334 ผลลัพธ์ สำหรับ *ไตร*
ภาษา
หรือค้นหา: ไตร, -ไตร-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
ติมิ | ชื่อปลาในคัมภีร์ไตรภูมิ The name of fish found in the Triphum |
ติมิงคละ | ชื่อปลาในคัมภีร์ไตรภูมิ The name of a fish found in the Triphum |
Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หิ่น | พิจารณา เช่น หิ่นตอง แปลว่า พิจารณาไตรตรอง |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ไตร | (n) three, See also: triple, tri-, Syn. ตรี, ตรัย, สาม, Example: จำนวนผู้เช่าหมายเลขลดลงจากไตรมาสก่อนเล็กน้อย, Thai Definition: จำนวนสาม |
ไตรทศ | (n) 33 Gods in the second tier of heaven above the earth, Syn. ตรีทศ, Thai Definition: เทวดา 33 องค์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ไม่แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึงพระอินทร์และบริวารพระอินทร์อีก 32 องค์ |
ไตรภพ | (n) three worlds (earth, heaven and hell), Syn. ไตรภูมิ, ตรีภพ, Thai Definition: ภพทั้งสาม คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล |
กันไตร | (n) scissors, Syn. กรรไกร, กรรไตร, ตระไกร, Example: คุณยายใช้กันไตรตัดผ้า, Count Unit: เล่ม |
ผ้าไตร | (n) set of monk's robes, See also: Buddhist monk's suit (robe, sarong, extra robe), Syn. ไตรจีวร, ไตร, Example: ผ้าไตรของสมเด็จพระสังฆราชเป็นแพรอย่างดี, Count Unit: ผืน, Thai Definition: ผ้า 3 ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), เรียกสั้นๆ ว่า ผ้าไตร หรือ ไตร |
แดนไตร | (n) three boundaries of the three worlds, Syn. โลกทั้ง 3, Thai Definition: โลกทั้ง 3 ได้แก่ กามภพ คือภพของเทวดาลงมา, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป; หรือ สวรรค์ มนุษยโลก และ บาดาล |
ไตรมาส | (n) three months, Syn. 3 เดือน, Example: บริษัทได้ประสบกับการขาดทุนมาตลอด 8 ไตรมาสติดต่อกัน, Thai Definition: ช่วงระยะเวลา 3 เดือน |
ไตรเพท | (n) Three Vedas of the Hindu religion, Example: ในเรื่องพระอภัยมณี นางวาลีได้ศึกษาความรู้จนจบไตรเพทและวิชาต่างๆ, Thai Definition: ชื่อคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี 3 คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท |
ไตรโลก | (n) three worlds (heaven, earth, hell), Syn. ตรีโลก, Thai Definition: โลกทั้ง 3 ทางวรรณคดี หมายถึง สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล |
ไตรจักร | (n) three worlds (heaven, earth, hell), Thai Definition: ภพทั้งสาม คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล |
ไตรจีวร | (n) three garments of a Buddhist monk (robe, sarong, extra robe), Syn. ตรีจีวร, ผ้าไตร, Example: ในงานบวช บิดาเป็นคนอุ้มบาตรและถือตาลปัตร มารดาอุ้มไตรจีวร ญาติพี่น้องช่วยถือเครื่องอัฐบริขารเครื่องไทยธรรมและสิ่งของอื่นๆ, Thai Definition: ผ้า 3 ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ) |
ไตรปิฎก | (n) Tripitaka, See also: Tripitaka consisting of the teachings of Buddha, Syn. ตรีปิฎก, พระไตรปิฎก, พระตรีปิฎก, Example: ทั้งสองพระองค์ได้ทรงศึกษาไตรปิฎกอย่างลึกซึ้ง, Thai Definition: พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มี 3 ปิฎก คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎก อภิธรรมปิฎก |
ไตรภาคี | (n) tripartite, Syn. สนธิสัญญาไตรภาคี, Thai Definition: สนธิสัญญาที่มีคู่สัญญา 3 ฝ่าย |
ไตรภาคี | (n) tripartite, Syn. 3 ฝ่าย, Example: การลงนามร่วมกันระหว่างไตรภาคีสำเร็จลุล่วงไปแล้ว |
ไตรภูมิ | (n) three worlds (earth, heaven and hell), Syn. ตรีภพ, ไตรภพ, Example: เทวดาในสวรรค์ไตรตรึงส์หรือดาวดึงส์ในไตรภูมิก็มีเค้ามาจากจำนวน 33 องค์ของเทวดาเหล่านี้นั่นเอง, Thai Definition: ภพทั้งสาม คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล |
ไตรรงค์ | (n) three colours flag, See also: tricolour, Syn. ธงไตรรงค์, Example: ธงชาติไทยเรียกว่าธงไตรรงค์เพราะมี 3 สี, Count Unit: ผืน, Thai Definition: ธงชาติไทยซึ่งมี 3 สี 5 แถบ คือ แดง ขาว น้ำเงิน ขาว แดง |
ไตรยางศ์ | (n) three portions, See also: three shares, Syn. 3 ส่วน, Example: ลูกๆ ให้พ่อสอนเรื่องบัญญัติไตรยางศ์ |
ไตรยางศ์ | (n) three-sound group, Syn. อักษร 3 หมู่, Thai Definition: ชื่ออักษร 3 หมู่ คือ อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ |
ไตรรัตน์ | (n) Buddhist Three Gems (Buddha, His Teachings, Monk), See also: Triple Gem, Three Jewels (Buddha, Law, Order), Syn. พระรัตนไตร, Example: พระสงฆ์เป็นหนึ่งในไตรรัตน์หรือแก้วสามประการในพระพุทธศาสนา, Thai Definition: แก้ว 3 ประการ หมายถึง พระพุทธเจ้า เรียกว่า พุทธรัตนะ พระธรรม เรียกว่า พระธรรมรัตนะ พระสงฆ์ เรียกว่า สังฆรัตนะ |
ไตรวิชชา | (n) three-acknowledgement group, Syn. วิชชา 3, Thai Definition: วิชชา 3 คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ 1 วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ 1 วิชชารู้ในทางทำให้สิ้นกิเลส 1 |
ไตรสิกขา | (n) three studies; morality, concentration and wisdom, See also: threefold training, Syn. สิกขา 3, Example: ในสมัยแรกเริ่มแห่งพระพุทธศาสนา ภิกษุทั้งหลายตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรม ดำเนินชีวิตอยู่ในไตรสิกขา ไม่มีใครประพฤตินอกรีตผิดไปจากความเป็นภิกษุ, Thai Definition: สิกขา 3 คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา ษมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา |
ไตร่ตรอง | (v) think over, See also: consider, ponder, Syn. ใคร่ครวญ, ตริตรอง, ตรอง, Ant. บุ่มบ่าม, ไม่รอบคอบ, Example: ผู้บริหารไตร่ตรองเรื่องนี้อย่างถี่ถ้วน, Thai Definition: คิดทบทวน |
ธงไตรรงค์ | (n) Thai flag of red, white and blue, See also: three-coloured flag, triflag, Syn. ธงสามสี, Example: เด็กนักเรียนเชิญธงไตรรงค์ขึ้นสู่ยอดเสา และร้องเพลงชาติทุกๆ เช้า, Count Unit: ผืน, Thai Definition: ธงชาติของไทย |
พระไตรปิฎก | (n) Tripitaka, See also: Buddha's teaching divided into three parts, Buddhist Scriptures, Example: พระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ชำระรวบรวมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจัดขึ้นเป็นพระไตรปิฎกจารึกลงบนแผ่นใบลานปิดทองใบปกทั้งหน้าหลัง, Thai Definition: พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี 3 ปิฎก คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎก |
ไตรสรณคมน์ | (n) Threefold Guides (Buddha, Precepts, Monks), Syn. ไตรสรณาคมน์, Example: ฝีมือช่างในระดับนี้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าถึงในพระไตรสรณคมน์อย่างสุกงอมแล้ว, Thai Definition: การถึงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก |
การไตร่ตรอง | (n) meditation, See also: pondering, thinking over, consideration, Syn. การตริตรอง, การตรึกตรอง, การคิดทบทวน, การวิเคราะห์, การพิเคราะห์, การพิจารณา, Example: ในการพิจารณาคดีต่างๆ ของศาลต้องผ่านการไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้ว |
บัญญัติไตรยางศ์ | (n) rule of three in arithmetic, Example: ผู้สมัครแต่ละคนได้คะแนนเสียงเท่าไร ก็ให้นำมาเทียบบัญญัติไตรยางศ์, Thai Definition: วิธีเลขอย่างหนึ่งซึ่งกำหนดส่วนสัมพันธ์ของเลข 3 จำนวนเพื่อหาจำนวนที่ 4 โดยวิธีเทียบหา 1 ก่อน แล้วจึงไปหาส่วนที่ต้องการด้วยการนำเลขทั้ง 3 จำนวนที่กำหนดให้และที่ให้หามาคูณหารกันเป็น 3 ขั้น |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กรรไตร | (กันไตฺร) น. ตะไกร. (ข. กนฺไตฺร; ส. กรฺตริ). (ดู ตะไกร ๑). |
กระไตร | น. ชื่อเหยี่ยวชนิดหนึ่ง เรียกว่า เหยี่ยวกระไตร เช่น กระไตรตระไนตรู (เสือโค), เขาคุ่มกระตรุมกระไตร (สรรพสิทธิ์), ตะไกร ก็เรียก. |
กันไกร, กันไตร | (-ไกฺร, -ไตฺร) ดู ตะไกร ๑. |
กันไตร | (-ไตฺร) ดู ตะไกร ๑. |
ขากรรไตร | น. ขากรรไกร. |
จรดพระกรรไกรกรรบิด, จรดพระกรรไตรกรรบิด | ก. ใช้กรรไกรขริบปอยผมเล็กน้อย เป็นการเริ่มในพระราชพิธีโสกันต์และเกศากันต์. |
จอมไตร | น. ผู้เป็นใหญ่ในโลกสาม, โดยมากหมายถึงพระพุทธเจ้า หรือ พระอิศวร (ตัดมาจาก จอมไตรโลก หรือ จอมไตรภพ). |
แดนไตร | น. โลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายความถึง กามภพ คือภพของผู้ที่ติดอยู่ในกาม ตั้งแต่ ฉกามาพจรลงมาถึงนรกภูมิ, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป, ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล. |
ตู้พระไตรปิฎก | น. ตู้เก็บพระไตรปิฎก. |
โตรก, โตรกไตร | (โตฺรก, โตฺรกไตฺร) น. ช่องลึกของเขา, โกรก หรือ โกรกไกร ก็ใช้. |
ไตร ๑ | (ไตฺร) ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ปางนั้นพระพลเทพก็เล็งศัตรูไตร สว่างไสวไหว พลพีริยโจษจรร (อนิรุทธ์). |
ไตร ๒ | (ไตฺร) ก. กำหนด, นับ, ตรวจ. |
ไตรตรา | ก. ตรวจและหมายไว้ เช่น ไตรตราหาหน้าตรวจตรา หญิงชายชายหา ก็รู้ระบิตริตรอง (อนิรุทธ์) |
ไตรตรา | ใคร่ครวญ. |
ไตร ๓ | (ไตฺร) ว. สาม, คำสำหรับนำหน้าสมาส เช่น ไตรลักษณ์ ไตรทวาร. |
ไตรจักร | (-จัก) น. โลกทั้ง ๓ คือ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล เช่น จึ่งจับศรจันทวาทิตย์ อันเรืองฤทธิ์ปราบทั่วทั้งไตรจักร (รามเกียรติ์ ร. ๑). |
ไตรจีวร | (-จีวอน) น. ผ้า ๓ ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง คือ ผ้านุ่ง) อุตราสงค์ (จีวร คือ ผ้าห่ม) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร หรือ ไตร เช่น ไตรครอง ดอกไม้คลุมไตร. |
ไตรดายุค | (ไตฺร-) น. ชื่อยุคที่ ๒ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือ ๓ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ส. เตฺรตายุค; ป. เตตายุค). (ดู จตุรยุค). |
ไตรตรึงษ์ | (-ตฺรึง) น. ดาวดึงส์, ตรัยตรึงศ์, ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีพระอินทร์เป็นใหญ่ในชั้นนี้. |
ไตรทวาร | (-ทะวาน) น. ทวารทั้ง ๓ คือ กาย เรียก กายทวาร วาจา เรียก วจีทวาร ใจ เรียก มโนทวาร. |
ไตรทศ | (-ทด) น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. |
ไตรทิพ, ไตรทิพย์ | (-ทิบ) น. สวรรค์ชั้นสูงสุด, สวรรค์ทั่วไป, ตรีทิพ ก็เรียก. |
ไตรปิฎก | (-ปิดก) น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ใช้ว่า ตรีปิฎก ก็ได้. |
ไตรเพท | (-เพด) น. ชื่อคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี ๓ คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท. |
ไตรภพ, ไตรภูมิ | (-พบ, -พูม) น. โลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายความถึง กามภพ คือภพของผู้ที่ติดอยู่ในกาม ตั้งแต่ฉกามาพจรลงมาถึงนรกภูมิ รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป และอรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป, ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล, ตรีภพ ตรีโลก หรือ ไตรโลก ก็ว่า. |
ไตรภาคี | น. ๓ ฝ่าย |
ไตรภาคี | เรียกสนธิสัญญาที่มีคู่สัญญา ๓ ฝ่าย ว่า สนธิสัญญาไตรภาคี. |
ไตรยางศ์ | น. ๓ ส่วน, ใช้เป็นชื่ออักษร ๓ หมู่ คือ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรตํ่า. |
ไตรรงค์ ๑ | น. ๓ สี, เรียกธงชาติไทยซึ่งมี ๓ สี ๕ แถบ คือ แดง ขาว นํ้าเงิน ขาว แดง ว่า ธงไตรรงค์. |
ไตรรัตน์ | น. แก้ว ๓ ประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน หมายถึง พระพุทธเจ้า เรียกว่า พุทธรัตนะ พระธรรม เรียกว่า ธรรมรัตนะ พระสงฆ์ เรียกว่า สังฆรัตนะ, รัตนตรัย ก็เรียก. |
ไตรลักษณ์ | (-ลัก) น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตนที่แท้จริง. |
ไตรโลก | น. โลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายความถึง กามภพ คือภพของผู้ที่ติดอยู่ในกาม ตั้งแต่ฉกามาพจรลงมาถึงนรกภูมิ รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป และอรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป, ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล, ตรีภพ ตรีโลก ไตรภพ หรือ ไตรภูมิ ก็ว่า. |
ไตรโลกย์ | น. ไตรโลก เช่น อันว่าพระไตรโลกย์ครู สวยมภูญาณนายก (ม. คำหลวง สักบรรพ). |
ไตรวัฏ | น. วงจร ๓ ส่วน ที่เกิดขึ้นเป็นเหตุเป็นผลต่อเนื่องกันไป เริ่มจาก กิเลสวัฏ คือ วงจรส่วนกิเลส เป็นผลให้เกิด กรรมวัฏ คือ วงจรส่วนกรรม และเป็นผลให้เกิด วิปากวัฏ คือ วงจรส่วนวิบาก วนเวียนกันไปไม่รู้จบ. |
ไตรวิชชา | (-วิดชา) น. ความรู้แจ้งในทางพระพุทธศาสนา ๓ อย่าง คือ ๑. ระลึกชาติหนหลังได้ ๒. รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ ๓. รู้วิธีทำให้สิ้นกิเลส. |
ไตรสรณคมน์, ไตรสรณาคมน์ | (-สะระนะคม, -สะระนาคม) น. การยึดถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกโดยการน้อมนำเอาพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ มาเป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ. |
ไตรสิกขา | น. สิกขา ๓ คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา. |
ไตรกิศยา | (ไตฺรกิดสะยา) น. การเยียวยา. |
ไตร่ตรอง | (ไตฺร่ตฺรอง) ก. คิดทบทวน, ตริตรอง. |
ไตร่ตรองไว้ก่อน | น. คิดหรือวางแผนไว้ก่อนลงมือกระทำความผิด. |
ไตรย | (ไตฺร) ว. ไตร เช่น ไตรยตรึงษ์ ไตรยปิฎก ไตรยโลก (ยวนพ่าย). |
ไตรรงค์ ๑ | ดูใน ไตร ๓. |
ไตรรงค์ ๒ | ดู ราชินี ๒. |
ธงไตรรงค์ | น. ธงชาติไทย. |
บัญญัติไตรยางศ์ | น. วิธีเลขอย่างหนึ่ง ซึ่งกำหนดส่วนสัมพันธ์ของเลข ๓ จำนวนเพื่อหาจำนวนที่ ๔ โดยวิธีเทียบหา ๑ ก่อน แล้วจึงไปหาส่วนที่ต้องการ ด้วยการนำเลขทั้ง ๓ จำนวนที่กำหนดให้และที่ให้หามาคูณหารกันเป็น ๓ ขั้น. |
ผ้าไตร | น. ผ้า ๓ ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), ไตร ก็เรียก เช่น ไตรครอง ดอกไม้คลุมไตร, เรียกเต็มว่า ผ้าไตรจีวร |
เมตไตรย | (เมดไตฺร) น. พระนามของพระพุทธเจ้าที่จะมาตรัสรู้ข้างหน้า. |
หอไตร | น. หอสำหรับเก็บพระไตรปิฎก. |
กฎหมาย | ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดำรัสให้เร่งคืนมา (พากย์) |
กรรไกร | (กันไกฺร) น. ตะไกร. (เลือนมาจาก กรรไตร). (ดู ตะไกร ๑). |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
prepense | โดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
premeditated design | เจตนาฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
premeditated murder | การฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
premeditated murder | การฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
premeditation | การไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule of three | บัญญัติไตรยางศ์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
ren unguliformis; kidney, horseshoe | ไตรูปเกือกม้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reflection | การไตร่ตรอง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
aforethought | โดยไตร่ตรองไว้ก่อน (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
murder, premeditated | การฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
murder, premeditated | การฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malice aforethought | เจตนาร้ายโดยไตร่ตรองมาก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
calculated | โดยไตร่ตรองไว้ก่อน (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
deliberately | โดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trimester; trimenon | ช่วงสามเดือน, ไตรมาส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trimorphic; trimorphous | มีไตรสัณฐาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
trimorphous; trimorphic | มีไตรสัณฐาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
trilateral commission | คณะมนตรีไตรภาคี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trilateralism | ไตรภาคีนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trivium | ไตรศิลปศาสตร์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trichotomy law | กฎไตรวิภาค [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
tripartite | ไตรภาคี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ternary | ไตรภาค [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ternary | ไตรภาค [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
ternary system | ระบบไตรภาค [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
ternary tree | (รูป)ต้นไม้แบบไตรภาค [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ternary tree | (รูป)ต้นไม้แบบไตรภาค [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
trimenon; trimester | ช่วงสามเดือน, ไตรมาส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
kidney, horseshoe; ren unguliformis | ไตรูปเกือกม้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
horseshoe kidney; ren unguliformis | ไตรูปเกือกม้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nephroabdominal | -ไตร่วมผนังท้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nephrocardiac | -ไตร่วมหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ureterouterine | -ท่อไตร่วมมดลูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ureterovaginal | -ท่อไตร่วมช่องคลอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ureterovesical | -ท่อไตร่วมกระเพาะปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Silicon nitride | ซิลิกอนไนไตรด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Triglyceride | ไตรคลีเซอร์ไรด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Tributyltin oxide | ไตรบิวทิลทินออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
World in the Tripitaka | โลกในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Women in the Tripitaka | สตรีในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Carbonitriding | คาร์โบไนไตรดิง [TU Subject Heading] |
India in the Tripitaka | อินเดียในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Polystyrene | โพลิสไตรีน [TU Subject Heading] |
Premeditation (Law) | การไตร่ตรองไว้ก่อน (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
Triathlon | ไตรกีฬา [TU Subject Heading] |
Tricuspid valve | ลิ้นหัวใจไตรคัสปิด [TU Subject Heading] |
Trihalomethanes | ไตรฮาโลมีเทน [TU Subject Heading] |
Tripitaka | พระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Triratna (Buddhism) | ไตรสรณ [TU Subject Heading] |
Polystylrene, PS | โพลีสไตรีน, พีเอส, Example: เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่ได้จากผลผลิตในอุตสาห กรรมปิโตรเคมี ใช้เป็นแผ่นฉนวนกันความร้อนได้ดี นิยมใช้ทำเป็นแผ่นกันความร้อนในงานก่อสร้าง ทำถาดอาหารถ้วยน้ำและอื่นๆ ที่มีลักษณะโปร่งใส แต่เปราะ มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถทนกรด และด่างได้ดี แต่ไม่สามารถรับแรงกระแทกได้มาก ถ้านำไปผสมสารบางชนิด จะทำให้สามารถรับแรงกระแทกได้มากขึ้น แต่จะไม่โปร่งใส ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากพีเอสส่วนใหญ่ คือ ชาม ถ้วยน้ำ ของเด็กเล่น ฉนวนไฟฟ้า และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด [สิ่งแวดล้อม] |
Buna S | ยางเอสบีอาร์ เป็นโคโพลิเมอร์ของบิวทาไดอีนและสไตรีน (ดู SBR) [เทคโนโลยียาง] |
Latex | 1.น้ำยาง : ของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนมได้จากพืชบางชนิด เช่น ต้นยางพารา และต้นรัก เป็นต้น 2.เลเทกซ์ : พอลิเมอร์ที่มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 1 ไมโครเมตร กระจายตัวอยู่ในน้ำด้วยสภาวะเสถียรด้วยประจุ มีลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนม เช่น อิมัลชันของโคพอลิเมอร์สไตรีน-อะคริลิก [เทคโนโลยียาง] |
Silicone rubber | ยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Synthetic rubber | ยางที่ผลิตขึ้นใข้แทนยางธรรมชาติ โดยสังเคราะห์จากน้ำมันปิโตรเลียม มีสมบัติคล้ายยางธรรมชาติ นอกจากนี้ยังรวมถึงยางชนิดต่างๆ ที่สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมีอีกด้วย เช่น ยางสไตรีนบิวทาไดอีน ยางไนไทรล์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Acetrizoic Acid | กรดอะซีไตรโซอิก [การแพทย์] |
Acrylonitrile | อะครัยโลไนตริล, อะคริโลไนไตรล์ [การแพทย์] |
Adenosine Triphosphatase | เอ็นไซม์อาดีโนซีนไตรฟอสฟาเตส, แอดีโนซีนไตรฟอสฟาเตส [การแพทย์] |
Adenosine Triphosphate | กรดอดีนีลลิคอยู่ในลักษณะไตรฟอสเฟท, อาดีโนซีนไตรฟอสเฟส, แอดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อดิโนสินไตรฟอสเฟต, การแปรสภาพของสารพลังงาน, อะดิโนซินไทรฟอสเฟท [การแพทย์] |
Adenosine Triphosphate | อะดีโนซีน ไทรฟอสเฟต; อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต, สาร; เอดีโนซีน ไทรฟอสเฟท [การแพทย์] |
Adenosinetriphosphatase | อะดีโนซีนไตรฟอสฟาเตส, สาร [การแพทย์] |
Adrenal Cortex, Fetal | เปลือกต่อมหมวกไตระยะทารกในครรภ์ [การแพทย์] |
Amyl Nitrite | เอมีลไนไตรท์ [การแพทย์] |
Antidepressants, Tricyclic | ยาสงบประสาทไตรซัยขลิกแอนตีดีเพร็สแซ็นท์, ยาต้านซึมเศร้าชนิดไตรไซคลิก, ยาต้านอาการซึมเศร้าจำพวก 3 วง [การแพทย์] |
Arsenic Trioxide | อาร์เซนิกไตรออกไซด์ [การแพทย์] |
Atrioventricular Valve, Right | ลิ้นไตรคัสปิดซึ่งอยู่ทางด้านขวา [การแพทย์] |
Autotriploid | ออโตไตรพลอยด์ [การแพทย์] |
Chlor-Trimeton | คลอร์ไตรมีตอน [การแพทย์] |
Collecting Tubules | ท่อรวม, หลอดไตรวม [การแพทย์] |
Cross Striation | ครอสส์สไตรเอชัน, ลายตามขวาง [การแพทย์] |
Cytidine Triphosphate | ไซติดีนไตรฟอสเฟต, ซัยทิดีนไทรฟอสเฟต [การแพทย์] |
Dichlorodiphenyltrichloroethane | ไดคลอโรไดเฟนิลไตรคลอโรอีเทน, ดีดีที [การแพทย์] |
Dyes, Triarylmethane | สีไตรอริลมีเธน [การแพทย์] |
Dyes, Triphenylmethane | สีประเภทไทรเฟนิลเมเธน, สีไตรฟินิลมีเธน [การแพทย์] |
Epoxytrichothecenes | อีปอกซีไตรโคธีซิน [การแพทย์] |
nitrifying bacteria | ไนตริไฟอิงแบคทีเรีย, แบคทีเรียที่ดำรงชีวิตโดยการออกซิไดส์อนุมูลแอมโมเนียให้เป็นสารประกอบไนไตรต์หรือไนเตรต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tricuspid valve | ลิ้นไตรคัสปิด, ลิ้นที่อยู่ระหว่างห้องบนของหัวใจด้านขวาและห้องล่างของหัวใจด้านขวาของหัวใจสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
adenosine triphosphate (ATP) | อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต (เอทีพี), สารประกอบที่มีพลังงานสูงและเป็นสารที่พร้อมจะแตกตัวเพื่อปล่อยพลังงานออกมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เซลล์ต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trichotomy property | สมบัติไตรวิภาค, สมบัติที่กล่าวถึงการเท่ากันหรือไม่เท่ากัน เช่น ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงแล้ว a = b หรือ a < b หรือ a > b อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dichloro-diphenyl-trichloroethane (DDT) | ไดคลอโรไดฟีนิลไตรคลอโรอีเทน (ดีดีที), สารเคมีชนิดเหนึ่ง มีจุดหลอมเหลว 108.5°C ละลายได้ดีในเอทานอล เป็นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง ใช้เป็นสารฆ่าแมลง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
acetate rayon | แอซีเตตเรยอง, เส้นใยสังเคราะห์จากเซลลูโลส โดยการทำให้เป็นเซลลูโลสแอซีเตตหรือเซลลูโลสไตรแอซีเตต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gallamine Triethiodide | กอลลามีนไตรเอธิโอไดด์ [การแพทย์] |
Gallamine Triethiodide Injection | กอลลามีนไตรเอธิโอไดด์ในยาฉีด [การแพทย์] |
Glyceryl Trinitrate | กลีเซอรีล ไตรไนเตรด, สาร; [การแพทย์] |
Glyceryltripalmitate | กลีเซอริลไตรปาล์มมิเตต [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
แบบไตรมาส | [baēp traimāt] (adj) EN: quarterly |
บัญญัติไตรยางศ์ | [banyattraiyāng] (n) EN: rule of three FR: règle de trois [ f ] |
แดนไตร | [daēntrai] (n) EN: three boundaries of the three worlds |
หอไตร | [høtrai] (n) EN: hall for keeping the scriptures ; temple repository for the Buddhist scriptures ; tripitaka hall |
โพลิสไตรีน | [phōlīsatairin] (n) EN: polystyrene FR: polystyrène (PS) [ m ] |
พระไตรปิฎก | [Phratraipidok] (n, prop) EN: Pali Buddhist scripture ; Tripitaka (Sanskrit) ; Tipitaka (Pali) ; Buddhist Scriptures ; The Three Baskets FR: Canon bouddhique pali [ m ] ; tipitaka (pali) [ m ] ; tripitaka (sanskrit) [ m ] ; triple corbeille [ f ] |
ประจำไตรมาส | [prajamtraimāt] (adj) EN: quarterly |
รายงานประจำ ไตรมาส | [rāi-ngān prajamtraimāt] (n, exp) EN: quarterly report |
ธงไตรรงค์ | [thong trairong] (n, exp) EN: tricolour flag FR: drapeau tricolore [ m ] |
ธงไตรรงค์ | [Thong Trairong] (n, prop) EN: Thai Tricolour ; Thai national flag |
ไตร | [trai] (x) EN: three ; triple ; threefold FR: triple |
ไตร | [trai-] (pref) EN: tri- (pref.) FR: tri- (préf.) |
ไตรจักร | [traijak] (n) EN: three worlds (heaven, earth, hell) |
ไตรจีวร | [traijīwøn] (n) EN: three garments of a Buddhist monk (robe, sarong, extra robe) |
ไตรกีฬา | [traikīlā] (n) EN: triathlon |
ไตรลักษณ์ | [trailak] (n) EN: the three characteristics of existence (impermanence, incompleteness and non-self) |
ไตรโลก | [trailōk] (n) EN: three worlds (heaven, earth, hell) |
ไตรมาส | [traimāt] (n) EN: quarter ; trimester ; three months |
ไตรภาคี | [traiphākhī] (n) EN: tripartite |
ไตรเพท | [traiphēt] (n) EN: the Three Vedas of the Hindu religion |
ไตรภพ | [traiphop] (n) EN: the Three Worlds (earth, heaven and hell) ; the Three Spheres |
ไตรภูมิ | [traiphūm] (n) EN: the Three Worlds (earth, heaven and hell) ; the Three Spheres |
ไตรปิฎก | [Traipidok] (n, prop) EN: Tipitaka ; Tripitaka ; Triple Basket ; Pali Canon |
ไตรรัตน์ | [trairat] (n) EN: Buddhist Three Gems (Buddha, His Teachings, Monk) ; the Triple Gem |
ไตรรงค์ | [trairong] (n) EN: tricolour ; tricolor (Am.) ; the three colours of the Thai flag |
ไตรสรณคมน์ = ไตรสรณาคมน์ | [traisaranakhom = traisaranākhom] (n) EN: Threefold Guides (Buddha, Precepts, Monks) ; the Triple Refuges (Buddha, Dharma, Sangha) |
ไตรสิกขา | [traisikkhā] (n) EN: three studies (morality, concentration and wisdom) ; threefold method of training in morality, concentration and wisdom |
ไตรทวาร | [traithawān] (n) EN: three doors af action (body, speech and mind) |
ไตรทศ | [traithot] (n) EN: 33 Gods in the second tier of heaven above the earth |
ไตร่ตรอง | [traitrøng] (v) EN: ponder ; think over ; reflect on ; medidate FR: considérer ; peser ; penser à la chose |
ไตรวิชชา | [traiwichā] (n) EN: three-acknowledgement group |
ไตรยางศ์ | [traiyāng] (n) EN: three portions ; three shares ; trifold |
ไตรยางศ์ | [traiyāng] (n) EN: three-sound group ; three classes of Thai consonants |
วัดไตรมิตร | [wat Traimit] (n, prop) EN: Wat Traimit ; Temple of the Golden Buddha FR: wat Traimit ; temple du Bouddha d'or [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า |
audit | (ออ'ดิท) n. การตรวจสอบบัญชี, บัญชี, การไตร่สวนคดี. -vt. ตรวจสอบบัญชี, เข้าฟัง (วิชาที่ไม่เอาคะแนน), Syn. examine, check |
blackleg | n. คนทรยศ, โรคในสัตว์เลี้ยงเนื่องจากเชื้อ Clostridium chauvoei, คนโกง, คนหลอกลวง, ผู้ทำให้การสไตรค์ไร้ผลหรือหยุด |
blithe | (ไบลธฺ) adj. ร่าเริง, สนุกสนาน, บันเทิงใจ, สะเพร่า, ไม่ระวัง, ไม่ไตร่ตรอง, ปราศจากสติ |
brash | (แบรช) adj. สะเพร่า, หุนหันพลันแล่น, ไม่ไตร่ตรอง, ทะลึ่ง, ก๋ากั่น, เปราะ (ไม้) -n. กองกิ่งไม้, กองขยะ, กองหิน, See also: brashness n. ดูbrash, Syn. impetuous, Ant. cautious |
chew | (ชู) { chewed, chewing, chews } vt. เคี้ยว, ขยำ, ทำลาย, ทำให้บาดเจ็บใคร่ครวญ, ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง. -vi. เคี้ยว, เคี้ยวใบยาสูบ, ครุ่นคิด, See also: chew the cud เคี้ยวเอื้อง, ครุ่นคิด chew out ด่าว่า -n. การเคี้ยว, ปริมาณเต็มปาก -S... |
cogitate | (คอจ'จิเทท) v. พิจารณาอย่างรอบคอบ, ไตร่ตรอง, See also: cogitator n. |
cogitative | (คอจ'จิเททิฟว) adj. ซึ่งไตร่ตรอง, ซึ่งพิจารณา, ซึ่งรับรู้., See also: cogitativeness n. |
contemplate | (คอน'เทมเพลท) v. ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, มุ่งหมาย, เข้าญาน, See also: contemplator n. |
contemplation | (คอนเทมเพล'เชิน) n. การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณาอย่างระมัดระวัง, เจตนา, ความมุ่งหมาย, การอธิษฐาน, การเข้าญาน, Syn. thought |
contemplative | (คัมเทม'พละทิฟว) adj. ซึ่งครุ่นคิด, ซึ่งไตร่ตรอง. n. ผู้ชอบเข้าฌาน (เช่นพระ) ., See also: contemplativeness n. ดูcontemplative, Syn. thoughtful, Ant. unreflective |
cordite | (คอร์'ไดทฺ) n. ผลที่ค่อย ๆ เผาไหม้แต่ไร้ควัน ประกอบด้วยไนไตรกลีเซอรีนและเซลลูโลสในเตรท เป็นชนวนระเบิดชนิดหนึ่ง |
digest | (ไดเจสทฺ') v. ย่อย, ช่วยย่อย, เข้าใจ, ไตร่ตรอง, อดทน, จำแนก, แยกแยะ, ทำให้สั้นรัดกุม, สรุป. n. หนังสือประมวลใจความสำคัญ, See also: digester n. ดูdigest digestant n. ดูdigest digestible adj. ดูdigest digestibility n. ดูdigest digestion n. ดูdig |
discreet | (ดิสครีท') adj. พิจารณารอบคอบ, สุขุม, ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ, ระมัดระวัง., See also: discreetness n. ดูdiscreet |
discretion | (ดิสเครช'เชิน) n. ความสุขุม, การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ, ความระมัดระวัง., See also: discretionary adj. ดูdiscretion discretional adj. ดูdiscretion |
haste | (เฮสทฺ) n. ความรวดเร็ว, ความเร่งด่วน, ความเร่งรีบ, ความหุ่นหันพลันแล่น, การปราศจากการไตร่ตรอง. vt., vi. เร่ง, เร่งรีบ, รีบ., See also: hasteful adj. |
inquiring | (อินไคว'เออริง) adj. ชอบสอบถาม, ชอบไตร่ถาม, See also: inquiringly adv., Syn. probing |
investigation | (อินเวสทิเก'เชิน) n. การสำรวจ, การสืบสวน, การไตร่สวน, การสอบสวน |
madcap | (แมด'แคพ) adj. ไม่ไตร่ตรอง, ไม่ยั้งคิด, บ้าระห่ำ. n. บุคคลที่ไม่ไตร่ตรอง |
malice aforethought | n. การไตร่ตรองก่อนการกระทำผิด |
manslaughter | (แมน'สลอเทอะ) n. การฆ่าคน, ฆาตกรรม, การฆ่าคนโดยไม่ได้ไตร่ตรองมาก่อน |
measured | (เมส'เชฺอด) adj. ได้จากการวัด, ซึ่งหาค่าแล้ว, ไตร่ตรองและรอบคอบ, สม่ำเสมอ, แน่นอน, เป็นจังหวะ., See also: measuredly adv. measuredness n., Syn. well-considered |
meditate | (เมด'ดิเทท) vi. คิดคะนึง, ไตร่ตรอง, เพ่งพิจารณาดู, มุ่งหมาย, เข้าฌาน. vt. มุ่งหมาย, วางแผน., See also: meditatingly adv. meditator n., Syn. intend |
meditation | (เมดดิเท'เชิน) n. การคิดคะนึง, การไตร่ตรอง, การเพ่งพิจารณาดู, การมุ่งหมาย, การเข้าฌาน, Syn. contemplation, pondering |
meditative | (เมดดิ ดิเททิฟว) adj. ซึ่งไตร่ตรอง, ซึ่งเพ่งพิจารณา, ซึ่งมุ่งหมาย., See also: meditativeness n., Syn. contemplative |
ponder | (พอน'เดอะ) vi., vt. ครุ่นคิด, คำนึง, ไตร่ตรอง, พิจารณา. |
ponderable | (พอน'เดอระเบิล) adj. น่าพิจาร-ณา, ไตร่ตรองได้., See also: ponderability n. |
pore | (พอร์) n. รูเล็ก ๆ , รูขน, ขุมขน vi. ไตร่ตรอง, ครุ่นคิด, พินิจ, อ่านอย่างตั้งใจ, ศึกษาอย่างตั้งใจ |
preconceive | (พรีเคินซีฟว') vt. คิดไว้ก่อน, ไตร่ตรองไว้ก่อน |
premeditate | (พรีเมด'ดิเทท) vt., vi. ไตร่ตรองล่วงหน้า, คิดล่วงหน้า., See also: premeditateedness n. premeditative adj. permeditator n. |
premeditation | (พรีเมดดิเท'เชิน) n. การไตร่ตรองล่วงหน้า, การคิดไว้ล่วงหน้า |
prepense | (พรีเพนซฺ') adj. ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า, วางแผนไว้ล่วงหน้า, มีเจตนา |
prepossess | (พรีพะเซซ') vt. ครอบงำจิตมาก่อน, หมกมุ่น, ไตร่ตรองมาก่อน, ถูกใจแต่แรกเริ่ม, มีจิตโน้มเอียง, See also: prepossessing adj. prepossession n. |
proportion | (พระพอร์'เชิน) n. สัดส่วน, อัตราส่วน, ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมหรือสำคัญ, ขนาดที่สัมพันธ์กัน, proportionsขนาดสัดส่วน มิติ, บัญญัติไตรยางค์, ความสมดุลกัน, การได้สัด-ส่วน, ความสมมาตร. vt. ทำให้เป็นสัดส่วน., See also: proportionment n. |
puzzle | (พัส'เซิล) n. ปัญหา, ปัญหายุ่งยาก, ปริศนา, เรื่องฉงนสนเท่ห์, สภาวะที่ซับซ้อน vt. ทำให้ฉงนสนเท่ห์, ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่ง. vi. ครุ่นคิดหนัก, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, See also: puzzle out แก้ปัญหาโดยความพยายามหรือไตร่ตรอง puzzledly adv. puzzlingly adv. |
reckless | (เรค'ลิส) adj. ไม่สนใจ, ไม่ไตร่ตรอง, ใจร้อน, สะเพร่า, ไม่ยั้งคิด, ไม่ระวัง, บุ่มบ่าม., See also: recklessly adv. recklessness n. |
reflect | (รีเฟลคทฺ') vt., vi. สะท้อนกลับ, ส่องกลับ, สะท้อนภาพให้เห็น, ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง, ส่อให้เห็น, นำมาสู่ (ชื่อเสียง, การตำหนิ), See also: reflectibility n. reflectingly adv., Syn. cast back, mirror, show, ponder |
reflection | (รีเฟลค'เชิน) n. การสะท้อนกลับ, การส่องกลับ, สิ่งที่สะท้อนกลับ, ภาพสะท้อน, แสงสะท้อน, ความร้อนสะท้อนกลับ, การครุ่นคิด, การไตร่ตรอง, การตำหนิ, การกล่าวหา, การพับกลับ, การงอกลับ., See also: al adj., Syn. reflexion, thought |
rule of three | n. บัญญัติไตรยางค์ |
think | (ธิงคฺ) vi. คิด, ใช้ความคิด, ครุ่นคิด, นึก, ระลึก, รำลึก, รำพึง, ไตร่ตรอง, อยากจะ, เข้าใจว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, ถือว่า. vt. คิดว่า, รู้สึกว่า, ถือว่า, เข้าใจว่า, คาดคิด, See also: thinkable adj. -Phr. think fit คิดว่าเหมาะสม, -Phr. think up วางแผน คิดขึ้น |
thought | (ธอท) n. ความคิด, การไตร่ตรอง, การรำพึง, ปัญญา, การพิจารณา, ความตั้งใจ vi. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ think, Syn. idea, notion |
thought-out | adj. ไตร่ตรองมาก, ครุ่นคิดมาก, คิดมาอย่างละเอียด |
thoughtful | (ธอท'ฟูล) adj. ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง, ใช้ความคิด, คิดหนัก, เอาอกเอาใจผู้อื่น, ระมัดระวัง., Syn. meditative, attentive |
trio | (ทรี'โอ) n. กลุ่มที่ประกอบ3คน (อัน, ชิ้น...) , ไตรมิตร, การบรรเลงหรือร้องสามครั้ง, กลุ่มนักร้อง3คน, กลุ่มนักแสดง 3คน, ตอง, ไพ่ชุดที่มีแต้มเดียวกัน3ใบ, Syn. threesome |
worm disk | จานเวิร์มคำ WORM ย่อมาจาก write once read many (แปลว่า จานเขียนหนึ่งอ่านหลาย) เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกข้อมูล มีความจุหลายล้านตัวอักษร (ประมาณ 600, 000 หน้ากระดาษพิมพ์) สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว สื่อชนิดนี้สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว แต่จะนำมาใช้อ่านกี่ครั้งก็ได้ เหมาะที่จะใช้เก็บข้อมูลจำนวนมากที่ไม่ต้องการแก้ไขแล้ว เช่น สาราณุกรม พระไตรปิฎก ฯ |
Nontri Dictionary
brash | (adj) ไม่ไตร่ตรอง, สะเพร่า, ใจเร็วด่วนได้, หุนหันพลันแล่น, ทะลึ่ง, ก๋ากั่น |
cerebrate | (vt) คิด, ใคร่ครวญ, นึก, ไตร่ตรอง, ใช้สมอง |
cogitate | (vi) ใคร่ครวญ, คิด, ไตร่ตรอง, พิจารณา, ตรึกตรอง |
cogitation | (n) การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณา, การตรึกตรอง |
contemplate | (vi) นึก, ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, ครุ่นคิด |
contemplation | (n) การนึก, การไตร่ตรอง, การใคร่ครวญ |
contemporaneous | (adj) ซึ่งไตร่ตรองแล้ว, ซึ่งใคร่ครวญแล้ว |
digestion | (n) การย่อยอาหาร, การไตร่ตรอง, การเก็บข้อความสำคัญ |
discreet | (adj) สุขุม, ระมัดระวัง, รอบคอบ, พินิจพิเคราะห์, ไตร่ตรอง, ยั้งคิด |
discretion | (n) ความสุขุม, ความรอบคอบ, การตัดสินใจ, ดุลพินิจ, การไตร่ตรอง |
figure | (vt) นึก, คิด, กะ, ไตร่ตรอง, คำนวณ, แสดงเป็นรูป |
impetuous | (adj) หุนหัน, ไม่ไตร่ตรอง, แรง, ใจร้อน, บุ่มบ่าม |
inhibition | (n) การกีดกั้น, การยับยั้ง, การสกัดกั้น, การไตร่ตรอง |
madcap | (adj) บ้าระห่ำ, ไม่ยั้งคิด, ไม่ไตร่ตรอง, หุนหันพลันแล่น |
perpend | (vi) คิด, ครุ่นคิด, พิจารณา, ไตร่ตรอง, ใช้วิจารณญาณ |
preconceive | (vt) คิดล่วงหน้า, ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า |
preconception | (n) ความคิดล่วงหน้า, การไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า |
premeditate | (vt) คิดล่วงหน้า, ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า |
premeditation | (n) การคิดล่วงหน้า, การไตร่ตรองล่วงหน้า |
reconsider | (vt) ไตร่ตรองใหม่, พิจารณาอีกครั้ง, คิดใหม่ |
reflect | (vi) ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, ครุ่นคิด, สะท้อนกลับ, ส่อให้เห็น |
reflection | (n) เงา, ภาพสะท้อน, การไตร่ตรอง, การรำพึง |
reflective | (adj) อย่างไตร่ตรอง, ซึ่งสะท้อนกลับ, ซึ่งนำมาสู่ |
think | (vi) คิด, นึก, ไตร่ตรอง, รำพึง |
thought | (n) ความคิด, การนึก, การไตร่ตรอง, การรำพึง, ปัญญา |
wisdom | (n) ความเฉลียวฉลาด, ความรอบรู้, ปัญญา, ความสุขุม, การไตร่ตรอง |
wise | (adj) ฉลาด, รอบรู้, สุขุม, ไตร่ตรอง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
QoQ | (abbrev) ย่อมาจาก Quarter on Quarter เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสของไตรมาสล่าสุดกับไตรมาสก่อนหน้า |
quarter | (n) ไตรมาส |
triathlon | (n) ไตรกีฬา, เป็นการเล่นกีฬาที่รวมเอา การว่ายน้ำ, ขี่จักรยาน, และวิ่งเข้าด้วยกัน |
Tripartite Pact | (name) สนธิสัญญาไตรภาคี |
YoY | (abbrev) ย่อมาจาก Year on Year เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสในช่วงเวลาเดียวกันแต่คนละปี |
Longdo Approved JP-TH
工夫 | [くふう, kufuu] การตรึกตรอง การไตร่ตรองในหลายๆด้านก่อนตัดสินใจ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
考慮 | [こうりょ, kouryo] การพิจารณา, การไตร่ตรอง |
三蔵経 | [さんぞうけい, sanzoukei] (n) พระไตรปิืฏก |
Longdo Approved DE-TH
kontemplativ | (adj) ที่คิดลึกซึ้ง, ที่คิดไตร่ตรองอย่างแน่วแน่, ที่ตั้งใจพิจารณาอย่างรอบคอบ |
Kontemplation, -en | (n) การคิดอย่างมีสติ, การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การไตร่ตรองอย่างแน่วแน่ (เป็นภาษาเขียน), See also: kontemplativ |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
éxgèse | (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.6546 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม