33 ผลลัพธ์ สำหรับ บรรพชิต
ภาษา
หรือค้นหา: -บรรพชิต-, *บรรพชิต*เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *บรรพชิต*
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บรรพชิต | (บันพะชิด) น. นักบวชในพระพุทธศาสนา. |
ฆราวาส | (คะราวาด) น. คนผู้อยู่ครองเรือน, คนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่บรรพชิตหรือนักบวช. |
จตุปัจจัย | (-ปัดไจ) น. เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา). |
บัพชิต | (บับพะชิด) น. บรรพชิต, นักบวช, ผู้บวช. |
ประสก | น. ชายผู้แสดงตนเป็นคนถือพระพุทธ-ศาสนา, คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้ชาย, คู่กับ สีกา. |
ปลงบริขาร | ก. มอบบริขารให้แก่ผู้อื่นในเวลาใกล้จะตาย (ใช้แก่บรรพชิต). |
ปลงผม | ก. โกนผม (ใช้แก่บรรพชิต). |
ปัจจัย | เครื่องอาศัยยังชีพ, เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธ-ศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) รวมเรียกว่า จตุปัจจัย คือ ปัจจัย ๔, โดยปริยายหมายถึง เงินตรา ก็ได้ (มักใช้แก่ภิกษุสามเณร) |
วัจกุฎี | น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. |
เวจกุฎี | น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), วัจกุฎี ก็เรียก. |
เววัณณิยะ | น. ความเป็นผู้มีวรรณะต่างกันหรือต่างเพศกัน เช่นเพศบรรพชิตต่างกับเพศคฤหัสถ์. |
สีกา | น. คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง, คู่กับ ประสก. |
อันเตวาสิก | น. “ชนผู้อยู่ในภายใน” หมายถึง ศิษย์ที่อยู่ในปกครองหรือที่อาศัยอยู่กับอาจารย์ จะเป็นบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ก็ได้, คู่กับ อาจารย์. |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรพชิต | [banphachit = bapphachit] (n) EN: priest ; bhiksu ; Buddhist monk ; bhiksuni ; Buddhist nun ; samanera ; male novice ; samanerika ; female novice FR: religieux [ m ] ; religieuse [ f ] ; moine bouddhiste [ m ] ; moniale bouddhiste [ f ] |
ถือเพศบรรพชิต | [theū phēt banphachit] (v, exp) EN: become a bhikku |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บรรพชิต | (บันพะชิด) น. นักบวชในพระพุทธศาสนา. |
ฆราวาส | (คะราวาด) น. คนผู้อยู่ครองเรือน, คนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่บรรพชิตหรือนักบวช. |
จตุปัจจัย | (-ปัดไจ) น. เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา). |
บัพชิต | (บับพะชิด) น. บรรพชิต, นักบวช, ผู้บวช. |
ประสก | น. ชายผู้แสดงตนเป็นคนถือพระพุทธ-ศาสนา, คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้ชาย, คู่กับ สีกา. |
ปลงบริขาร | ก. มอบบริขารให้แก่ผู้อื่นในเวลาใกล้จะตาย (ใช้แก่บรรพชิต). |
ปลงผม | ก. โกนผม (ใช้แก่บรรพชิต). |
ปัจจัย | เครื่องอาศัยยังชีพ, เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธ-ศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) รวมเรียกว่า จตุปัจจัย คือ ปัจจัย ๔, โดยปริยายหมายถึง เงินตรา ก็ได้ (มักใช้แก่ภิกษุสามเณร) |
วัจกุฎี | น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. |
เวจกุฎี | น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), วัจกุฎี ก็เรียก. |
เววัณณิยะ | น. ความเป็นผู้มีวรรณะต่างกันหรือต่างเพศกัน เช่นเพศบรรพชิตต่างกับเพศคฤหัสถ์. |
สีกา | น. คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง, คู่กับ ประสก. |
อันเตวาสิก | น. “ชนผู้อยู่ในภายใน” หมายถึง ศิษย์ที่อยู่ในปกครองหรือที่อาศัยอยู่กับอาจารย์ จะเป็นบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ก็ได้, คู่กับ อาจารย์. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
priest | นักบวช, บรรพชิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
จตุปัจจัย | เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) [ศัพท์พระราชพิธี] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรพชิต | [banphachit = bapphachit] (n) EN: priest ; bhiksu ; Buddhist monk ; bhiksuni ; Buddhist nun ; samanera ; male novice ; samanerika ; female novice FR: religieux [ m ] ; religieuse [ f ] ; moine bouddhiste [ m ] ; moniale bouddhiste [ f ] |
ถือเพศบรรพชิต | [theū phēt banphachit] (v, exp) EN: become a bhikku |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.521 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม