |
Additives | สารเสริม, การเติมสารตัวอื่น, สารที่ผสมในอาหาร [การแพทย์] |
Adenylation-Deadenylation | การเติมหรือดึงหมู่อะดีนิล [การแพทย์] |
Antioxidants | สารพวกแอนตี้อ๊อกซีแด้นท์, สารกันอ็อกซิเดชั่น, สารต้านการเสื่อมในอากาศ, สารกันหืน, สารต้านออกซิเดชัน, วัตถุกันหืน, แอนติออกซิเดนท์, สารยับยั้งออกซิเดชั่น, แอนตี้ออกซิแดนท์, สารป้องกันการเกิดอ๊อกซิไดซ์, สารแอนติออกซิแดนต์, สารต้านออกซิไดซ์, สารกันการเติมออกซิเจน, สารยับยั้งการออกซิไดส์, แอนตี้ออกซิแดนท์, ตัวต่อต้านการออกซิไดส์, สารตัวกันออกซิเดชัน, สารต้านการออกซิไดซ์, ป้องกันน้ำมันหืน [การแพทย์] |
Bromination | การเติมโบรมีน [การแพทย์] |
Calcification | หินปูนเกาะ, การแข็งตัวของกระดูก, หินปูนจับ, การมีหินปูน, หินปูนมาจับ, การเกาะของแคลเซียม, การพอกตัวของแคลเซี่ยม, การจับเกาะของแคลเซียมที่กระดูก, มีแคลเซี่ยมมาหุ้ม, การเกิดหินปูนจับ, หินปูนเกาะจับ, การมีแคลเซี่ยม, การเติมแคลเซียม, มีหินปูนจับ [การแพทย์] |
Desaturation | ปฏิกิริยาการเติมพันธะคู่ [การแพทย์] |
Emulsifiers, Auxiliary | การเติมสารทำอิมมัลชันเสริม, อิมัลชั่นเสริม, ตัวทำอิมัลชั่นช่วย [การแพทย์] |
Enrichment | การเติมสารอาหารลงไปให้มีปริมาณเท่ากับที่เคยมี [การแพทย์] |
Fluoridation | ฟลูออริเดชัน, ฟลูออไรด์, การเติม [การแพทย์] |
Fluoridation of Water Supplies | การเติมฟลูออไรด์ในน้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค [การแพทย์] |
groundwater recharge | groundwater recharge, การเติมน้ำใต้ดิน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
aeration | aeration, การเติมอากาศ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
addition polymerization reaction | ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติม, ปฏิกิริยาเคมีที่มอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทำปฏิกิริยาการเติมซ้ำ ๆ กัน แล้วได้สารใหม่ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่ขึ้นที่เรียกว่า พอลิเมอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
addition reaction | ปฏิกิริยาการเติม, 1. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมเป็นสารใหม่เพียงชนิดเดียว 2. ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมรวมเป็นโมเลกุลเดียวกับสารอินทรีย์ประเภทไม่อิ่มตัวตรงตำแหน่งพันธะคู่หรือพันธะสาม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
catalysis | คะตะลิซิส, กระบวนการที่ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีการเปลี่ยนแปลงโดยการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hydrogenation | การเติมไฮโดรเจน, [การแพทย์] |
Hydrogenation, Selective | ขบวนการเติมไฮโดรเจนเป็นบางส่วน [การแพทย์] |
Iodination | การเติมไอโอดิน, การเติมไอโอดีน [การแพทย์] |
Iron Fortification | การเติมเหล็กในอาหาร [การแพทย์] |
Methylation | เมทิเลชัน, กระบวนการ; เมธิย์เลชัน; เมธิลเลชั่น; การเติมหมู่เมธิล; หมู่เมธิล [การแพทย์] |
Longdo Approved EN-TH
fuel cell | (n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546) |
sevenish | ราวๆหนึ่งทุ่ม เช่น I'll call for you at sevenish. ฉันจะแวะไปรับเธอช่วงหนึ่งทุ่ม (การเติม -ish ตามหลังตัวเลขบอกเวลา หมายความว่า โดยประมาณ, ราวๆเวลานั้น), Syn. about 7 o'clock |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
calcify | (vi) ้แข็งตัวโดยการเติมเกลือแคลเซียม |
calcify | (vt) ทำให้แข็งตัวโดยการเติมเกลือแคลเซียม |
filling | (n) การเติมตำแหน่งว่าง, See also: การเติมช่องว่าง, Syn. fill |
impletion | (n) การเติม, See also: การใส่, การบรรจุ |
insertion | (n) การแทรก, See also: การใส่, การเติม, Syn. inclusion, interpolation |
replenishment | (n) การเติมให้เต็ม, See also: การทำให้สมบูรณ์, การเติมเชื้อเพลิง, Syn. renewal |
salt with | (phrv) ชูรสด้วยการเติม (บางสิ่ง), See also: ทำให้มีชีวิตชีวา |
water down | (phrv) ทำให้เจือจาง (ด้วยการเติมน้ำ) |
Hope Dictionary
alkylation | (แอลคิเล' ชัน) chem. การแทนที่อะตอมของไฮโดรเจนในอินทรียสารประกอบด้วย alkyl group, การเติมพาราฟินลงใน olefin |
catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation |
paragoge | n. การเติมเสียงหรือกลุ่มของเสียงหลังคำ |
Nontri Dictionary
admixture | (n) ส่วนผสม, การผสม, การเติม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cabonation | [คาบอเนชั่น] (n) การอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อทำให้เป็นน้ำอัดลม, ความอิ่มตัวของกรดถ่าน, การเติมเกลือกรดถ่าน, การเป็นถ่าน |
Epigenetic | [อีพีเจเนติกส์] อีพีเจเนติกส์ หรือพันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม คือองค์ความรู้ทางชีววิทยาโดยเฉพาะพันธุศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการแสดงออกของยีนที่เกิดจากกระบวนการอื่นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงลำดับดีเอ็นเอ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนแบบนี้เช่นการเติมหมู่เมธิลบนดีเอ็นเอหรือการถอนหมู่อะเซทิลออกจากฮิสโตน เป็นการยับยั้งการแสดงออกของยีนนั้นๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลำดับดีเอ็นเอในยีนนั้นๆ |
odorization | (n) กระบวนการเติมกลิ่น |
Longdo Approved JP-TH
様 | [さま, sama] (n) ใช้ต่อท้ายชื่อหรือคำนาม แสดงถึงความยกย่อง (คล้ายกับท่าน, คุณ, Mr., Mrs., Miss), ให้เกียรติสูงกว่าการเติม -san ตัวอย่างการใช้ เช่น 皆様 (mina sama) พวกท่านทั้งหลาย |
Longdo Approved DE-TH
Füllung | (n) |die, pl. Füllungen| ไส้ในขนม, เสิ่งที่ใส่เข้าไป, สิ่งอุด, สิ่งที่ใช้อุดฟัน, การเติมตำแหน่งว่าง |
arsch kalt | (phrase, slang) หนาวมากๆ (คำว่า arsch ข้างหน้า จะเพิ่มความรุนแรงให้กับ Adjektiv ข้างหลังให้ดูมีความหนาวนั้นกลาวเป็น หนาวมากๆ ซึ่ง อาจเพิ่ม คำว่า arsch หน้าคำอื่นๆ เพื่อจดประสงค์เดียวกันได้ แต่การเติมนั้น นอกจากจะทำให้รุนแรงขึ้นแล้ว จะกลับกลายเป็นคำไม่สุภาพ) เช่น Ich bin stink sauer. Alle paar Tage fällt meine Heizung aus. Es ist arsch kalt im Winter. Im Dachgeschoss. Langsam muss ich mir wirklich überlegen mal einen Teil der Miete zurückzuhalten., Syn. arschkalt |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0288 seconds, cache age: 5.104 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม