เรือนฝากระดาน | น. เรือนเครื่องสับ. |
เครื่องสับ | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้ว่า เรือนเครื่องสับ, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ด้านรี | น. ด้านยาวของเรือนฝากระดานหรือโบสถ์ วิหาร. |
ด้านสกัด | น. ด้านกว้างของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านกว้างของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง. |
ฝากระดาน | น. เรียกเรือนไทยแบบเก่าที่สร้างด้วยไม้จริง ว่า เรือนฝากระดาน. |
ฝาหุ้มกลอง | น. ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน. |
แม่ฝา | น. ไม้กรอบประกับฝาเรือนฝากระดานทั้ง ๔ ด้าน. |
ไม้กระดาน | น. ไม้ซุงที่เลื่อยออกเป็นแผ่น ๆ สำหรับปูพื้นหรือทำฝาเรือนเป็นต้น, ถ้าใช้ปูพื้น เรียกว่า กระดานพื้น, ถ้าใช้ทำฝา เรียกว่า ไม้ฝา, เรียกเรือนไม้จริงที่ฝาทำด้วยไม้กระดานว่า เรือนฝากระดาน. |
เรือนเครื่องสับ | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ลูกฟัก | น. แผ่นกระดานที่ใส่ในกรอบบานประตูหน้าต่างเป็นต้นของเรือนฝากระดานแบบทรงไทย. |
หุ้มกลอง | (-กฺลอง) น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์ วิหาร, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน เรียกว่า ด้านสกัด. |
เรือนฝากระดาน | น. เรือนเครื่องสับ. |
เครื่องสับ | น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้ว่า เรือนเครื่องสับ, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ด้านรี | น. ด้านยาวของเรือนฝากระดานหรือโบสถ์ วิหาร. |
ด้านสกัด | น. ด้านกว้างของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านกว้างของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง. |
ฝากระดาน | น. เรียกเรือนไทยแบบเก่าที่สร้างด้วยไม้จริง ว่า เรือนฝากระดาน. |
ฝาหุ้มกลอง | น. ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน. |
แม่ฝา | น. ไม้กรอบประกับฝาเรือนฝากระดานทั้ง ๔ ด้าน. |
ไม้กระดาน | น. ไม้ซุงที่เลื่อยออกเป็นแผ่น ๆ สำหรับปูพื้นหรือทำฝาเรือนเป็นต้น, ถ้าใช้ปูพื้น เรียกว่า กระดานพื้น, ถ้าใช้ทำฝา เรียกว่า ไม้ฝา, เรียกเรือนไม้จริงที่ฝาทำด้วยไม้กระดานว่า เรือนฝากระดาน. |
เรือนเครื่องสับ | น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก. |
ลูกฟัก | น. แผ่นกระดานที่ใส่ในกรอบบานประตูหน้าต่างเป็นต้นของเรือนฝากระดานแบบทรงไทย. |
หุ้มกลอง | (-กฺลอง) น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์ วิหาร, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน เรียกว่า ด้านสกัด. |