276 ผลลัพธ์ สำหรับ *การกำหนด*
ภาษา
หรือค้นหา: การกำหนด, -การกำหนด-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กสิณ | (กะสิน) น. สมถกรรมฐานหมวดหนึ่งที่กำหนดอารมณ์โดยอาศัยธาตุ ๔ คือ ปฐวี (ดิน) อาโป (นํ้า) เตโช (ไฟ) วาโย (ลม), วรรณะ (สี) ๔ คือ นีล (สีเขียวคราม) ปีต (สีเหลือง) โลหิต (สีแดง) โอทาต (สีขาว), อากาศ (ที่ว่าง) และ อาโลก (แสงสว่าง) รวมเป็น ๑๐ อย่าง โดยเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในการกำหนดอารมณ์ให้เหมาะกับจริตของผู้ที่จะเจริญกรรมฐาน. |
กาลโยค | (กาละ-) น. การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ. |
เกษียณ | (กะเสียน) ก. สิ้นไป (ใช้เกี่ยวกับการกำหนดอายุ) เช่น เกษียณอายุราชการ. |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | น. สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด. |
โคออร์ดิเนต | น. การกำหนดตำแหน่งของจุดบนระนาบหรือในปริภูมิโดยอาศัยแกนอ้างอิงเป็นหลัก. |
ถือศักดินา | ก. มีศักดิ์โดยถือเอานาเป็นหลักในการกำหนดอำนาจและปรับไหม. |
แท็กซี่มิเตอร์ | น. แท็กซี่ที่ติดตั้งมิเตอร์คำนวณค่าโดยสารเป็นระยะทางกับเวลาตามอัตราที่ทางการกำหนด. |
ธรรมนิยาม | น.“การกำหนดแน่นอนแห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. |
นัด ๑ | น. การกำหนดตกลงว่าจะพบปะกันเป็นต้น เช่น มีนัด ผิดนัด |
นัด ๑ | ลักษณนามเรียกการกำหนดประชุมครั้งหนึ่ง ๆ เช่น ขาดประชุม ๓ นัด |
นิยม | น. การกำหนด. (ป., ส.). |
นิยาม | (-ยาม) น. การกำหนด เช่น ธรรมนิยาม, ทาง, อย่าง, วิธี. |
บริกัป | (บอริกับ) น. ความตรึก, ความดำริ, การกำหนด. |
บริเฉท, บริเฉท- | (บอริเฉด, บอริเฉทะ-, บอริเฉดทะ-) น. การกำหนด |
ป่าสงวนแห่งชาติ | น. ป่าที่ทางราชการกำหนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อรักษาสภาพป่า ไม้ ของป่า หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น. |
พิกัดยา | น. การกำหนดจำนวนตัวยาไทยเข้าเป็นกลุ่มเป็นพวก เช่นพวกมีตัวยา ๓ อย่าง มี กรีฏุก ตรีกาลพิษ เป็นต้น พวกมีตัวยา ๔ อย่าง มี จตุกาลธาตุ จตุทิพยคันธา เป็นต้น. |
พิธี | การกำหนด เช่น ก็อยู่จนสิ้นชนมายุพิธีในเทพพู้น (ม. คำหลวง ทศพร). |
มนสิการ | (มะนะสิกาน) น. การกำหนดไว้ในใจ. |
โยคเกณฑ์ | (โยกเกน) น. การกำหนดดิถีกับฤกษ์ให้ต้องกัน คือได้ทั้งโยค หมายถึง ฤกษ์ และเกณฑ์ หมายถึง ดิถี คือ ขึ้น แรม. |
ศักดินา | น. อำนาจหรือสิทธิที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินตามศักดิ์ของแต่ละคน เดิมเป็นการถือครองที่ดินคิดเป็นจำนวนไร่ ต่อมาถือเป็นการกำหนดสถานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น มหาอุปราช มีศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เจ้าพระยาจักรี มีศักดินา ๑๐๐๐๐ ภิกษุรู้ธรรม เสมอนา ๖๐๐ ไพร่มีครัว มีศักดินา ๒๐ ยาจก วณิพก ทาส ลูกทาส มีศักดินา ๕ (สามดวง) |
สอบเทียบ, สอบเทียบความรู้ | ก. สอบเพื่อเทียบว่ามีความรู้เข้าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางราชการกำหนดหรือไม่. |
สอบราคา | ก. สอบดูราคาสิ่งของตามร้านค้าต่าง ๆ ว่าแตกต่างกันอย่างไร, ตรวจสอบราคาที่ขายว่าถูกต้องตามที่ทางราชการกำหนดไว้หรือไม่, สอบถามราคาในการพิมพ์หรือการซื้อเป็นต้นจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อหาราคาต่ำสุด. |
สัญญาสำเร็จรูป | น. สัญญาที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีการกำหนดข้อสัญญาที่เป็นสาระสำคัญไว้ล่วงหน้า ไม่ว่าจะทำในรูปแบบใด ซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดนำมาใช้ในการประกอบกิจการของตน. |
อสุภสัญญา | น. การกำหนดรู้ว่าเป็นของไม่สวยงาม. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
plottage | การกำหนดราคาที่ดินเพิ่มขึ้น (เพราะมีที่ดินแปลงข้างเคียง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
price ceiling | การกำหนดราคาสูงสุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
price fixing | ๑. การรวมหัวกันกำหนดราคา๒. การกำหนดราคาสูงสุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prospective rating | การกำหนดอัตราตามประสบการณ์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
perception; aesthesia; esthesia | ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ sense ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
labyrinthine sense; sense of equilibrium; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relocation | การกำหนดทำเลที่ตั้งใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
redistricting | ๑. การกำหนดเขตใหม่๒. การกำหนดเขตเลือกตั้งใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rating | การกำหนดอัตรา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retrospective rating | การกำหนดอัตราตามผลย้อนหลัง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
register addressing | การกำหนดเลขที่อยู่โดยเรจิสเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
reapportionment | การกำหนดจำนวนผู้แทนใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense | ๑. ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ aesthesia; esthesia; perception ]๒. สัมผัส๓. นัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
symbolic addressing | การกำหนดเลขที่อยู่เชิงสัญลักษณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sense, static; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
schedule rating | การกำหนดอัตราตามตารางรายการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
self-determination | การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, vestibular; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, static | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensibility | ๑. ความรู้สึกได้, การรับรู้ได้, การกำหนดรู้ได้๒. สภาพสัมผัสได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, labyrinthine; sense of equilibrium; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, muscle; myaesthesia; myesthesia; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, muscular; myaesthesia; myesthesia; sense, muscle | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
static sense; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardization, job | การกำหนดมาตรฐานงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
orientation | การกำหนดทิศทาง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
assignment | ๑. การกำหนดให้, การมอบหมาย (หน้าที่)๒. การโอนสิทธิ์ให้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
apportionment | การกำหนดจำนวนผู้แทนตามส่วนของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apportionment | ๑. การจัดสรรตามสัดส่วน (ก. แพ่ง)๒. การกำหนดจำนวนผู้แทนตามสัดส่วน (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
addressing | การกำหนดเลขที่อยู่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
addressing | การกำหนดเลขที่อยู่ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abstraction | การกำหนดสาระสำคัญ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
aesthesia; esthesia; perception | ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ sense ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
average | การเฉลี่ย, การกำหนดส่วนเฉลี่ย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assignment of dower | การกำหนดส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของสามีให้แก่ภริยาม่าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgement rating | การกำหนดอัตราตามดุลยพินิจ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of issue | การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
job standardization | การกำหนดมาตรฐานงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quartering | ๑. การกำหนดย่านให้พักอาศัย๒. การจัดที่พักให้ทหาร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quartering | ๑. การกำหนดย่านให้พักอาศัย๒. การจัดที่พักให้ทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quantification | การกำหนดปริมาณ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
birth timing | การกำหนดเวลาการมีบุตร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
muscle sense; myaesthesia; myesthesia; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
merit rating | การกำหนดอัตราตามความเป็นธรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
myaesthesia; myesthesia; sense, muscle; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
myesthesia; myaesthesia; sense, muscle; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
muscular sense; myaesthesia; myesthesia; sense, muscle | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
measure of damages | วิธีการกำหนดค่าเสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ceiling, price | การกำหนดราคาสูงสุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delimitation | ๑. การกำหนดเขต, การปักปันเขตแดน (ก. ระหว่างประเทศ)๒. การกำหนดขอบเขตอำนาจ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] |
American Society for Testing and Materials | สมาคมแห่งสหรัฐอเมริกาซึ่งทำการกำหนดมาตรฐานทางเทคนิคในการทดสอบคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในธุรกิจน้ำมัน [ปิโตรเลี่ยม] |
Export costing and pricing | การกำหนดต้นทุนและราคาส่งออก [เศรษฐศาสตร์] |
Customs valuation | การกำหนดค่าทางศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Capital Asset Pricing Model | แบบจำลองการกำหนดราคาหลักทรัพย์ลงทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Industrial location | การกำหนดที่ตั้งอุตสาหกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Age determination by skeleton | การกำหนดอายุจากโครงร่าง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Age determination by teeth | การกำหนดอายุจากฟัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diet | การกำหนดอาหาร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Transfer pricing | การกำหนดราคาโอน [เศรษฐศาสตร์] |
Digital Accessible Information System Book | หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี, สื่อข้อมูลดิจิทัล เช่น แผ่นซีดี หรือ หน่วยความจำ ที่สามารถนำมาเล่นด้วยเครื่อเล่นหรือคอมพิวเตอร์แล้วได้เป็นเสียงอ่านที่เคยบันทึกเอาไว้ก่อน ทั้งนี้ โดยใช้วิธีการกำหนดตำแหน่ง (mark up) ระหว่างเสียง กับข้อความ (ป้ายกำกับข้อมูลเสียง) ตามมาตรฐานเปิด ของสมาคมเดซี (Daisy Consortium) [Assistive Technology] |
Archaeological dating | การกำหนดอายุทางโบราณคดี [TU Subject Heading] |
Astrology and diet | โหราศาสตร์กับการกำหนดอาหาร [TU Subject Heading] |
Cholesterol, Dietary | การกำหนดอาหารที่มีคอเลสเตอรอลต่ำ [TU Subject Heading] |
Communication in diet therapy | การสื่อสารในการรักษาด้วยการกำหนดอาหาร [TU Subject Heading] |
Cost-plus contracts | สัญญาการกำหนดราคาจากต้นทุนบวกส่วนเพิ่มที่ตกลงกัน [TU Subject Heading] |
Dating | การกำหนดอายุ [TU Subject Heading] |
Dendrochronology | การกำหนดอายุโดยนับวงปีของต้นไม้ [TU Subject Heading] |
Diabetic diet | การกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน [TU Subject Heading] |
Diet therapy | การรักษาด้วยการกำหนดอาหาร [TU Subject Heading] |
Diet, Macrobiotic | การกำหนดอาหารแบบแมคโครไบโอติกส์ [TU Subject Heading] |
Diet | การกำหนดอาหารเพื่อลดน้ำหนัก [TU Subject Heading] |
Dietary fiber | การกำหนดอาหารที่มีปริมาณเส้นใย [TU Subject Heading] |
Dietary law | ระเบียบการกำหนดอาหาร [TU Subject Heading] |
Reducing | การกำหนดอาหารเพื่อลดน้ำหนัก [TU Subject Heading] |
Peak-load pricing | การกำหนดราคาช่วงที่มีการใช้สูงสุด [TU Subject Heading] |
Pottery dating | การกำหนดอายุเครื่องปั้นดินเผา [TU Subject Heading] |
Predatory pricing | การกำหนดราคาเพื่อขจัดคู่แข่งขัน [TU Subject Heading] |
Pricing | การกำหนดราคา [TU Subject Heading] |
Radiocarbon dating | การกำหนดอายุโดยการหาปริมาณคาร์บอน [TU Subject Heading] |
Sentences (Criminal procedure) | กระบวนการกำหนดโทษคดีอาญา [TU Subject Heading] |
Transfer pricing | การกำหนดราคาโอน [TU Subject Heading] |
Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] |
delimitation | การกำหนดเขตแดน (ทางบก) / การแบ่งเขตแดน (ทางทะเล) การกำหนด หรือการอธิบาย หรือการจำกัดความขอบเขตของดินแดนของประเทศ [การทูต] |
ASEAN Initiative on Electronic Commerce Cooperation | ความริเริ่มด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน " เป็นแผนงานหลักในการพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือด้านการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน ประกอบด้วย (1) การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (2) การกำหนดนโยบายและกฎหมายที่อำนวยความสะดวกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3) การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าบริการและการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการ จัดทำกรอบความตกลงว่าด้วยพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (5) การ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ " [การทูต] |
International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] |
International Organization for Standardization | องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ เป็นองค์กรระหว่างประเทศทำหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค [การทูต] |
Millennium Summit | การประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษ การประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลที่จัดขึ้น ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2543 (ค.ศ. 2000) เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ เสนอข้อคิดเห็นต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ ที่ประชุมยืนยันพันธกรณีร่วมกันที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหประชา ชาติในการดำเนินการเรื่องสำคัญของมนุษยชาติ ดังระบุไว้ในปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration) ] [การทูต] |
presentation of the letter of credence | การยื่นสาส์นตราตั้ง เป็นการกำหนดให้เอกอัครราชทูตยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขของประเทศที่เข้าไป พำนักอยู่ ซึ่งรูปแบบพิธีการก็จะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ [การทูต] |
self-determination | การกำหนดใจตนเอง หมายถึง สิทธิและเสรีภาพในการที่จะให้ชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในประเทศใดประเทศหนึ่ง ตัดสินหรือกำหนดสถานะด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของตน โดยเลือกที่จะอยู่อย่างเดิมหรือแยกตัวออกไป [การทูต] |
Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Programmatically determinable | การกำหนดด้วยโปรแกรม, Example: การกำหนดเนื้อหาเว็บด้วยซอฟต์แวร์จากข้อมูลที่ผู้จัดทำเว็บจัดทำไว้ เพื่อให้ซอฟต์แวร์ สำหรับผู้ใช้ชนิดต่างๆ รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกที่สามารถนำเนื้อหาออกมาและเสนอให้ผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ ได้ รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกที่สามารถนำเนื้อหาออกมาเสนอให้ผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ ได้ [Assistive Technology] |
Accounting valuation | การกำหนดมูลค่าทางการบัญชี [การบัญชี] |
Age Determination by Skeleton | อายุ, การกำหนดจากโครงกระดูก; การกำหนดอายุจากโครงร่าง [การแพทย์] |
Age Determination by Teeth | อายุ, การกำหนดจากฟัน; การกำหนดอายุจากฟัน [การแพทย์] |
Approach, Classical | การกำหนดค่าอ้างอิงสารเคมีด้วยวิธีการที่ถูกต้อง [การแพทย์] |
Assignment | งาน, การกำหนด [การแพทย์] |
Blood Volume Determination | เลือด, การวัดปริมาตร;ปริมาตรเลือดในกาย, การกำหนด [การแพทย์] |
Cycling Controlled | การกำหนดจังหวะการหายใจ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การกำหนด | [kān kamnot] (n) EN: allocation ; enactment ; appointment FR: attribution [ f ] |
การกำหนดค่าชดเชย | [kān kamnot khāchotchoēi] (n, exp) EN: adjustment of damages |
การกำหนดเขต | [kān kamnot khēt] (n, exp) EN: demarcation |
การกำหนดความหมาย | [kān kamnot khwāmmāi] (n, exp) EN: definition |
การกำหนดกลยุทธ์ | [kān kamnot konlayut] (n, exp) EN: strategy formulation ; strategy |
การกำหนดมาตรฐาน | [kān kamnot māttrathān] (n, exp) EN: standardization |
การกำหนดงบประมาณ | [kān kamnot ngoppramān] (n, exp) EN: budgeting |
การกำหนดราคา | [kān kamnot rākhā] (n, exp) EN: pricing |
การกำหนดราคาให้คงที่เท่ากัน | [kān kamnot rākhā hai khong thī thaokan] (n, exp) EN: price-fixing |
การกำหนดศัพท์ | [kān kamnot sap] (n, exp) EN: coining |
การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ในตลาด | [kān kamnot tamnaeng phalittaphan nai talāt] (n, exp) EN: market positioning FR: positionnement sur le marché [ m ] |
การกำหนดเวลา | [kān kamnot wēlā] (n, exp) EN: time allocation |
การกำหนดเวลาให้ | [kān kamnot wēlā hai] (n, exp) EN: setting a deadline |
Longdo Approved EN-TH
appointment | (n) 1. โองการ 2. การแต่งตั้ง, การกำหนด(วัน) 3. การนัดหมาย, การนัดพบ 4. การจัดเครื่องประดับ, เครื่องแต่ง(ห้อง), เครื่องแต่งตัว |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
ansi character set | ชุดตัวอักขระของแอนซีหมายถึง การกำหนดตัวอักขระต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์ใช้ ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ โดยปกติจะประกอบด้วยตัวอักษรธรรมดาซึ่งมีอยู่ 26 ตัว (A-Z) และตัวเลข 10 ตัว (0-9) และยังมีสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เช่น % |
assessment | (อะเซส'เมินทฺ) n. การประเมิน, การกำหนด, ปริมาณที่ประเมิน, Syn. appraisal |
assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า |
casting | (แคส'ทิง) n. กระบวนการหล่อ, สิ่งที่ถูกหล่อออกมา, การขว้าง, การโยน, การกำหนดบท, การทอดแห, , Syn. hurl |
centring | (เซน'ทริง) n. การกำหนดศูนย์กลาง |
class a/class b | ชั้นเอ/ชั้นบีเป็นการกำหนดคุณภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ของคณะกรรมการคมนาคมของรัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Communications Commission) ที่ใช้กำหนดระดับของพลังงานไฟฟ้าแรงสูงที่จะใช้ในคอมพิวเตอร์ ถ้าเป็น Class A แปลว่า อนุญาตให้ใช้ในที่ทำงานได้ ถ้าเป็น Class B หมายความว่า ใช้ในที่ทำงานก็ได้ ที่บ้านก็ได้ (ถ้าหากนำคอมพิวเตอร์ Class A มาใช้ที่บ้านอาจไปรบกวนการรับวิทยุหรือภาพทางโทรทัศน์ของบ้านอื่น) |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
control card | บัตรควบคุมหมายถึง บัตรซึ่งบรรจุข้อความที่เป็นภาษาควบคุมงานซึ่งได้มีการกำหนดไว้เป็นรหัสเป็นการเฉพาะ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือใช้กับงานชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรควบคุม อาจจะเป็นตัวบอกว่า โปรแกรมหรือชุดคำสั่งชุดต่อไปจะเป็นภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล หรือภาษาอื่น ๅ บัตรควบคุมอาจทำให้รู้ได้ว่างานนี้เป็นงานของนิสิต หรือเป็นงานของนักวิจัยทั่วไป เพราะบางทีอาจมีการกำหนดข้อห้ามบางอย่างสำหรับงานของนิสิตไว้ในระบบ ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีการใช้บัตรแล้ว คำนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปด้วยดู card (บัตร) |
control code | รหัสควบคุมหมายถึง การกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์พิเศษ ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพิมพ์ เป็นต้นว่า กำหนดให้การกดแป้น <RETURN> เป็นการขึ้นย่อหน้าใหม่ เป็นต้น |
cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้ |
data fork | ส่วนข้อมูลแฟ้มข้อมูลที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุก ๆ แฟ้มจะประกอบด้วยสองส่วน ส่วนที่หนึ่งนั้น เรียกว่า ส่วนข้อมูล (data fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อมูลจริง ๆ ที่โปรแกรมนั้น ๆ จะต้องใช้ ส่วนที่สองเรียกว่า ส่วนทรัพยากร (resource fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกว่าโปรแกรม ซึ่งจะเป็นตัวทำงานให้ หรือไม่ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีไว้ เพื่อให้ใช้โปรแกรมนั้น ๆ ได้ครบถ้วน เช่น การกำหนดแบบอักษร (font) สัญรูป (icon) รายการเลือก (menu) เป็นต้น |
data type | ลักษณะข้อมูลหมายถึง การกำหนดข้อมูลที่จะใช้ให้มีลักษณะเป็นตัวเลข ตัวอักษร เลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยม เพื่อความสะดวกในการประมวลผล |
definition | (เดฟฟินิช'เชิน) n. คำจำกัดความ, การกำหนด, การจำกัดวง, ความคมหรือความชัดของภาพ |
demarcation | (ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต. |
demarkation | (ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต. |
determination | (ดิเทอร์มิเน'เชิน) n. การกำหนดความแน่นอน, การตกลงใจ, ความตั้งใจ, การยุติ, การสิ้นสุด -S.decision, Ant. uncertainty |
determinative | (ดิเทอร์'มิเนทิฟว) adj. ซึ่งเป็นการกำหนด, เป็นการชี้ขาด, เป็นเครื่องตัดสิน n. ตัวชี้ขาด, ตัวกำหนด, ศัพท์ที่กำหนดไว้ |
dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) |
extended technology | เทคโนโลยีแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XT (อ่านว่า เอกซ์ที) เป็นเทคโนโลยีใหม่แบบหนึ่งที่นำมาใช้ในการสร้างไมโครคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นนั้น จึงได้รับสมญานาม ว่า XT มีการเน้นในเรื่องการกำหนดให้มีช่องเสียบแผ่นวงจร (card) เพิ่ม เพื่อการปรับขยายในภายหลัง กับการใช้จานบันทึกที่มีความจุสูง ดู AT ประกอบ |
file management | การจัดการแฟ้มข้อมูลหมายถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุงแฟ้ม และการเรียกหาข้อมูลมาใช้จากแฟ้ม |
imperative statement | หมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูง (high level language) ที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ลงมือทำการ คำสั่งเหล่านี้ ตัวแปลโปรแกรม จะแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อน แล้วเครื่องจึงจะปฏิบัติตาม เช่น ข้อความสั่งทำการกำหนดให้ A = 2 ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์พบคำสั่งนี้ ก็จะลงมือทำหาร ด้วยการนำ 2 ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำช่องหนึ่งที่มีอยู่ (address) แล้วกำหนดชื่อที่เก็บนั้นว่า A เป็นต้นมีความหมายเหมือน excutable statement |
imposition | (อิมพะซิซ' เชิน) n. การจัดเก็บภาษี, การกำหนดภาษี, การกำหนดโทษ, การกำหนดให้มี, การบังคับเอา, การนำไฟใส่, การยัดเยียด, การรบกวน, การหลอกลวง |
location | (โลเค'เชิน) n. ตำแหน่งที่ตั้ง, ตำแหน่ง, สถานที่, การวัด, การกำหนดที่ตั้ง, การหาแหล่งที่ตั้ง, การให้เช่า, สถานที่ถ่ายฉากภายนอก, Syn. site |
monospacing | ห่างเท่ากันหมดหมายถึง การกำหนดให้อักษรแต่ละตัวมีช่องไฟเท่ากันหมดไม่ว่าจะเป็น i หรือ m ตรงข้ามกับ proportional spacing ซึ่งหมายถึง อักษรแต่ละตัวจะใช้เนื้อที่เท่าที่จำเป็น ดู proportional pitch ประกอบ |
national television stand | คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานระบบโทรทัศน์ใช้ตัวย่อว่า NTSC (อ่านว่า เอนทีเอสซี) หมายถึง คณะกรรมการที่กำหนดมาตรฐานในระบบโทรทัศน์ เช่น กำหนดว่า ต้องมีอัตราการส่งเท่าไร มีจอภาพที่มีความละเอียดแค่ไหน มาตร ฐาน NTSC นี้ ใช้ในสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ แต่ยุโรปใช้มาตรฐาน PAL |
orientation | (โอริเอนเท'เชิน) n. การปรับตัว, ทำให้เข้าใจ, การกำหนดทิศทางหรือตำแหน่ง, See also: orientative adj., Syn. bearings, stance |
page break | ตำแหน่งแบ่งหน้าคำนี้มีใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หรือโปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) หมายถึง ตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนหน้าใหม่ โดยปกติการเปลี่ยนหน้าจะทำได้ 2 แบบ คือ แบบเปลี่ยนไปเองโดยอัตโนมัติ หมายถึง การพิมพ์ได้มาถึงจุดสิ้นสุดของหน้าที่โปรแกรมกำหนดไว้ ก็จะขึ้นหน้าใหม่โดยอัตโนมัติ หากมีการลบหรือเพิ่มข้อความหรือภาพ ก็จะกระทบมาถึงตำแหน่งนี้ด้วย ส่วนแบบที่สอง คือ การกำหนดตำแหน่งที่จะขึ้นหน้าใหม่ โดยใช้คำสั่งกำหนดว่าจะให้เป็นที่หนึ่งที่ใด เมื่อถึงจุดนี้แล้ว เลขหน้าก็จะเปลี่ยนไปให้ เท่ากับเป็นการขึ้นหน้าใหม่เช่นกัน |
page description language | ใช้ตัวย่อว่า PDL (พีดีแอล) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีซีแอล พีดีแอลนั้นจะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) |
page layout | การกำหนดหน้าหมายถึง การออกแบบหน้ากระดาษ โดยกำหนดจัดเรียงข้อความและภาพประกอบในแต่ละหน้าให้แลดูสวยงาม เริ่มตั้งแต่กำหนดขอบหน้ากระดาษ (margin) จำนวนบรรทัด การแบ่งคอลัมน์ ฯ วิธีการดังกล่าวอาจใช้โปรแกรมประเภทงานพิมพ์ตั้งโต๊ะช่วยก็ได้ เป็นต้นว่า PageMaker, Ventura Publisher, QuarkXpress เพราะมีคำสั่งเฉพาะในเรื่องการจัดหน้าแบบต่าง ๆ การโปรยอักษรรอบภาพ รวมทั้งการดึงเอาภาพ กราฟ ตารางจัดการ ฯ จากโปรแกรมอื่นมาแทรกใส่ให้สะดุดตา การลด/ขยายขนาดของภาพให้เหมาะกับเนื้อที่ได้ ดู desktop publishing ประกอบ |
pdl | (พีดีแอล) 1. ย่อมาจาก page description language เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีดีแอลนั้น จะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) 2. ย่อมาจาก personal digital assistant (เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิตอล) หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นำติดตัวไปไหนมาไหนได้ ผู้ใช้สามารถจดบันทึกข้อมูลลงไปด้วยปากกาพิเศษ เช่น แบบสินค้า แผนที่เส้นทางไปจุดนัดพบ รวมทั้งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งนัดหมายประจำวัน ฯ |
peer-to-peer | เพียทูเพียหมายถึง วิธีการจัดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายทุกเครื่องเหมือนกันหรือเท่าเทียมกัน หมายความว่า แต่ละเครื่องต่างมีโปรแกรมหรือมีแฟ้มข้อมูลเก็บไว้เอง การจัดแบบนี้ทำให้สามารถใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ แทนที่จะต้องใช้จากเครื่องบริการแฟ้ม (file server) เท่านั้น วิธีการจัดอีกลักษณะหนึ่ง ที่เรียกว่า client-server นั้น คือการกำหนดให้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเครื่องบริการแฟ้ม หรือเป็นที่เก็บโปรแกรมและแฟ้มทั้งหมด คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากกันไม่ได้ ต้องเรียกจากเครื่องบริการแฟ้มเท่านั้น ดู file server ประกอบ |
perception | (เพอเซพ'เชิน) n. การเข้าใจ, การแลเห็น, การมองเห็น, สัญญาณ, การหยั่งรู้, ญาน, ความรู้สึก, ความรู้สึกสัมผัส, สิ่งที่มองเห็น, การรับรู้สัมผัส, การกำหนดรู้, การกำหนดหมาย., See also: perceptional adj. |
pitched battle | n. การสงครามที่ได้มีการจัดกองกำลังทหารอย่างมีระเบียบและมีการกำหนดสนามรบไว้ก่อน, การรบแบบตั้งที่มั่น, การรบที่ดุเดือด |
primary key | กุญแจหลักในการสั่งให้เรียง (sort) ข้อความหรือตัวเลข จะต้องมีการกำหนดว่าจะเรียงตามอะไร เช่น ตามตัวอักษร ตามความมากน้อย ตามอายุ ฯ ตัวกำหนดนี้เรียกว่า กุญแจ (key) ตัวกำหนดที่สำคัญเป็นอันดับแรก เรียกว่า " กุญแจหลัก" ส่วนตัวสำคัญรองลงมา ก็เรียกว่า "กุญแจรอง" เช่นกำหนดให้เรียงตามตัวอักษร และอายุ ตัวอักษรจะเป็นกุญแจหลัก คือให้เรียงตามตัวอักษรก่อน เมื่อตัวอักษรซ้ำกัน จึงเรียงตามอายุ อายุก็เป็นกุญแจรอง ดู secondary key ประกอบ |
priority processing | การประมวลผลตามลำดับความสำคัญหมายถึงการประมวลผลไปตามระดับความสำคัญของโปรแกรม (ที่มีการกำหนดไว้ก่อนแล้ว) |
privileged instruction | คำสั่งเอกสิทธิ์หมายถึง คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจำกัดโปรแกรมต่าง ๆ ไม่ให้ทำงานผิดแนวทาง โดยปกติ คำสั่งเอกสิทธิ์จะประกอบด้วย คำสั่งข้อจำกัดการใช้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยรับข้อมูลเข้า หน่วยแสดงผล การป้องกันหน่วยความจำ การหยุดชะงักการทำงานของเครื่อง และปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุม และการกำหนดเวลา คำสั่งนี้ผู้ใช้เครื่องธรรมดาไม่มีสิทธิใช้ และจะทำงานได้เฉพาะเมื่ออยู่ในภาวะการใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system mode) |
provision | (พระวิช'เ?ิน) n. การจัดหา, สิ่งที่จัดหามาให้, การเตรียมการ, การกำหนด, ข้อกำ-หนด, บทบัญญัติ, เสบียงอาหาร, การแต่งตั้งตำ-แหน่งทางศาสนา (โดยเฉพาะศาสนาคริสเตียน) . vt. จัดหา, จัดเสบียงอาหาร., See also: provisioner n., Syn. condition, ar |
restriction | (รีสทริค'เชิน) n. การจำกัด, การจำกัดวง, การกำหนด, การบังคับ, See also: restrictionist n., Syn. restraint |
save as | หมายถึง การสั่งเก็บแฟ้มข้อมูลโดยต้องมีการกำหนดชื่อ ถ้ามีชื่อเก่าอยู่แล้ว จะใช้ชื่อเดิมหรือกำหนดชื่อใหม่ก็ได้ แต่ถ้าจะเปลี่ยนที่เก็บ (path) หรือเปลี่ยนรูปแบบการเก็บ (format) ก็ต้องใช้คำสั่ง save as (แทนที่จะใช้ save) บางโปรแกรมผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบการเก็บได้ด้วย เช่น โปรแกรม Excel จะเก็บเป็นแฟ้มข้อความธรรมดา (text) หรือ เป็นตารางจัดการ (work sheet) ฯ ก็ได้ โปรแกรม PageMaker ก็ให้เลือกเก็บเป็น "ต้นแบบ" หรือ เก็บเป็นแฟ้มเข้อมูลธรรมดาก็ได้ดู save เปรียบเทียบ |
secondary key | กุญแจรองในการสั่งค้นหาหรือเรียงลำดับข้อมูล จะต้องมีการกำหนดว่าจะใช้ตัวอักษรใด ข้อความใดเป็นตัวกำหนด ที่เรียกว่า " กุญแจ " (key) ตัวที่สำคัญเป็นอันดับแรก เรียกว่า "กุญแจหลัก" (primary key) ส่วนตัวสำคัญรองลงมา ก็เรียกว่า " กุญแจรอง " (secondary key) เช่น กำหนดให้อายุ 20 ปี เป็นกุญแจหลัก และเป็นชาย เป็นกุญแจรอง ดังนี้ก็หมายความว่า ต้องการหาชายที่มี 20 ปี เป็นต้น ดู primary key เปรียบเทียบ |
sector | (เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก), See also: sectoral adj., Syn. class, ca |
set up | จัดเตรียมหมายถึง การจัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือปรับโปรแกรมหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้ในแบบที่ต้องการ การติดตั้งโปรแกรมแต่ละครั้ง ถือว่าเป็นการกำหนดการจัดเตรียมดังกล่าวนี้ด้วย แม้ว่าหลังจากนั้น เราอาจจะแก้ไข หรือปรับเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น คำนี้ บางทีหากเป็นชื่อโปรแกรม มักเขียนติดกันเป็น SetUp.exeดู install ประกอบ |
shape | (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ |
shift+click | กดเมาส์พร้อมกับกดแป้น Shiftหมายถึง การกดแป้น Shift แช่ไว้ แล้วกดเมาส์เพียงทีเดียว เป็นคำสั่งที่ใช้เมื่อต้องการกำหนดข้อความ หรือเลือกภาพหลาย ๆ ภาพพร้อม ๆ กัน |
siting | (ซิท'ทิง) n. เส้นกำหนดแน่นอน, เส้นทาง, เส้นทางหลวง, การกำหนดสถานที่ก่อสร้าง |
specification | (สเพสซิฟิเค'เชิน) n. การเจาะจง, การกำหนดเฉพาะ, เกณฑ์, รายละเอียด, รายการ, โครงการ, Syn. condition, detail |
stipulation | (สทิพพิวเล'เชิน) n. การระบุ, การกำหนด, เงื่อนไข, เงื่อนบังคับ, สัญญา, ข้อตกลง, ข้อกำหนด, Syn. provision, condition |
tab | n. ส่วนที่โผล่ออก, ชาย, แถบ, สายประดับ, เศษผ้า, เศษกระดาษ, ปุ่ม, ป้าย, แผ่นโลหะเล็ก ๆ , หัวหุ้มโลหะที่ปลายเชือกผูกรองเท้า, เครื่องหมายติดปกเสื้อของนายทหาร vt. ทำให้มีtab (ดู) -Phr. (keep tab (s) on คอยดูแล) , จุดตั้งระยะหมายถึง ตำแหน่งที่อยู่ห่างกันเป็นระยะ ๆ ซึ่งจะต้องมีการกำหนดไว้ด้วยโปรแกรม ปกติมักจะกำหนดไว้ให้ห่างกันประมาณ .5 นิ้ว แต่เราสามารถกำหนดใหม่ได้ ใช้มากในโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) หมายถึง ถ้ากดแป้นตั้งระยะ (แป้น Tab) ครั้งหนึ่ง ตัวชี้ตำแหน่งก็จะเลื่อนไประยะหนึ่ง การกำหนดจุดตั้งระยะนั้น อาจกำหนดเลยไปถึงการสั่งชิดซ้าย ชิดขวา ตรงกลาง หรือเป็นตัวเลข ก็ได้, Syn. flap, strip, tag |
tab key | (แป้นพิมพ์) แป้นตั้งระยะหมายถึง แป้นพิมพ์แป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ โดยปกติจะอยู่ริมด้านซ้ายสุดของแถวที่สองจากข้างบน อาจมีคำ tab บนแป้น บางทีมีเครื่องหมายลูกศรแทน การกดแป้นนี้ จะทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) เลื่อนไประยะหนึ่ง (แล้วแต่จะมีการกำหนดไว้) อาจเป็น 5- 10 ช่องว่าง มักใช้เมื่อต้องการย่อหน้าหรือต้องการจัดคอลัมน์ให้ตรงกัน (ไม่ควรกดคานเคาะ) นอกจากนั้น ในกรอบสนทนา การกดแป้นนี้หมายความว่า ให้กระโดดจากช่อง (ที่จะให้เติมข้อความ) ที่ 1 ไปช่องที่ 2 ไปช่องที่ 3....ต่อไป |
task management | การจัดภารกิจหมายถึงการจัดภารกิจในด้านการปฏิบัติการของชุดคำสั่ง เป็นต้นว่า การกำหนด ตำแหน่งที่เก็บข้อมูล (เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หรือ operating system) |
Nontri Dictionary
appointment | (n) การแต่งตั้ง, การกำหนด, การนัดหมาย, เครื่องแต่งตัว |
assessment | (n) การประเมินราคา, การตีราคา, การกำหนด, เงินที่เก็บได้ |
assignment | (n) การกำหนด, การมอบหมาย, การแต่งตั้ง |
demarcation | (n) การกำหนดเขต, การปักปันเขต, เส้นเขตแดน, การแบ่งเขต, การแบ่งแยก |
determination | (n) การตกลงใจ, ความตั้งใจ, ความแน่นอน, การกำหนด |
disposition | (n) อารมณ์, การจัดการ, การกำหนด, ความประสงค์, โองการ |
fixation | (n) การกำหนด, ความสำรวม, การเจาะจง |
formulation | (n) การบัญญัติ, การกำหนด, การวางหลักเกณฑ์, การออกกฎ |
placement | (n) การวาง, การบรรจุ, การให้ตำแหน่ง, การกำหนด |
prescription | (n) การมีสิทธิ์เป็นเจ้าของ, การกำหนดอายุความ |
restriction | (n) ข้อจำกัด, การจำกัด, การกำหนด, การบังคับ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
kerning | [เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern Image: |
protocol | (n) ข้อตกลงในการทำการสื่อสาร การกำหนดความหมาย และวิธีการในการสื่อสาร |
risk base pricing | การกำหนดอัตราดอกเบี้ยตามความเสี่ยงของผู้ขอกู้ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
設定 | [settei] (name) ค้นหาข้อมูลติดตั้ง, สร้าง, การกำหนด |
振り仮名 | [ふりがな, furigana] (n) การกำหนดเสียงอ่านอยู่ด้านบนของตัวอักษรคันญิ |
格好 | [かっこう, kakkou] (n, vi, vt) (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ |
策定 | [さくてい, sakutei] (n) การกำหนด |
町内会 | [ちょうないかい, chounaikai] สมาคมของประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน(สมาคมแห่งนี้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกันแล้ว โดยทั่วไปแล้วทุกคนต้องเข้าร่วมและต้องจ่ายค่าสมาชิก โดยที่สมาคมจะเป็นคนกำหนดกฏเกณฑ์ภายในชุมชนแห่งนั้นเช่นการกำหนดสถานที่ิทิ้งขยะ และทำหน้าที่กระจายข่าวสารภายในชุมชน สมาคมแบบนี้จะมีอยู่ในทุกชุมชนทั่วประเทศญี่ปุ่น หากเทียบกับประเทศไทย ก็ให้นึกถึง "คณะกรรมการชุมชน" ก็น่าจะเทียบเคียงกันได้) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
指定 | [してい, shitei] TH: การกำหนด EN: assignment |
処理 | [しょり, shori] TH: การกำหนด EN: disposition |
Longdo Approved DE-TH
Vereinbarung | (n) |die, pl. Vereinbarungen| ข้อตกลง, ข้อกำหนด, การระบุ, การกำหนด, เงื่อนไข, เงื่อนบังคับ, สัญญา, Syn. Abmachung |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0466 seconds, cache age: 2.516 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม