158 ผลลัพธ์ สำหรับ *การคิด*
ภาษา
หรือค้นหา: การคิด, -การคิด-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คตินิยม | น. แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
ตรรกศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. |
ทดโทร่ห์ | (-โทฺร่) ก. การคิดประทุษร้าย, ใช้เข้าคู่กับคำ กบฏ เป็น กบฏทดโทร่ห์, ทดโท่ ก็ว่า. |
เปอร์เซ็นต์ | น. จำนวนที่เทียบเป็นส่วนร้อยหรือร้อยละ, การคิดเทียบเป็นส่วนร้อย เรียกว่า ร้อยละ หรือ ต่อร้อย ใช้เครื่องหมาย % แทน เช่น นักเรียนโรงเรียนนี้สอบได้ ๗๐ % คือ สอบได้ ๗๐ คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๑๐๐ คน เด็กคนนี้สอบได้ ๘๐ % คือ ได้คะแนน ๘๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน |
พยาบาท | (พะยาบาด) น. การผูกใจเจ็บคิดจะแก้แค้น, การคิดปองร้าย, ในคำว่า ผูกพยาบาท. |
มโนกรรม | น. การกระทำทางใจ, การคิด, ความคิด. |
หิงสา | น. ความเบียดเบียน, การทำร้าย, การคิดให้เขาทนทุกข์, หึงสา ก็ว่า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ พยาบาท เป็น หิงสาพยาบาท หรือ หึงสาพยาบาท. |
หึงส-, หึงสา | (หึงสะ-) น. ความเบียดเบียน, การทำร้าย, การคิดให้เขาทนทุกข์, หิงสา ก็ว่า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ พยาบาท เป็น หึงสาพยาบาท หรือ หิงสาพยาบาท. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
percentage lease | การคิดค่าเช่าเป็นส่วนร้อย (ของราคาทรัพย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
day dream | การคิดเพ้อฝัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dream, day | การคิดเพ้อฝัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
innovation | นวัตกรรม, การคิดขึ้นใหม่, สิ่งที่นำเข้ามาใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
homesickness; nostalgia | อาการคิดถึงบ้าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nostalgia; homesickness | อาการคิดถึงบ้าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Critical thinking | การคิดเชิงวิพากษ์ [TU Subject Heading] |
Lateral thinking | การคิดแนวข้าง [TU Subject Heading] |
Scoring | การคิดคะแนน [TU Subject Heading] |
Thought and thinking | ความคิดและการคิด [TU Subject Heading] |
Batch costing | วิธีการคิดต้นทุนในการผลิตแต่ละครั้ง [การบัญชี] |
Composite depreciation method | การคิดค่าเสื่อมราคาโดยวิธีส่วนร่วม [การบัญชี] |
Compound interest depreciation method | การคิดค่าเสื่อมราคาโดยวิธีดอกเบี้ยทบต้น [การบัญชี] |
Group depreciation method | การคิดค่าเสื่อมราคาโดยวิธีรวมกลุ่ม [การบัญชี] |
Cognitive Approach | แนวคิดของกลุ่มนักจิตวิทยาการรู้การคิด [การแพทย์] |
Cognitive Theory | ทฤษฎีเกี่ยวกับการรู้, ทฤษฎีการรู้การเข้าใจ, ทฤษฎีการรู้การคิด [การแพทย์] |
Day Dream | การคิดฝันขณะตื่น [การแพทย์] |
Fantasy | มโนภาพ, มโนคติ, การคิดฝัน, ความเพ้อฝัน [การแพทย์] |
ความสับสน | ความสับสน, สภาพการใช้สติสัมปะชัญญะ การรับรู้ หรือการคิด ที่ทำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจ เกิดความไม่ชัดเจน ยุ่งเหยิง วุ่นวายของอารมณ์หรือความคิด จนแสดงออกทางกาย เช่น ประหม่้า กระวนกระวาย สั่น หรือแสดงให้เห็นถึงระดับวุฒิภาวะของบุคคลนั้น โดยเฉพาะเรื่องกาลเวลา สถานที่ แล [สุขภาพจิต] |
scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
creativity | ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
fluency | ความคิดคล่อง, การคิดหาคำตอบได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว และมีปริมาณมากในเวลาจำกัด เช่น การวาดภาพต่อเติมรูปที่กำหนดให้ได้มากที่สุด ภายในเวลา 10 นาที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
flexibility | ความคิดยืดหยุ่น, การคิดหาคำตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง ดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเป็นหลายสิ่งได้ เช่น ให้นักเรียนคิดว่าจะนำขวดน้ำพลาสติกที่ใช้แล้ว ไปทำให้เกิดประโยชน์อะไรได้บ้าง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Imaginative Process | ขบวนการคิดฝัน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล | [kān khit baēp pen hēt pen phon] (n, exp) EN: logical thinking |
การคิดเชิงกลยุทธ์ | [kān khit choēng konlayut] (n, exp) FR: pensée stratégique [ f ] |
การคิดเชิงวิเคราะห์ | [kān khit choēng wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical thinking |
การคิดค่า | [kān khit khā] (n, exp) EN: charge |
การคิดในเชิงบวก | [kān khit nai choēng būak] (n, exp) EN: positive thinking FR: pensée positive [ f ] |
การคิดอย่างมีเหตุผล | [kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: logical thinking FR: pensée logique [ f ] |
ทฤษฎีการเรียนรู้จากการคิดอย่างมีเหตุผล | [thritsadī kān rīenrū jāk kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: cognitive learning theory |
Longdo Approved EN-TH
mentation | (n) การคิด, กระบวนการคิด, Syn. thinking |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
autism | (ออ'ทิสซึม) n. การคิดหมกมุ่นอยู่กับตัวเอง, ความคิดเพ้อฝัน. -autistic adj. |
cipher | (ไซ'เฟอะ) { ciphered, ciphering, ciphers } n. เลขศูนย์, คนที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่มีค่า, รหัสลับ, เครื่องหมายลับ, สัญลักษณ์ลับ, อักษรไขว้, ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข, เขียนเป็นระหัส, คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย: |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
conception | (คันเซพ'เชิน) n. การคิด, สร้างมโนคติ, ภาวะตั้งครรภ์, การริเริ่ม, การตั้งต้น, อำนาจความคิด, แบบแผน, โครงการ., See also: conceptive adj. ดูconception, Syn. ideation, idea, view |
fabrication | (แฟบระเค'เชิน) n. การประดิษฐ์, การคิดค้น, การปลอมขึ้น, เรื่องที่เสกสรรขึ้นมา, Syn. deceit |
framing | (เฟรม'มิง) n. การสร้าง, การก่อ, การใส่กรอบ, การคิด, การวางแผน, Syn. framed work |
intellect | (อิน'ทะเลคทฺ) n. ปัญญา, สติปัญญา, อำนาจในการคิดและหาความรู้, อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, ผู้มีปัญญาสูง., See also: intellective adj., Syn. mind, reason |
intellection | (อินทะเลค'เชิน) n. การเข้าใจ, การคิดและหาความรู้, การกระทำของผู้มีปัญญาสูง |
inventive | (อินเวน'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการประดิษฐ์, เป็นการประดิษฐ์, เกี่ยวกับการคิดค้นเอง, สร้างสรรค์, กุเรื่อง., See also: inventively adj. inventiveness n., Syn. ingenious, creative |
meditation | (เมดดิเท'เชิน) n. การคิดคะนึง, การไตร่ตรอง, การเพ่งพิจารณาดู, การมุ่งหมาย, การเข้าฌาน, Syn. contemplation, pondering |
one-idead | (วัน'ไอเดียดฺ) adj. เกี่ยวกับความคิดคับแคบ, เกี่ยวกับวิธีการคิดแบบง่าย ๆ |
one-ideaed | (วัน'ไอเดียดฺ) adj. เกี่ยวกับความคิดคับแคบ, เกี่ยวกับวิธีการคิดแบบง่าย ๆ |
premeditation | (พรีเมดดิเท'เชิน) n. การไตร่ตรองล่วงหน้า, การคิดไว้ล่วงหน้า |
reasoning | (รี'เซินนิง) n. การมีเหตุผล, การคิดอย่างมีเหตุผล, การชี้แจงอย่างมีเหตุผล, การคิดคำนวณในใจ, เหตุผล, มูลเหตุ, See also: reasoningly adv., Syn. logic, thought |
reckoning | (เรค'คะนิง) n. การนับ, การคำนวณ, การคิดบัญชี, การชำระบัญชี, เวลาใช้เงิน, Syn. count, computation |
working-out | (เวิร์ค'คิงเอาทฺ) n. การคำนวณ, การคิด, การกำหนด, การแก้ไขปัญหา |
Nontri Dictionary
calculation | (n) การคำนวณ, การคิดเลข, การคาดคะเน |
fabrication | (n) ประดิษฐกรรม, การสร้าง, การประดิษฐ์, การคิดค้น |
forethought | (n) การคิดล่วงหน้า, ความสุขุม, ความรอบคอบ |
intrigue | (n) การคิดอุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, การคบชู้สู่สาว |
invention | (n) การประดิษฐ์, สิ่งประดิษฐ์, การคิดค้น, การกุเรื่อง |
inventive | (adj) ในการประดิษฐ์, เกี่ยวกับการคิดค้น |
malevolence | (n) ความมุ่งร้าย, การให้ร้าย, การคิดร้าย |
meditation | (n) ความตรึกตรอง, การรำพึง, การคิด, การเข้าฌาน |
origination | (n) การคิดขึ้น, การริเริ่ม, การประดิษฐ์, ที่มา, บ่อเกิด |
premeditation | (n) การคิดล่วงหน้า, การไตร่ตรองล่วงหน้า |
providence | (n) การเตรียม, การคิดถึงภายหน้า, โชคชะตา |
reckoning | (n) การนับ, การคำนวณ, การชำระบัญชี, การคิดบัญชี |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
figuring out | (n) การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
工夫 | [こうふ, koufu] การคิดพลิกแพลง การดัดแปลงให้เหมาะสม |
気を回す | [きをまわす, kiwomawasu] (exp) การคิดวกวน, การย้ำคิด, การคิดอะไรเกินจำเป็น |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
考え方 | [かんがえかた, kangaekata] TH: ความคิด, วิธีการคิด EN: way of thinking |
Longdo Approved DE-TH
Erfindung | (n) |die, pl. Erfindungen| การคิดค้นสิ่งใหม่ๆ, See also: erfinden |
Gedanke | (n) |der, pl. Gedanken| สิ่งที่ได้จากการคิด, ความคิด เช่น ein kluger, vernünftiger Gedanke, einen Gedanken fassen/ haben, seinen Gedanken sammeln, Syn. die Überlegung |
Fluchtgedanke | (n) |der| การคิดจะหลบหนี, See also: Gedanken |
Heiratsgedanke | (n) |der| การคิดจะแต่งงาน, See also: Gedanken |
Rachegedanke | (n) |der| การคิดแก้แค้น, See also: Gedanken |
Selbstmordgedanke | (n) |der| การคิดฆ่าตัวตาย, See also: Gedanken |
Kontemplation, -en | (n) การคิดอย่างมีสติ, การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การไตร่ตรองอย่างแน่วแน่ (เป็นภาษาเขียน), See also: kontemplativ |
Machenschaft | (n) |die, pl.Machenschaften| เล่ห์เพทุบาย, เล่ห์่กลโกง, การคิดกลอุบาย |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0334 seconds, cache age: 0.666 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม