521 ผลลัพธ์ สำหรับ *วิชา*
ภาษา
หรือค้นหา: วิชา, -วิชา-Longdo Unapproved TH - FR
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม | (org) Comité d'encadrement de la profession d'ingénieur |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.) | (n, phrase) Reserve Officer Training Cops Student (ROTCS) |
วิชากฎหมายธุรกิจ | (n, phrase) Business Law |
วิชาการขายเบื้องต้น | (n, phrase) Introduction to Sales |
วิชาการพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต | (n, phrase) Work Development with Quality Management System and Productivity |
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Reading |
วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Writing |
วิชาการใช้เครื่องใช้สำนักงาน | (n, phrase) Office Equipment Usage |
วิชาจิตวิทยามนุษย์เชิงธุรกิจ | (n, phrase) Human Psychology and Business Ethics |
วิชาภาษาอังกฤษงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม | (n, phrase) English for Food and Beverage Services |
วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจขนส่ง | (n, phrase) English for Transport Business |
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว | (n, phrase) English for Tourism |
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Presentation |
วิชาภาอังกฤษงานส่วนหน้าโรงแรม | (n, phrase) English for Hotel Front Office |
วิชาสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Conversation |
วิชาหลักการจัดการ | (n, phrase) Principles of Management |
วิชาหลักการตลาด | (n, phrase) Principles of Marketing |
วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ | (n, phrase) Principles of Economics |
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ | (n, phrase) Computer Package at Work |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
วิชา | (n) subject, See also: knowledge, branch of knowledge, science, technology, learning, Example: ท่านไม่พอใจเท่าไหร่เพราะผมทำเกรดได้ไม่ดีในวิชาหลักๆ อาทิ เลข วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์, Count Unit: วิชา, Thai Definition: ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน |
วิชาโท | (n) minor, See also: minor subject, Example: เพื่อนๆ ทุกคนเลือกเรียนภาษาอังกฤษเป็นวิชาโท, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งเป็นวิชารองจากวิชาเอก |
กวดวิชา | (v) tutor, See also: cram, coach, Syn. ติว, Example: เด็กๆ ไม่จำเป็นต้องเรียนกวดวิชาหรอกให้เวลาเขาได้พักผ่อนบ้างจะดีกว่า, Thai Definition: เรียนเพิ่มเติมจากที่เรียนมาแล้ว |
ทวิชาติ | (n) Brahman, See also: twice-born, Syn. ทวิชงค์, ทวิช, พราหมณ์, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (สันสกฤต) |
ทวิชาติ | (n) bird, See also: twice-born, Syn. นก, ทวิช, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (สันสกฤต) |
ภาควิชา | (n) department, Syn. สาขาวิชา, Example: รายละเอียดการสมัครสามารถสอบถามได้ที่ภาควิชา ทุกวันเวลาทำการ, Count Unit: ภาค, Thai Definition: ส่วนของแผนกวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย |
รายวิชา | (n) course, Example: รายวิชาภาษาศาสตร์บริสุทธิ์ค่อนข้างจะเป็นทฤษฎี และเป็นรายวิชาที่มุ่งปูพื้นฐานสำหรับการทำงานวิจัยต่อไป, Count Unit: รายวิชา, Thai Definition: หน่วยวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งภาคการศึกษา มีทั้งที่บังคับและให้เลือก |
วิชาการ | (adj) academic, See also: technical, Example: หนังสือที่พิมพ์แจกไปนั้นมีคุณค่าในงานวิชาการเป็นอย่างยิ่ง, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ |
วิชาการ | (n) academic matter, See also: technical matter, Example: ผมได้มีโอกาสไปร่วมประชุมวิชาการเรื่องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม, Thai Definition: การที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ |
วิชาชีพ | (n) vocation, See also: profession, occupation, career, Thai Definition: อาชีพที่ต้องอาศัยวิชาความรู้ความชำนาญ |
วิชาเลข | (n) arithmetic, See also: mathematics, Syn. เลข, Example: เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเลข ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ในขั้นต่ำ |
วิชาเอก | (n) major subject, Ant. วิชาโท, วิชารอง, Example: มีนักศึกษาเรียนวิชาภาษาไทยเป็นวิชาเอกน้อยมาก, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนได้เอง เพื่อให้ครบตามหลักสูตรที่กำหนด |
แก่วิชา | (adj) knowledgeable, Syn. รู้มาก |
ตลาดวิชา | (n) knowledge market, Example: มหาวิทยาลัยรามคำแหงถือเป็นตลาดวิชาสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาหาความรู้, Thai Definition: แหล่งที่สามารถศึกษาหาความรู้ได้โดยเสรี |
วิชาช่าง | (n) engineering, Example: นักศึกษากลุ่มนี้สอบวิชาช่างได้เกรดเอทุกคน, Thai Definition: ความรู้ที่เกี่ยวกับช่าง |
วิชาอาคม | (n) magic, See also: incantation, magic formula, Syn. เวทมนตร์, Example: ชนกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าหากเปิดเผยวันเดือนปีเกิดให้มีผู้ล่วงรู้ อาจถูกผู้มีวิชาอาคมกระทำ |
สาขาวิชา | (n) field, Example: คณะมนุษยศาสตร์มีสาขาวิชาต่างๆ มากมายที่น่าสนใจศึกษา, Count Unit: สาขา, Thai Definition: วิชาที่แยกย่อยออกไปจากวิชาหลัก |
สาขาวิชา | (n) program |
วิชาแพทย์ | (n) medicine, Syn. แพทยศาสตร์, Example: เขาเลิกศึกษาวิชาแพทย์ แล้วมาศึกษาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์แทน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการป้องกันและบำบัดโรค |
กรมวิชาการ | (n) Department of Curriculum and Instruction Development, Example: ตำราทางการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาส่วนใหญ่จัดทำขึ้นโดยกรมวิชาการ |
ทางวิชาการ | (adj) academic, Example: การวิจัยทางวิชาการเป็นกิจกรรมทางปัญญา เพื่อค้นหาความจริง |
นักวิชาการ | (n) technocrat, Example: บริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ชั้นนำต่างพยายามหลบเลี่ยงกลบเกลื่อน หรือสรรหานักวิชาการมายืนยันถึงความปลอดภัย, Count Unit: คน, ท่าน |
นักวิชาการ | (n) academician, See also: scholar, academic, Example: งานนี้เหมาะกับพวกนักวิชาการมากกว่าศิลปินอย่างเรา, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีความรู้ ความชำนาญ และศึกษาลึกซึ้งในสาขาวิชานั้นๆ |
วิชาบังคับ | (n) required subject, Ant. วิชาเลือก, Example: นิสิตทุกคนต้องสอบผ่านวิชาบังคับตรงตามหลักสูตร จึงจะมีสิทธิขอจบการศึกษา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่กำหนดให้เรียน |
ด้านวิชาการ | (n) academic, Example: ผู้บริหารการศึกษาควรให้ความสนใจงานด้านวิชาการมากกว่านี้ |
ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น |
ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น |
ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น |
ฝ่ายวิชาการ | (n) academic section, See also: technical side, academic administration, technical office, Example: ท่านเข้ามาทำงานวิจัยในฝ่ายวิชาการของกองอนุรักษ์สัตว์ป่าในปีพ.ศ.2526, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: กลุ่มที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ |
หลักวิชาการ | (n) theory, See also: principle, Example: ระดับการปนเปื้อนของสารตะกั่วในน้ำดื่มตามหลักวิชาการไม่ควรเกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร, Thai Definition: ทฤษฎีของวิชาการ |
เนื้อหาวิชา | (n) subject matter, See also: subject description, Example: อาจารย์กำหนดจุดมุ่งหมายและรายละเอียดของเนื้อหาวิชา เพื่อให้นักเรียนสามารถนความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้, Thai Definition: สาระสำคัญของวิชา |
วิชาวาดเขียน | (n) drawing, Syn. วาดเขียน, Example: ครูผู้สอนวิชาวาดเขียนปลื้มใจกับลูกศิษย์ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการประกวดวาดภาพนานาชาติ |
วิชาเลือกเสรี | (n) elective subject, Example: หลักสูตรใหม่มีวิชาเลือกเสรีให้นักศึกษาได้เลือกตามความถนัดหลายวิชา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่เลือกเรียนและเลือกสอบได้ โดยไม่มีการบังคับ |
วิชาดาราศาสตร์ | (n) astronomy, Syn. ดาราศาสตร์, Example: วิชาโหราศาสตร์เป็นวิชาที่เก่าแก่โบราณมากที่สุด มีมาก่อนที่จะมีวิชาดาราศาสตร์ |
กรมวิชาการเกษตร | (n) Department of Agriculture |
กรมวิชาการเกษตร | (n) Department of Agriculture |
นักวิชาการพิเศษ | (n) technical specialist, Example: อาจารย์อัญชลีได้รับเชิญให้ไปเป็นนักวิชาการพิเศษที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญพิเศษในสาขาวิชานั้น |
โรงเรียนกวดวิชา | (n) tutorial school, Example: ผู้คนจำนวนมาก ทุกรุ่นทุกวัยจะมุ่งกันไปเรียนภาษาไทยที่โรงเรียนกวดวิชา ซึ่งเปิดขึ้นหลายแห่ง, Count Unit: โรง, แห่ง |
สถานศึกษาวิชาชีพ | (n) vocational school, See also: professional school, Example: สถานศึกษาวิชาชีพในวิทยาลัยชุมชนมุ่งเน้นการสอนวิชาชีพทั่วไป และสอนหลักสูตรระยะสั้นสำหรับนักศึกษาผู้ใหญ่ |
วิชาประวัติศาสตร์ | (n) history, Syn. ประวัติศาสตร์, Example: ความตื่นตัวในวิชาประวัติศาสตร์กระจายออกไปในวงกว้าง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค |
เสรีภาพทางวิชาการ | (n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ |
เสรีภาพทางวิชาการ | (n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กวดวิชา | ก. เรียนเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อให้ทันหรือมีความรู้ดียิ่งขึ้น. |
ตลาดวิชา | น. แหล่งที่ศึกษาหาความรู้ได้โดยเสรี. |
ทวิชากร | น. ฝูงนก. |
ทวิชาติ | น. นก, หมู่นก |
ทวิชาติ | พราหมณ์. |
นักวิชาการ | น. ผู้เชี่ยวชาญวิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา. |
ร้อนวิชา | ก. เกิดความเร่าร้อนเนื่องจากคาถาอาคมจนอยู่ไม่เป็นปรกติ |
ร้อนวิชา | เร่าร้อนอยากจะแสดงวิชาความรู้พิเศษหรือคาถาอาคมจนผิดปรกติวิสัย. |
รายวิชา | น. หน่วยวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งภาคการศึกษา มีทั้งที่บังคับและให้เลือก. |
วิชา | น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ. |
วิชาการ | น. วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวิชาการ การประชุมวิชาการ. |
วิชาแกน | น. รายวิชาที่อยู่ในหลักสูตรร่วมกันของหลายคณะหรือหลายสาขาของปริญญาเดียวกัน ที่ผู้เรียนในคณะหรือสาขาเหล่านั้นจะต้องเรียน. |
วิชาชีพ | น. วิชาที่จะนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น วิชาแพทย์ วิชาช่างไม้ วิชาช่างยนต์. |
วิชาโท | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งรองลงมาจากวิชาเอก. |
วิชาธร | น. พิทยาธร. |
วิชาบังคับ | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในหลักสูตรนั้นจะต้องเรียน. |
วิชาบังคับพื้นฐาน | น. รายวิชาพื้นฐานที่บังคับให้เรียนในหลักสูตร. |
วิชาบังคับเลือก | น. รายวิชาเลือกที่ทางภาควิชาบังคับให้เรียนในหลักสูตร. |
วิชาพื้นฐาน | น. รายวิชาที่ถือว่าเป็นพื้นฐานของวิชาในระดับที่สูง ๆ ขึ้นไป. |
วิชาเลือก | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้. |
วิชาเลือกบังคับ | น. รายวิชาเลือกที่อาจารย์ที่ปรึกษาบังคับให้เรียนเป็นรายบุคคล. |
วิชาเลือกเสรี | น. รายวิชาที่เลือกเรียนได้อย่างเสรี โดยผู้เรียนไม่ต้องถามอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน. |
วิชาอาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิชาอาคมให้ศิษย์, วิทยาคม ก็ว่า. |
วิชาเอก | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งเป็นวิชาหลัก ตามหลักสูตรปริญญาหรืออนุปริญญา. |
วิชานนะ | น. ความรู้, ความเข้าใจ. |
ศัพท์เฉพาะวิชา | น. คำที่ตราหรือกำหนดขึ้นใช้ในแต่ละวิชา เช่น ปฏิชีวนะ ประสบการณ์ มลพิษ. |
หลักวิชา | น. ความรู้ที่เป็นหลักของแต่ละวิชา. |
กระบวนท่า | น. แม่ไม้ที่เป็นหลักในวิชากระบี่กระบองหรือมวยเป็นต้น. |
กระวีชาติ | น. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง). |
กระหัง | น. ผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้ชาย เชื่อกันว่าเดิมเป็นผู้ชายที่เรียนวิชาอาคมแก่กล้าเข้าก็มีปีกมีหาง จะไปไหนก็ใช้กระด้งต่างปีก สากตำข้าวต่างขา สากกะเบือต่างหาง ชอบกินของโสโครก, คู่กับ กระสือ ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้หญิง, ใช้ว่า กระหาง ก็มี เช่น ถ้าเปนสัจว่าเปนกระสือกระหางจะกละจริงไซร้ (สามดวง). |
กลศาสตร์ | (กนละ-) น. วิชาฟิสิกส์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระทำของแรงต่อเทหวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้นภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ. |
การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. |
การเมือง | น. งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดำเนินการแห่งรัฐ. |
กิมิวิทยา | น. วิชาว่าด้วยหนอน. |
กีฏวิทยา | น. วิชาว่าด้วยแมลง. |
กุมภา | น. จระเข้ เช่น ตัวกูหลงอยู่ด้วยกุมภา จะเสื่อมเสียวิชาที่เรียนรู้ (ไกรทอง). |
เกชา, เกอิชา | น. ผู้หญิงญี่ปุ่นที่มีศิลปะและวิชาชีพในการปรนนิบัติผู้ชาย. |
เกษตรศาสตร์ | (กะเสดตฺระสาด) น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. |
แก่ ๑ | โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ. |
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม | น. ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร. |
ขึ้นครู | ก. ทำพิธีคำนับครูที่ประสาทวิชาให้เมื่อแรกเรียน |
เข้าตู้ | ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า “วิชาเข้าตู้” ซึ่งหมายความว่า วิชาที่เคยจำได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ในตำราที่เก็บไว้ในตู้. |
เข้าหม้อ | ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา. |
เขียนไทย | น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า. |
แขนง ๑ | (ขะแหฺนง) น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลำของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์. |
คชศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยช้าง มี ๒ ประเภท คือ คชลักษณ์ และ คชกรรม. |
คณ-, คณะ | หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ |
คณิต, คณิต- | (คะนิด, คะนิดตะ-) น. การนับ, การคำนวณ, วิชาคำนวณ, มักใช้เป็นคำหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. |
คณิตศาสตร์ | (คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ. |
คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
prosthodontics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prosthodontics; denture prosthetics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
profession | วิชาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
profession | วิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
professional indemnity insurance | การประกันภัยความรับผิดจากวิชาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
professional misconduct | การประพฤติมิชอบในวิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
professional school | โรงเรียนวิชาชีพ, สถานศึกษาวิชาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
prosthetics | วิชากายอุปกรณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legal profession | วิชาชีพกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lithostratigraphy | ๑. วิชาลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๒. การลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๓. ลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
removable prosthodontics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ถอดได้ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refrigeration | ๑. การทำความเย็น๒. วิชาการทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refresher | การฟื้นวิชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stratigraphy | ๑. วิชาลำดับชั้นหิน๒. การลำดับชั้นหิน๓. ลำดับชั้นหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
specialisation; specialization | การชำนาญเฉพาะวิชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
specialism | การมุ่งเฉพาะวิชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
speciality | วิชาพิเศษ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
specialization; specialisation | การชำนาญเฉพาะวิชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
statistics | วิชาสถิติ, สถิติศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
opticianry | วิชาประกอบแว่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
academicism | คตินิยมวิชาการ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
academy | สํานักวิชา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
academy | สำนักวิชาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
academy figure | รูปคนตามหลักวิชา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
academic art | ศิลปะตามหลักวิชา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
academic freedom | เสรีภาพทางวิชาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automotive mechanics | วิชายานยนต์ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
journal papers | บทความวิชาการวารสาร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
biogeochemistry | วิชาชีวธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
biostratigraphy | ๑. วิชาลำดับชั้นหินตามชีวภาพ๒. การลำดับชั้นหินตามชีวภาพ๓. ลำดับชั้นหินตามชีวภาพ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
biomedical instrumentation | วิชาการอุปกรณ์ชีวเวช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mystery | กลเม็ด (ในเชิงการค้า ศิลปะ วิชาชีพ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
maxillofacial prosthetics | วิชาประดิษฐ์ใบหน้าขากรรไกร [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
misconduct, professional | การประพฤติมิชอบในวิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mala praxis | การปฏิบัติมิชอบในการประกอบวิชาชีพ [ ดู malpractice ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malpractice | การปฏิบัติมิชอบในการประกอบวิชาชีพ [ ดู mala praxis ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
medical practitioner | ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civics | วิชาหน้าที่พลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civics | วิชาหน้าที่พลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conduct, infamous | ความประพฤติเสื่อมเสีย, ความประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chronostratigraphy | ๑. วิชาลำดับชั้นหินตามอายุกาล๒. การลำดับชั้นหินตามอายุกาล๓. ลำดับชั้นหินตามอายุกาล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
consultant | ที่ปรึกษา (ทางวิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cryogenics | อติสีตศาสตร์, วิชาความเย็นยวดยิ่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
cryogenics | วิชาความเย็นยวดยิ่ง, อติสีตศาสตร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
computer graphics | วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computing | ๑. การคำนวณ, การคณนา [ มีความหมายเหมือนกับ computation ]๒. -คอมพิวเตอร์๓. การคอมพิวเตอร์๔. วิชาการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
discipline | ๑. วินัย๒. สาขาวิชา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dental biophysics | วิชาชีวฟิสิกส์เชิงทันตกรรม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
denture prosthetics; prosthodontics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dietetics | วิชากำหนดอาหาร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Subject reference books | หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Conference paper | เอกสารการประชุมทางวิชาการ, Example: <p>เอกสารการประชุมทางวิชาการ คือ เอกสารหรือบทความที่นำเสนอต่อที่ประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม โดยต้องส่งเอกสารหรือบทความ หรือสาระสังเขป (บทคัดย่อ) ของเรื่องที่จะนำเสนอในที่ประชุมล่วงหน้า ในช่วงที่ประกาศรับการเสนอบทความ (Call for papers) และงานต้องมีคุณภาพมากเพียงพอที่กรรมการพิจารณาบทความจะยอมรับให้ได้ตีพิมพ์และนำเสนอบทความในการประชุมครั้งนั้น <p>ตัวอย่างการประชุมทางวิชาการ เช่น IFLA Conference (International Federation of Library Associations and Institutions : สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด) ในกลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Journal | วารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Monograph | หนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Professional librarian | บรรณารักษ์วิชาชีพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Transactions | รายงานของสมาคมหรือสถาบันทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject bibliography | บรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject dictionary | พจนานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject encyclopedia | สารานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject specialist | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
cybernatics | ไซเบอร์เนติกส์ วิชาการเกี่ยวกับระบบควบคุม, Example: เช่น ระบบประสาทของสิ่งมีชีวิต เพื่อนำไปใช้พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบกลไกที่ทำงานคล้ายคลึงกัน วิชานี้เปรียบเทียบความคล้ายคลึง และต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต และยึดหลักการพื้นฐาน ทางด้านการสื่อสารและการควบคุมที่สามารอธิบายการทำงานของทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้ ชื่อของวิชานี้มาจากคำภาษากรีก หมายความว่า นำ หรือ ปกครอง [คอมพิวเตอร์] |
Radiation entomology | กีฏวิทยารังสี, วิชากีฏวิทยาแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของรังสีต่อแมลง ได้แก่ การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงในผลผลิตการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ และเพื่อปรับปรุงผลผลิตของแมลงที่มีประโยชน์ เช่น ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตไหม <br>(ดู radiation disinfestation, sterile insect technique, radiation induced F1-sterility ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] |
Scholar | นักวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Agriculturis | นักวิชาการเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Fishery scientist | นักวิชาการประมง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Women in the professions | สตรีในวิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Academic freedom | เสรีภาพทางวิชาการ [TU Subject Heading] |
Academic writing | การเขียนทางวิชาการ [TU Subject Heading] |
Agriculturists | นักวิชาการเกษตร [TU Subject Heading] |
Architectural practice | การประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading] |
Career in [ field ] | อาชีพทาง...[ ชื่อวิชาชีพ ] [TU Subject Heading] |
Education, Non-military | การศึกษานอกวิชาทหาร [TU Subject Heading] |
Family practice | การประกอบวิชาชีพเวชกรรม [TU Subject Heading] |
Health occupations students | นักศึกษาวิชาชีพสุขภาพ [TU Subject Heading] |
Horticulture | วิชาพืชสวน [TU Subject Heading] |
Learned institutions and societies | บัณฑิตยสถานและสมาคมทางวิชาการ [TU Subject Heading] |
Naval education | การศึกษาวิชาการทหารเรือ [TU Subject Heading] |
Phaulkon, Constant, ca. 1648-1688 | วิชาเยนทร์, เจ้าพระยา, ประมาณ 2191-2231 [TU Subject Heading] |
Physical therapy (Specialty) | กายภาพบำบัด (วิชาชีพ) [TU Subject Heading] |
Practice of law | วิชาว่าความ [TU Subject Heading] |
Professional associations | สมาคมวิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Professional education | การศึกษาทางวิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Professional employees | บุคลากรระดับวิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Professions | วิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Scholarly publishing | การจัดพิมพ์เอกสารวิชาการ [TU Subject Heading] |
Scholars | นักวิชาการ [TU Subject Heading] |
Scholars, Buddhist | นักวิชาการพุทธศาสนา [TU Subject Heading] |
Tutors and tutoring | ผู้สอนพิเศษและการกวดวิชา [TU Subject Heading] |
Anemometry | วิชาการวัดลม, Example: วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาการวัดทิศทาง และความเร็วลมรวมทั้งการ วัดทิศทางในแนวยืน (vertical component) ด้วย [สิ่งแวดล้อม] |
Soil Mineralogy | วิชาว่าด้วยแร่ของดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Soil Genesis | วิชาว่าด้วยกำเนิดของดิน [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต] |
Agreement on Economic and Technical Cooperation | ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
จรรยาบรรณวิชาชีพ | [janyāban wichāchīp] (n, exp) EN: professional code of conduct |
เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ | [jaonāthī fāi wichākān] (n, exp) EN: technical service |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | [kān feuk prasopkān wichāchīp] (n, exp) EN: field expérience FR: expérience de terrain [ f ] |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย | [kān feuk prasopkān wichāchīp kotmāi] (n, exp) EN: field experience in law |
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp] (n, exp) EN: preparation for professional experience |
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp kotmāi] (n, exp) EN: preparation for professional experience in law |
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางด้านวัฒนธรรม | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp thāng dān watthanatham] (n, exp) EN: preparation for professional experience in cultural studies |
คณะวิชา | [khanawicha] (n) EN: department |
เกี่ยวกับวิชาการ | [kīokap wichākān] (adj) EN: academic FR: académique |
กวดวิชา | [kūatwichā] (v) EN: tutor ; coach ; cram for an examination ; tutor |
หลักวิชาชีพนักกฎหมาย | [lak wichāchīp nakkotmāi] (n, exp) EN: principles of legal profession |
นักวิชาการ | [nakwichākān] (n) EN: academician ; scholar ; academic |
นักวิชาการ | [nakwichākān] (n) EN: technocrat ; specialist FR: spécialiste [ m ] |
นักวิชาการชาวต่างชาติ | [nakwichākān chāo tāngchāt] (n, exp) EN: foreign academic |
นักวิชาการด้าน... | [nakwichākān dān …] (n, exp) FR: spécialiste en … [ m ] |
นักวิชาการด้านกฎหมาย | [nakwichākān dān kotmāi] (n, exp) EN: jurist |
หนังสือวิชาการ | [nangseū wichākān] (n, exp) EN: technical book FR: livre technique [ m ] |
ภาควิชา | [phākwichā] (n) EN: department (of a university or a faculty) FR: département universitaire [ m ] ; département d'une faculté [ m ] |
ภาควิชาภาษาศาสตร์ | [phākwichā phāsāsāt] (n, exp) EN: department of linguistics |
ภาษาวิชาการ | [phāsā wichākān] (n, exp) EN: technical language ; specialized language |
เพิ่มพูนวิชาความรู้ | [phoēmphūn wichā khwāmrū] (v, exp) EN: increase one's knowledge FR: accroître ses connaissances ; parfaire son savoir |
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ | [prakātsanīyabat wichāchīp] (n, exp) EN: vocational certificate |
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง | [prakātsanīyabat wichāchīp chan sūng] (n, exp) EN: high vocational Certificate |
โรงเรียนกวดวิชา | [rōngrīen kūatwichā] (n, exp) EN: tutorial school |
โรงเรียนวิชาการ | [rōngrīen wichākān] (n, exp) EN: technical school ; vocational school FR: école technique [ f ] ; école professionnelle [ f ] |
โรงเรียนวิชาการโรงแรม | [rōngrīen wichākān rōng raēm] (n, exp) EN: hotel management school FR: école hôtelière [ f ] ; école profesionnelle d'hötellerie [ f ] |
สาขาวิชา | [sākhāwichā] (n) EN: field ; discipline ; area FR: domaine [ m ] ; discipline [ f ] |
เสรีภาพทางวิชาการ | [sērīphāp thang wichākān] (n, exp) EN: academic freedom ; academic independence |
ตลาดวิชา | [talāt wichā] (n, exp) EN: knowledge market ; education market ; marketplace for education |
ถ่ายทอดวิชา | [thāithøt wichā] (x) EN: pass on knowledge ; teach FR: transmettre le savoir |
ทางวิชาการ | [thāng wichākān] (adj) EN: academic |
ทาสวิชา | [thātsawichā] (x) EN: degraded knowledge |
วิชา | [wichā] (n) EN: knowledge ; learning ; scholarship ; erudition ; science FR: connaissance [ f ] ; savoir [ m ] ; science [ f ] ; érudition [ f ] ; bagage [ m ] |
วิชา | [wichā] (n) EN: subject ; branch of study ; course ; branch of knowledge ; science ; technology ; know-how FR: sujet [ m ] ; matière [ f ] ; thèse [ f ] ; discipline [ f ] ; branche [ f ] ; domaine [ m ] |
วิชาอาคม | [wichā ākhom] (n, exp) EN: magic |
วิชาบัญชี | [wichā banchī] (n, exp) EN: accountancy |
วิชาบังคับ | [wichā bangkhap] (n, exp) EN: required subject |
วิชาช่าง | [wichā chang] (n, exp) EN: engineering |
วิชาเฉพาะเลือก | [wichā chaphǿ leūak] (n) EN: elective |
วิชาชีพ | [wichāchīp] (n) EN: profession ; vocation ; occupation ; career FR: profession [ f ] ; occupation [ f ] |
วิชาชีพ | [wichāchīp] (adj) EN: vocational ; professional FR: professionnel |
วิชาชีวเคมี | [wichā chīwakhēmī] (n, exp) EN: biochemistry FR: biochimie [ f ] |
วิชาดาว | [wichā dāo] (n, exp) EN: astrology FR: astrologie [ f ] |
วิชาดาราศาสตร์ | [wichā dārāsāt] (n, exp) EN: astronomy FR: astronomie [ f ] |
วิชาเอก | [wichā ēk] (n, exp) EN: major subject |
วิชาฟิสิกล์ | [wichā fisik] (n, exp) EN: physics FR: physique [ f ] ; sciences physiques [ fpl ] |
วิชาการ | [wichākān] (n) EN: technique ; technology ; expertise ; academic matter ; technical matter FR: technique [ f ] ; technologie [ f ] |
วิชาการ | [wichākān] (adj) EN: technical FR: technique |
วิชาการบัญชี | [wichākānbanchī] (n) EN: accounting FR: comptabilité [ f ] |
วิชาการด้านสารสนเทศ | [wichākān dān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science FR: technologie de l'information [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
keep one's fingers crossed | (phrase) เป็นสำนวน แปลว่า ให้กำลังใจ เช่น He will take the final examination tomorrow. I will keep my fingers crossed for him. พรุ่งนี้เขามีสอบวิชาสุดท้าย ฉันจะเป็นกำลังใจให้เขาค่ะ |
nerdy | (adj, slang) (คน) ที่ฉลาดแต่เรื่องเรียนหรือทางวิชาการ แต่มักไม่ค่อยเก่งในการเข้าสังคม, See also: nerd, geek |
geeky | (adj) ที่เชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, บ้าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, บ้าวิชาการ, ที่หมกมุ่นกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abstract | (adj) ทางทฤษฎี, See also: ทางหลักวิชา, ทางหลักการ, ทางวิชาการ, Syn. theoretical |
academic | (adj) ซึ่งมีลักษณะเป็นนักวิชาการ, See also: ซึ่งคงแก่เรียน, Syn. schoraly, scholastic |
academic | (adj) ด้านวิชาการ, See also: ทางวิชาการ |
academic | (adv) ด้านวิชาการ |
acoustics | (n) วิชาว่าด้วยเสียง |
aeromedicine | (n) วิชาแพทย์ทางอากาศ, See also: การแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคหรือความผิดปกติซึ่งเกิดจากการเดินทางในชั้นบรรยากาศของโลก |
anesthesiology | (n) วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา |
bookkeeping | (n) วิชาการทำบัญชี, Syn. accounts, double entry |
botany | (n) พฤกษศาสตร์, See also: วิชาว่าด้วยต้นไม้, Syn. phytogeography |
chemistry | (n) วิชาเคมี, Syn. chemical science |
civics | (n) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของพลเมือง |
college | (n) วิทยาลัย, See also: โรงเรียนเฉพาะสาขาวิชา, Syn. institute, campus |
course | (n) หลักสูตร, See also: วิชา, กระบวนวิชา, Syn. course of study, program |
cram for | (phrv) รีบอัดเข้าไป (เรียนหรือท่องจำเพื่อสอบ), See also: รีบท่องหนังสือ, เร่งกวดวิชา, รีบยัดเข้าไป เรียนหรือท่องจำเพื่อสอบ, Syn. swot for |
dan | (n) ระดับของทักษะในวิชาศิลปะป้องกันตัว, Syn. dan grade |
dietetics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณและชนิดของอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: วิชากำหนดอาหารเพื่อสุขภาพ, โภชนวิทยา, โภชนบำบัด, Syn. sitology |
dynamics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับพลังงานและการเคลื่อนที่, See also: วิชากลศาสตร์ |
economics | (n) วิชาเศรษฐศาสตร์ |
educator | (n) นักการศึกษา, See also: นักวิชาการศึกษา, Syn. instructor, pedagogue |
egghead | (n) ผู้มีปัญญา (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนฉลาดมากและสนใจแต่เรื่องวิชาการ, Syn. intellectual, sage |
Egyptology | (n) วิชาเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวัตถุโบราณของอียิปต์ |
elective | (n) วิชาเลือก, See also: สาขาวิชาที่เปิดให้เลือก |
electronics | (n) วิชาอิเล็กทรอนิกส์ |
electrostatic | (adj) เกี่ยวกับวิชาไฟฟ้าสถิต |
electrostatics | (n) วิชาไฟฟ้าสถิต |
embryology | (n) วิชาว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตและพัฒนาการ |
encyclopedia | (n) สารานุกรม, See also: หนังสือที่รวมความรู้หลายสาขาวิชา |
endocrinology | (n) วิชาแพทย์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ |
entomology | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับแมลง, See also: กีฏวิทยา |
esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics |
etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, See also: วิชาที่ว่าด้วยกำเนิดและการพัฒนาของคำ |
forestry | (n) การทำป่าไม้, See also: วิชาการป่าไม้ |
fricative | (n) พยัญชนะที่มีเสียงเสียดแทรกจากฐานกรณ์ (ในวิชาภาษาศาสตร์), Syn. spirant |
go into | (phrv) เข้าร่วม (กลุ่ม), See also: เริ่มเข้าสู่ ธุรกิจ, วิชาชีพ, Syn. be in |
geophysical | (adj) เกี่ยวกับวิชาธรณีฟิสิกส์ |
geophysics | (n) ธรณีฟิสิกส์, See also: ภูมิศาสตร์กายภาพ, วิชาฟิสิกส์ที่ว่าด้วยพื้นดินและโลก |
gunnery | (n) วิชาปืนใหญ่, See also: วิชาว่าด้วยการสร้างและใช้ปืน, การยิงปืนใหญ่, Syn. bettery, artillery |
honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ |
honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ |
hydrodynamics | (n) วิชาที่เกี่ยวกับแรงของการเคลื่อนไหวของของเหลว |
hygrometry | (n) สาขาวิชาที่เกี่ยวกับการวัดความชื้นของอากาศ |
interdisciplinary | (adj) ซึ่งรวมกันสองสาขาวิชาขึ้นไป, See also: แบบสหวิทยาการ |
journalism | (n) วารสารศาสตร์, See also: การสื่อสารมวลชน, วิชาว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์และวารสาร |
jurisprudence | (n) ศาสตร์เกี่ยวกับกฎหมาย, See also: นิติศาสตร์, หลักวิชากฎหมาย |
juristic | (adj) เกี่ยวกับนักกฎหมายหรือหลักวิชากฎหมาย, Syn. juridical |
law | (n) วิชากฎหมาย, See also: นิติศาสตร์ |
liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ |
math | (n) คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์), See also: เลข, Syn. mathematics |
mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math |
maths | (n) วิชาคณิตศาสตร์ |
Hope Dictionary
accounting | (อะเคา' ทิง) n. ทฤษฎีระบบการทำบัญชี, วิชาการทำบัญชี |
acoustics | (อะคู' สทิคซฺ) n. วิชาที่ว่าด้วยเสียง, โสตศาสตร์, ประสิทธิภาพของห้องที่มีต่อเสียง |
aeromedicine | (แอโรมิแมค' ดิซิน) n. วิชาแพทย์ทางอากาศ. -aeromedical adj. |
analytical geometry | วิชาเรขาคณิตที่นำเอาวิธีการทางพีชคณิตมาใช้ ว่าด้วยการจำแนกจุด เส้นและเนื้อที่ (a branch of mathematics) |
anesthesiology | (แอนเนสธีซิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา, วิสัญญีวิทยา, Syn. anaesthesiology |
angiology | (แอลขิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับหลอดโลหิตและหลอดน้ำเหลือง |
animal husbandry | การเลี้ยงสัตว์, วิชาเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์, สัตวบาล. -animal husbandman n. |
anthropologist | (แอนโธรพอล' โลจิสทฺ) n. มนุษย์วิทยา, ผู้เชี่ยวชาญวิชามนุษย์วิทยา |
architectonics | (อาร์คิเทคทอน'นิคซฺ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง |
architecture | (อาร์คิเทค'เชอะ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง, สิ่งปลูก สร้าง, ผลงานทางสถาปัตยกรรม, โครงสร้าง. |
area | (แอ'เรีย) n. พื้นที่, เนื้อที่, อาณาบริเวณ, เขต, สาขาวิชา, Syn. section, space, field, zone |
art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness |
artillery | (อาร์ทิล'เลอรี) n. ปืนใหญ่กองทหารปืนใหญ่, วิชาเกี่ยวกับการใช้ปืนใหญ่ |
astrogeology | (แอสโทรจีออล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดาวนพเคราะห์ ดวงดาวและวัตถุอื่นในอวกาศ (astro-geology) |
audit | (ออ'ดิท) n. การตรวจสอบบัญชี, บัญชี, การไตร่สวนคดี. -vt. ตรวจสอบบัญชี, เข้าฟัง (วิชาที่ไม่เอาคะแนน), Syn. examine, check |
auditor | (ออ'ดิเทอะ) n. ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้ฟัง, นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาที่ไม่เอาคะแนน |
auxology | (ออคซอล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต |
aviation | (เอวิเอ' เชิน) n. วิธีการบิน, วิชาการบิน, การออกแบบ พัฒนาและสร้างเครื่องบิน (flying) |
bookkeeping | n. วิชาการทำบัญชี, การทำบัญชี |
branch | (เบรานชฺ) { branched, branching, branches } n. กิ่งก้าน, กิ่ง, สาขา, แขนง, วิชาย่อย, ทางแยก, สายย่อย, แคว vt. แตกกิ่งก้านสาขา, , Syn. bough แยกแตกกิ่ง1. หมายถึง การแยกตัวออกไปจากโปรแกรมที่ทำอยู่ ไปทำโปรแกรมอีกอันหนึ่ง เช่น แยกออกจากโปรแกรมหลัก main program ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram ตามคำสั่ง Go to2. ความหมายที่ใช้กับ "ต้นไม้" tree มีความหมายถึงการแตกกิ่งก้านสาขา เช่นในการแสดงแฟ้มข้อมูลในโปรแกรม Windows Explorer ของ Windows 95 |
cant | (แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy |
capable | (เค'พะเบิล) adj. ซึ่งสามารถ, มีฝีมือ, มีสติปัญญา, มีวิชา., See also: capabililty n. ดู capable, Syn. able |
cartography | n. การสร้างแผนที่, วิชาการทำแผนที่หรือแผนภาพ., See also: cartographer n. ดูcartography cartographic adj. ดูcartography cartographical adj. ดูcartography, Syn. chartography |
chemical | (เคม'มิเคิล) n. สารเคมี'-adj. เกี่ยวกับวิชาเคมีหรือสารเคมี |
chemistry | (เคม'มิสทรี) n. วิชาเคมี |
chiromancy | n. วิชาดูเส้นลายมือการดูดวงจากเส้นลายมือ |
chronology | (คระนอล'ละจี) n. วิชาลำดับวันเดือนปี |
civics | (ซิฟ'วิคซฺ) n. วิชาหน้าที่พลเมือง |
coeffecient | n. เลขคูณ, ค่าคงที่หรือค่าสัมประสิทธิ์ (ในวิชาฟิสิกส์) adj. ร่วม |
computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
concentration | (คอนเซินเทร'เชิน) n. ความเข้มข้น, ระดับความเข้มข้น, ความตั้งอกตั้งใจ, ภาวะที่เข้มข้น, สิ่งที่เข้มข้น, การรวมพล, ความใส่ใจในสาขาวิชาหนึ่ง, Syn. convergence, mass, Ant. scattering |
conchology | (คองคอล'โลจี) n. วิชาว่าด้วยสัตว์ประเภทหอย |
constitutional law | n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ |
conversazione | (คอนเวอซาซิออ'นี่) n. การชุมนุมเพื่อสนทนาแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น (โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องวิชาการหรือศิลปะวรรณกรรม) |
cosmology | (คอซมอล'ละจี) n. จักรวาลวิทยา, สาขาวิชาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับโครงสร้างและการกำเนิดของจักรวาล, See also: cosmologic adj. ดูcosmology cosmological adj. ดูcosmology cosmologist n. ดูcosmology |
course | (คอร์ส) { coursed, coursing, courses } n. เส้นทาง, วิถีทาง, แนวทางเดิน, แนวทางปฏิบัติ, แนวความคิด, ลำน้ำ, สาย, หลักสูตร, กระบวนวิชา, ช่วงระยะเวลาการรักษา, จานหนึ่ง (อาหาร) , ชุดหนึ่ง (ยา, การบรรยาย) , ระดู, การไล่ล่า (โดยสุนัขล่าเนื้อ) vt. วิ่งผ่าน, วิ่งข้าม, ไล่, ไล่ตาม, ไล่ล่า, ก่ |
craft | (คราฟทฺ) { crafted, crafting, crafts } n. ความเชี่ยวชาญ, ความชำนาญ, ฝีมือทางช่าง, การช่าง, อาชีพ, เล่ห์เหลี่ยม, สมาคมวิชาชีพ, เรือ, ยาน, ยานอวกาศ. vt. ประดิษฐ์ด้วยฝีมือ, Syn. art, skill, ability |
credit | (เครด'ดิท) { credited, crediting, credits } n. ความน่าไว้วางใจ, ความเชื่อถือ, ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติภูมิ, ฐานะ, หลักฐาน, สินเชื่อ, การเชื่อของ, เงินสินเชื่อ, เงินคงเหลือในธนาคาร, บัญชีรายรับ, หน่วยกิตวิชา, หนังสือรับรองสินเชื่อ vt. เชื่อถือ, ไว้วางใจ, เลื่อมใส, นำชื่อ |
cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้ |
didactic | adj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic |
didactical | adj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic |
dietetics | (ไดอิเทท'ทิคซฺ) n. โภชนาการ, วิชาว่าด้วยการควบคุมอาหารการกินและการเตรียมอาหารพิเศษ, See also: dietetic adj. ดูdietetics dietical adj. ดูdietetics |
differential | (ดิฟฟะเรน'เชิน) adj., n. เกี่ยวกับความแตกต่างกัน, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยอนุพันธ์ (derivative-วิชาคณิตศาสตร์) |
dioptric | adj. เกี่ยวกับวิชาว่าด้วยการหักเหของแสง |
discipline | (ดิส'ซะพลิน) n. วินัย, ระเบียบวินัย, การฝึกฝน, การลงโทษ, สาขาวิชา, ศิลปปฎิบัติ, วินัยทางศาสนา vt. ฝึกฝน, ทำให้มีวินัย, ลงโทษ, แก้ไข., See also: discipliner n., Syn. order |
drop-out | n. นักเรียนที่ถอนการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง, ผู้ที่เลิกเรียนเมื่อครบอายุ, การถอนออกกลางคัน, ผู้ที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน, Syn. quitter |
dropout | n. นักเรียนที่ถอนการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง, ผู้ที่เลิกเรียนเมื่อครบอายุ, การถอนออกกลางคัน, ผู้ที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน, Syn. quitter |
Nontri Dictionary
academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา |
academician | (n) นักวิชาการ |
acoustics | (n) เสียงสะท้อน, การได้ยิน, วิชาเสียง |
aeronautics | (n) วิชาการบิน |
area | (n) พื้นที่, เขต, เนื้อที่, บริเวณ, สาขาวิชา |
aviation | (n) การบิน, วิชาการบิน, วิธีการบิน |
branch | (n) กิ่งไม้, สาขา, แขนง, แถว, ปลีกย่อย, แผนก, ทางแยก, วิชาย่อย |
chemistry | (n) วิชาเคมี |
civics | (n) วิชาหน้าที่พลเมือง |
course | (n) เส้นทางเดินเรือ, ทางเดิน, หลักสูตร, กระบวนวิชา, อาหารมื้อหนึ่ง |
cram | (vi) กวดวิชา |
electricity | (n) ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, ประจุไฟฟ้า, วิชาไฟฟ้า |
elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง |
entomology | (n) กีฏวิทยา, วิชาว่าด้วยแมลง |
erudite | (adj) คงแก่เรียน, ขยันเรียน, ซึ่งมีวิชาความรู้สูง |
etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, วิชาว่าด้วยประวัติที่มาของคำ |
eugenics | (n) สุพันธุศาสตร์, วิชาว่าด้วยการส่งเสริมมนุษยชาติให้ดีขึ้น |
forestry | (n) วนศาสตร์, วิชาการป่าไม้ |
gymnastics | (n) พลศึกษา, กายกรรม, วิชายิมนาสติก, การบริหารร่างกาย, วิชายืดหยุ่น |
handcraft | (n) การช่าง, การฝีมือ, วิชาช่าง, งานช่าง, งานฝีมือ, งานหัตถกรรม |
handicraft | (n) การช่าง, การฝีมือ, วิชาช่าง, งานช่าง, งานฝีมือ, งานหัตถกรรม |
major | (n) พันตรี, วิชาเอก, คนส่วนมาก, ผู้บรรลุนิติภาวะ |
minor | (n) เด็ก, เยาวชน, ผู้เยาว์, วิชารอง |
pedagogy | (n) การสอน, หน้าที่ครู, วิชาครู |
phonics | (n) วิชาว่าด้วยเสียงพูด |
physic | (n) วิชาแพทย์, แพทย์ศาสตร์, ยาถ่าย, ยาระบาย, ยา, เวชภัณฑ์ |
physics | (n) วิชาฟิสิกส์ |
politics | (n) การเมือง, รัฐศาสตร์, รัฐประศาสโนบาย, วิชาการปกครอง |
polytechnic | (adj) เกี่ยวกับวิชาหลายประเภท, เกี่ยวกับการสอนหลายภาษา |
profession | (n) อาชีพ, วิชาชีพ, การปฏิญาณตัว, การแสดงตัว, การยอมรับ |
professional | (adj) ในวิชาชีพ, เป็นอาชีพ, เชี่ยวชาญ |
psychiatry | (n) วิชาโรคจิต, จิตเวชศาสตร์ |
scholar | (n) นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ได้รับทุน, นักวิชาการ |
scholarly | (adj) คงแก่เรียน, เป็นนักศึกษา, เป็นนักวิชาการ |
soldiery | (n) กองทหาร, วิชาการทหาร, เหล่าทหาร |
subject | (n) เรื่อง, คนในบังคับ, ประธาน, วิชา, หัวข้อ |
syllabus | (n) ประมวลวิชา, หัวข้อย่อๆ, หลักสูตร, สาระสำคัญ, บทสรุป |
technicality | (n) หลักวิชา, ลักษณะเฉพาะวิชา, ลักษณะเทคนิค |
technique | (n) ศิลปะ, วิธีการ, หลักวิชา, เทคนิค, ฝีมือ |
technology | (n) วิชาเทคนิค, เทคโนโลยี, วิชาช่าง, วิชาการ |
theology | (n) ศาสนศาสตร์, วิชาเปรียญ, เทววิทยา |
theoretic | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา |
theoretical | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา |
tutor | (vt) ฝึก, รับจ้างกวดวิชา, สอนพิเศษ, ติวให้ |
tutorial | (adj) เกี่ยวกับการสอน, เกี่ยวกับการกวดวิชา |
woodcraft | (n) ความรู้ในการเดินป่า, วิชาแกะสลักไม้, วิชาช่างไม้ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) |
chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม |
Discipline | [ดิสซะพลิน] (n) วิชา, สาขา, วงการ |
ecohydrology | [UK [ ˌɛkəʊhaɪˈdrɒlədʒi ], US [ ˌɛkoʊhaɪˈdrɑːlədʒi ]] (n, uniq) น. นิเวศนุกวิทยา - วิชาที่ว่าด้วยระบบน้ำที่มีอยู่ในโลกและระบบนิเวศ (eco + hydrology: นิเวศ + อุทกวิทยา) |
Experience compared individual subject | รายวิชาที่เทียบประสบการณ์ |
home economics | (n) วิชาการเรือน |
inclined | (n) คนที่มีพรสวรรค์หรือมีความสนใจในวิชาหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ |
knowledge management | (n) เป็นวิชาที่ว่าด้วยการจัดการความรู้ มีตัวอักษรย่อ (KM) คือ การจัดการความรู้ในองค์กรไม่ให้หายไป (สมองไหล) - เมื่อมีสมาชิกในองค์กรคนหนึ่งคนใดหายไปเพื่อไม่ให้ความรู้หายไปด้วย |
Life Saver | [ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ |
Life Saving | [ชีพรักษ์ (ชีบ-พะ-รัก)] (n, name, org) น. วิชาการที่เกี่ยวกับการป้องกัน และช่วยชีวิตบุคคลที่ตกน้ำ หรือผู้ที่ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ saving - การรักษา หรือ การช่วยเหลือ |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
lifesaver | [ชีพ-พะ-รัก-สิก] (n) ชีพรักษิก = ผู้ที่มีความรู้ในเรื่องการช่วยชีวิตทางน้ำ การปฐมพยาบาล การนวดหัวใจผายปอด แต่มิได้เป็นที่ประกอบวิชาชีพ ชีพบาล โดยตรง |
lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard |
lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ |
oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) |
professional allowance | เงินวิชาชีพ |
reserved officers' training corps | ร.ด., รักษาดินแดน, นักศึกษาวิชาทหาร |
rheology | (n) วิชาที่เกี่ยวกับของไหล[ วิทยาศาสตร์ ] ของกึ่งเหลวกึ่งแข็งหรือหนืดๆ |
unaccompany | [อันอะคัม\'พะนีด์] (adj) ตามลำพัง, ไม่มีเพื่อน, (ดนตรีบรรเลง)เดี่ยว ที่มา: ฝ่ายวิชาการภาษาอังกฤษ บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), See also: lonely, alone |
Longdo Approved JP-TH
リハーサル | [りはーさる, riha-saru] (n) การฝึกซ้อม (โดยจะใช้เฉพาะอย่างยิ่งกับ การฝึกซ้อมการบรรยายสำหรับเตรียมการประชุมวิชาการ), See also: S. practice, rehearsal |
学者 | [がくしゃ, gakusha] (n) นักวิชาการ |
学部 | [がくぶ, gakubu] (n) คณะวิชา (ในมหาวิทยาลัย) |
専門 | [せんもん, senmon] (n) วิชาเฉพาะทาง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
工学科 | [こうがくか, kougakuka] (n) ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ |
統計学 | [とうけいがく, toukeigaku] (n) วิชาสถิติ |
忍術 | [にんじゅつ, ninjutsu] (n) วิชานินจา |
補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 |
建築 | [けんちく, kenchiku] (n) สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง |
台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance |
音韻論 | [おんいんろん, on'inron] (n) วิชาที่ว่าด้วยระบบเสียงของภาษา, See also: R. phonology |
軍事訓練 | [ぐんじくんれん, gunjikunren] (n) วิชารักษาดินแดน, ร.ด. |
授業 | [じゅぎょう, jugyou] ~ชั่วโมง, ~คาบ, ~วิชา |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
力学 | [りきがく, rikigaku] TH: วิชากลศาสตร์ EN: mechanics |
動力学 | [どうりきがく, dourikigaku] TH: วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยการเคลื่อนที่ของของแข็ง EN: dynamics |
専門 | [せんもん, senmon] TH: วิชาเอก EN: subject of study |
学会 | [がっかい, gakkai] TH: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ EN: academic meeting |
Longdo Approved DE-TH
Bereich | (n) |der, pl. Bereiche| ขอบข่ายของงาน, ขอบข่ายทางวิชาการ |
unterbelichtet | (adj, slang) ไม่ถนัด หรือ ไม่เก่ง ตัวอย่างการใช้คำ In Mathe bin ich unterbelichtet. = ผมไม่ถนัดวิชาเลข |
wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ |
Bauzeichnung | (n) |die, pl. Bauzeichungen| วิชาเขียนแบบโยธาฯ, งานเขียนแบบโยธาฯ |
Baukonstruktion | (n) |die, pl. Baukonstruktionen| วิชาโครงสร้างโยธาฯ, งานโครงสร้างโยธาฯ |
Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง |
Jura | (n) |die| วิชากฎหมาย, นิติศาสตร์ เช่น Sie studiert Jura. = หล่อนเรียนนิติศาสตร์ |
Vorlesung | (n) |die, pl. Vorlesungen| วิชาหรือชั่วโมงบรรยาย, See also: A. das Praktikum, das Seminar |
Studienfach | (n) |das, pl. Studienfächer| สาขาวิชาที่ศึกษา, คณะที่ศึกษา, Syn. der Studiengang |
erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen |
Gutachter | (n) |der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ |
fördern | (vt) |förderte, hat gefördert, etw.(A)/jmdn.| สนับสนุน, อุปภัมภ์, อุปการะ เช่น Die wissenschaftliche Forschung wird meistens durch die Staat gefördert. งานวิจัยด้านวิชาการส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากทางรัฐ, Syn. unterstützen |
durchfallen | (vi) |fällt durch, fiel durch, ist durchgefallen, in/bei etw.(D)| ไม่ผ่าน, (สอบ)ตก, ไม่ประสบความสำเร็จ เช่น Ist er einmal bei irgendeiner Prüfung durchgefallen? เขาเคยสอบตกวิชาใดวิชาหนึ่งสักครั้งไหม |
Konferenz | (n) |die, pl. Konferenzen| การประชุม, งานสัมมนาทางวิชาการ เช่น Der Professor geht nächste Woche zu einer Konferenz in den Vereinigten Staaten. |
Chemie | (n) |die| เคมี, วิชาเคมี, See also: Related: chemisch |
Soziologie | (n) |die, nur Sg.| วิชาสังคมศาสตร์ |
Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ |
Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife |
Kybernetik | (n) |die, nur Sg.| วิชาที่เกี่ยวกับการติดต่อควบคุมของสัตว์เเละเครื่องจักร, Syn. Regelungstechnik |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Kybernetik { f }; Regelungstechnik { f } | (n) วิชาที่เกี่ยวกับการติดต่อ ควบคุมสัตว์เเล้วเครื่งจักร |
Longdo Approved FR-TH
enseigner | (vt) (donner un cours)สอนวิชาใดวิชาหนึ่ง , (apprendre)สอนให้ทำ |
chimie | (n) |f| สาขาเคมี, วิชาเคมี |
physique | (n) |f| สาขาฟิสิกส์, วิชาฟิสิกส์ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.8652 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม