cell, nerve; neuron; neurone | เซลล์ประสาท [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neuron; cell, nerve; neurone | เซลล์ประสาท [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neurone; cell, nerve; neuron | เซลล์ประสาท [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nerve cell; neuron; neurone | เซลล์ประสาท [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
motoneuron; neuron, motor | เซลล์ประสาทสั่งการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
motor neuron; motoneuron | เซลล์ประสาทสั่งการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neuron, motor; motoneuron | เซลล์ประสาทสั่งการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Cells, Corn, Anterior | เซลล์ประสาทส่วนปลาย [การแพทย์] |
Efferent Neurons | เซลล์ประสาทส่งความรู้สึก, เซลล์ประสาทสั่งการ [การแพทย์] |
neuron | เซลล์ประสาท, เซลล์ในระบบประสาท ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ ตัวเซลล์และ ใยประสาท เซลล์ประสาทมีรูปร่างแตกต่างกันหลายแบบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
unipolar neuron | เซลล์ประสาทขั้วเดียว, เซลล์ประสาทที่มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์เพียงเส้นเดียว เช่น เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
association neuron | เซลล์ประสาทประสานงาน, เซลล์ประสาทชนิดหนึ่งมีอยู่ในสมองและไขสันหลัง ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างเซลล์ประสาทภายในไขสันหลังหรือภายในสมอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
bipolar neuron | เซลล์ประสาทสองขั้ว, เซลล์ประสาทที่มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์ 2 เส้นเช่น เซลล์ประสาทรับกลิ่น เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
motor neuron | เซลล์ประสาทสั่งการ, เซลล์ประสาทที่พบในรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลัง ทำหน้าที่นำกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
multipolar neuron | เซลล์ประสาทหลายขั้ว, เซลล์ประสาทที่มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์มากกว่า 2 เส้น เช่น เซลล์ประสาทสั่งการ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
olfactory neuron | เซลล์ประสาทรับกลิ่น, เซลล์ประสาทภายในเยื่อบุจมูกที่ทำหน้าที่รับกลิ่น แล้วส่งผ่านเส้นประสาทรับกลิ่นไปยังสมอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cone cell | เซลล์รูปกรวย, เซลล์ประสาทในชั้นจอตา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
เซลล์ประสาท | [sel prasāt] (n) EN: neuron FR: cellule nerveuse [ f ] ; neurone [ m ] |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
neuron | (n) เซลล์ประสาท, Syn. nerve cell |
neurone | (n) เซลล์ประสาท, Syn. nerve cell |
axon | (แอค' ซอน) n. แกนของเซลล์ประสาท เป็นที่นำส่งกระแสประสาท. -axonal adj., Syn. neurite |
dendrite | n. กิ่งก้านของเซลล์ประสาท, ลายกิ่งไม้ที่ปรากฎอยู่ในหินแร่ |
neuron | (e) (นิว'รอน, นิวโรน) n. เซลล์ประสาท, See also: neuronic adj. |
interneuron | (n) เซลล์ประสาทประสานงาน |