เรือนเครื่องสับ | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
แขนนาง ๒ | น. เครื่องค้ำยันชายคาเรือนเครื่องสับ ทำด้วยไม้หรือเหล็ก. |
เครื่องผูก | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น ว่า เรือนเครื่องผูก, คู่กับ เรือนเครื่องสับ. |
เครื่องสับ | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้ว่า เรือนเครื่องสับ, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ดั้ง ๑ | เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่ ว่า เสาดั้ง, เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสำหรับรับอกไก่ ว่า ดั้งแขวน |
ฝาสำหรวด | น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง. |
เรือนเครื่องผูก | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น, คู่กับ เรือนเครื่องสับ. |
เรือนฝากระดาน | น. เรือนเครื่องสับ. |
สำหรวด | น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสำหรวด. |
เสาดั้ง | น. เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า. |
เรือนเครื่องสับ | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
แขนนาง ๒ | น. เครื่องค้ำยันชายคาเรือนเครื่องสับ ทำด้วยไม้หรือเหล็ก. |
เครื่องผูก | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น ว่า เรือนเครื่องผูก, คู่กับ เรือนเครื่องสับ. |
เครื่องสับ | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้ว่า เรือนเครื่องสับ, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ดั้ง ๑ | เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่ ว่า เสาดั้ง, เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสำหรับรับอกไก่ ว่า ดั้งแขวน |
ฝาสำหรวด | น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง. |
เรือนเครื่องผูก | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น, คู่กับ เรือนเครื่องสับ. |
เรือนฝากระดาน | น. เรือนเครื่องสับ. |
สำหรวด | น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสำหรวด. |
เสาดั้ง | น. เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า. |