-กุญชร- แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


17 ผลลัพธ์ สำหรับ -กุญชร-
ภาษา
หรือค้นหา: -กุญชร-, *กุญชร*
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *กุญชร*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กุญชร(กุนชอน) น. ช้าง.
กุญชรเกษมน. ชื่อเพลงระบำสำหรับช้าง ใช้ในการแสดงโขนตอนพระคเณศเสียงา.
มุนิกุญชรน. นามพระพุทธเจ้า.
เศวตกุญชร(สะเหฺวดกุนชอน) น. ช้างเผือก.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
ดั้น ๒น. ชื่อโคลงประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น เช่น โคลงดั้นบาทกุญชร โคลงดั้นวิวิธมาลี และชื่อร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า ร่ายดั้น.
(รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
ละครดึกดำบรรพ์น. ละครแบบหนึ่ง ดำเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่คล้ายของจริง ไม่มีบทบรรยายฉาก บรรยายกิริยาอาการของตัวละคร ตัวละครร้องและเจรจาบทของตนเอง และใช้ดนตรีที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เรียกว่า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เรื่องที่แสดง เช่น อิเหนา คาวี สังข์ศิลป์ชัย, ชื่อดึกดำบรรพ์มาจากชื่อโรงละครของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร).

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
มุนิกุญชร(n) name of the lord Buddha, See also: Buddha, Thai Definition: นามของพระพุทธเจ้า

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กุญชร(กุนชอน) น. ช้าง.
กุญชรเกษมน. ชื่อเพลงระบำสำหรับช้าง ใช้ในการแสดงโขนตอนพระคเณศเสียงา.
มุนิกุญชรน. นามพระพุทธเจ้า.
เศวตกุญชร(สะเหฺวดกุนชอน) น. ช้างเผือก.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
ดั้น ๒น. ชื่อโคลงประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น เช่น โคลงดั้นบาทกุญชร โคลงดั้นวิวิธมาลี และชื่อร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า ร่ายดั้น.
(รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
ละครดึกดำบรรพ์น. ละครแบบหนึ่ง ดำเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่คล้ายของจริง ไม่มีบทบรรยายฉาก บรรยายกิริยาอาการของตัวละคร ตัวละครร้องและเจรจาบทของตนเอง และใช้ดนตรีที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เรียกว่า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เรื่องที่แสดง เช่น อิเหนา คาวี สังข์ศิลป์ชัย, ชื่อดึกดำบรรพ์มาจากชื่อโรงละครของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร).

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 1.2256 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม