119 ผลลัพธ์ สำหรับ *การประสาน*
ภาษา
หรือค้นหา: การประสาน, -การประสาน-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
องค์การบริหารส่วนจังหวัด | น. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด โดยทับซ้อนกับพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น มีอำนาจหน้าที่ในการประสานและร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น รวมตลอดทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขตพื้นที่ของตน. (ดู ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบ) |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
synchronisation; synchronization | การประสานเวลา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
synchronisation; synchronization | การประสานเวลา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
occlusal harmony | การประสานของการบดเคี้ยว [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adhesion | ๑. การดึงดูด [ ระหว่างโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน ]๒. การยึดติด, การประสาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
anastomosing | การประสานกัน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
agglutination | ๑. การเกาะกลุ่ม [ มีความหมายเหมือนกับ clumping ]๒. การประสาน (ของแผล) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
MIDI (Musical Instrument Digital Interface) | มิดิ (มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MIDI (Musical Instrument Digital Interface) | มิดิ (มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Musical Instrument Digital Interface (MIDI) | มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล (มิดิ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Musical Instrument Digital Interface (MIDI) | มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล (มิดิ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cementation | การประสาน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
coordination | การประสานงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fusion | ๑. การหลอม๒. การรวมตัว, การเชื่อม, การประสาน๓. (ออร์โท.) การผ่าตัดเชื่อมข้อ๔. (จักษุ.) การรวมภาพเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
interdigitation | การประสาน (อย่างนิ้ว) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Articulation (Education) | การประสานสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษา [TU Subject Heading] |
Harmony | การประสานเสียง [TU Subject Heading] |
Interagency coordination | การประสานงานของส่วนราชการ [TU Subject Heading] |
MIDI (Standard) | มิดิ (มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล) [TU Subject Heading] |
Modular coordination (Architecture) | การประสานทางพิกัด [TU Subject Heading] |
Social integration | การประสานสังคม [TU Subject Heading] |
ASEAN Committee in Beijing | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงปักกิ่ง " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง ปักกิ่ง มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของ อาเซียนในการมีปฏิสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนที่กรุงปักกิ่ง [การทูต] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
ASEAN Committee in Seoul | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโซล ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำ กรุงโซล มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับสาธารณรัฐเกาหลีที่กรุงโซล [การทูต] |
ASEAN-New Delhi Committee | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงนิวเดลี " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง นิวเดลี มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับอินเดียที่กรุงนิวเดลี " [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Coordinating Committee on the Implementation of the CEPT Scheme for AFTA | คณะกรรมการประสานงานการดำเนินงานตามพันธกรณีภายใต้ CEPT ของ AFTA เป็นกรอบการหารือในระดับผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการคลัง เพื่อ ติดตามและประสานงานการดำเนินการตามพันธกรณีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากัน ของเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึ่งปกติจัดขึ้นประมาณปีละ 3-4 ครั้ง [การทูต] |
ASEAN Coordinating Committee on Investment | คณะกรรมการประสานงานด้านการลงทุนของอาเซียน " จัดตั้งขึ้นจากความตกลงพื้นฐานว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) โดยเป็นการประชุมระหว่างรองหัวหน้าหน่วยงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อดูแลและประสานการดำเนินงานตามความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน " [การทูต] |
ASEAN Coordinating Committee on Services | คณะกรรมการประสานงานด้านบริการของอาเซียน [การทูต] |
Japan - Thailand Joint Taks Forc on Counter Trafficking in pesons | คณะทำงานเฉพาะกิจร่วมไทย - ญี่ปุ่นว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ จัดตั้งเมื่อ พ.ศ.2549 เพื่อเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างกัน ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ครอบคลุมความร่วมมือใน 3 เรื่อง ได้แก่ (1) การป้องกันการค้ามนุษย์ ( prevention) (2) การบังคับใช้กฎหมาย (law enforcement) และ (3) การคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ (protection) [การทูต] |
Subcommittee on Neighbouring Countries Economic Development Cooperation | คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS [การทูต] |
Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Asynergia | การขาดการประสานงาน [การแพทย์] |
Ataxia | อะแทกซิอา; อะแทกเซีย, อาการ; การเซ; เคลื่อนไหวเปะปะ; เดินตัวเซ; เดินเซ; อ่อนเพลีย; อาการเดินเซ; การขาดความสามารถในการกะระยะและความสม่ำเสมอนุ่มน; อะแทกเซีย; กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน; อะแท็กเซีย; โรคที่มีอาการเดินเซ; กล้ามเนื้อขาดการประสานงาน [การแพทย์] |
Co-Ordination | การประสานงานกันอย่างสอดคล้อง, การประสานงาน, สหสัมพันธ์ [การแพทย์] |
Co-Ordination, Intersectoral | การประสานงานระหว่างสาขา [การแพทย์] |
Collaboration, Intersectoral | การประสานร่วมมือระหว่างส่วนงาน [การแพทย์] |
Commotio Retinae | การประสานงานกันของโครงสร้างทางเรตินา [การแพทย์] |
Coordination | การร่วมมือประสานงาน, การประสานงาน, การประสานรวมกัน, การใช้กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหว, ความสัมพันธ์ในการทำงานของอวัยวะ, ร่วมมือกันประสานงาน, การทำงานประสานกัน [การแพทย์] |
Exercise, Coordination | การออกกำลังเพื่อทำให้มีการประสานงานของกล้ามเนื้อ, ออกกำลังเพื่อให้มีการประสานงานของกล้ามเนื้อดีขึ้น [การแพทย์] |
Flicker Fusion Frequencies | ความถี่ในการประสานโดยแสงแลบ [การแพทย์] |
Incoordination | การเคลื่อนไหวไม่สละสลวย, ไม่ประสานกัน, กล้ามเนื้อไม่ประสานกัน, ขาดการประสานงาน, การสูญเสียความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหว, การไม่ประสานงาน [การแพทย์] |
Linkage, Cross | การประสาน [การแพทย์] |
Motor Co-ordination | ควบคุมการประสานงาน [การแพทย์] |
Muscle Coordination | การประสานงานของกล้ามเนื้อ [การแพทย์] |
Muscular Co-Ordination | การประสานงานของกล้ามเนื้อ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การประสาน | [kān prasān] (n) EN: coordination |
การประสานกัน | [kān prasān kan] (n, exp) EN: coordination |
การประสานงาน | [kān prasān ngān] (n, exp) EN: coordination |
การประสานงานกัน | [kān prasān ngān kan] (n, exp) EN: coordination |
การประสานเสียง | [kān prasānsīeng] (n) EN: harmony |
คณะกรรมการประสานงาน | [khanakammakān prasān-ngān] (n, exp) EN: coordinating committee FR: comité de coordination [ m ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
coalition | (n) การรวมเป็นหนึ่งเดียว, See also: การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, การประสานกัน, สัมพันธมิตร, Syn. partnership, league, cooperation, combination, solidification |
cohesion | (n) การทำงานร่วมกัน, See also: การประสานกัน, การสอดคล้องกัน, Syn. union |
collision | (n) การชนกัน, See also: การปะทะกัน, การประสานงา, Syn. crash, smash, strike, hit, accident, bump, concussion, impact, crackup |
coordination | (n) การทำงานประสานกัน, See also: การประสานกัน |
harmony | (n) การประสานเสียง |
linkage | (n) การเชื่อมต่อ, See also: การต่อ, การประสาน, การผนึก, การปฏิบัติการร่วมกัน |
polyphonic | (adj) มีหลายเสียง, See also: เกี่ยวกับการประสานเสียง |
synergy | (n) การทำงานร่วมกัน, See also: การประสานกำลังกัน, Syn. cooperation |
Hope Dictionary
abasia | (อะเบ' เชีย) การที่ไม่สามารถจะเดินได้เพราะขาดการประสานกันของกล้ามเนื้อ |
clasp | (คลาสพฺ) { clasped, clasping, clasps } n. เข็มขัด, กลัด, ขอเกี่ยว, กระดุม, ที่หนีบ, การโอดกอด, การจับมือกัน, การประสานกัน, วงแขน, การพันกันแน่น vt. กลัด, กลัดกระดุม, กอด, กำหนีบ, ยึดติด |
coalition | (โคอะลิช'เชิน) n. การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, สัมพันธมิตร, รัฐบาลผสม, การประสานกัน., See also: coalitionist, coalitoiner n., Syn. alliance |
coordination | (โคออร์ดิเน'เชิน) n. ความเสมอกัน, การอยู่ในระดับเดียวกัน, การประสานกัน, ความพร้อมเพรียงกัน, See also: co-ordination n. ดูcoordination, Syn. harmony, cooperation, unity |
harmonistic | (ฮาร์โมนิส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการประสานกัน, |
linkage | (ลิง'คิจฺ) n. การเชื่อมต่อ, การต่อ, การประสาน, การผนึก, การปฏิบัติการร่วมกัน, เครื่องต่อ, ลิ้นร่วม, Syn. union, Ant. breach |
tuning | (ทูน'นิง) n. การปรับเสียง, การปรับเครื่องยนต์, การประสานเสียง, การทำให้เข้ากัน, การทำให้สอดคล้อง |
wedding | (เวด'ดิง) n. การสมรส, พิธีสมรส, การฉลองครบรอบการสมรส, การร่วมกัน, การประสานกัน, Syn. nuptials, marriage |
Nontri Dictionary
clasp | (n) ขอเกี่ยว, เข็มกลัด, การจับมือ, การประสาน, กำมือ |
coalition | (n) การประสานกัน, การรวมกัน, การร่วมมือกัน, รัฐบาลผสม, สัมพันธมิตร |
coordination | (n) การประสาน, การร่วมมือกัน, ความเสมอกัน |
harmony | (n) ความกลมกลืนกัน, การประสาน, ความปรองดอง, ความสามัคคี |
liaison | (n) การติดต่อ, การประสานงาน, การคบกันฉันชู้สาว |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
衝突 | [しょうとつ, shoutotsu] การปะทะกัน, การประสานงา |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
整合 | [せいごう, seigou] TH: การประสานเข้ากัน EN: coordination |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.8388 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม