อนาคามี | น. “ผู้ไม่มาสู่กามภพอีก” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๓ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า พระอนาคา. |
สกทาคามี, สกิทาคามี | (สะกะ-, สะกิ-) น. “ผู้มาสู่กามภพอีกครั้งหนึ่ง” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๒ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า พระสกทาคา หรือ พระสกิทาคา. |
สุทธาวาส | น. ชื่อพรหมโลกซึ่งเป็นที่ที่พระอนาคามีไปเกิด. |
โสดา ๒, โสดาบัน | น. “ผู้แรกถึงกระแสธรรม (พระนิพพาน)” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นต้นใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า พระโสดา. |
อนาคามิผล | น. ธรรมที่พระอนาคามีได้บรรลุ. (ป.; ส. อนาคามินฺ + ผล). (ดู ผล). |
อนาคามิมรรค | น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระอนาคามี. (ส. อนาคามินฺ + มารฺค; ป. อนาคามิมคฺค). (ดู มรรค). |
อรหันต-, อรหันต์ | (อะระหันตะ-, ออระหันตะ-, อะระหัน, ออระหัน) น. ชื่อพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ เรียกว่า พระอรหันต์. (ศัพท์นี้ใช้ อรหา หรือ อรหัง ก็มี แต่ถ้าใช้เป็นคำวิเศษณ์หรืออยู่หน้าสมาสต้องใช้ อรหันต). |
อนาคามี | น. “ผู้ไม่มาสู่กามภพอีก” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๓ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า พระอนาคา. |
สกทาคามี, สกิทาคามี | (สะกะ-, สะกิ-) น. “ผู้มาสู่กามภพอีกครั้งหนึ่ง” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๒ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า พระสกทาคา หรือ พระสกิทาคา. |
สุทธาวาส | น. ชื่อพรหมโลกซึ่งเป็นที่ที่พระอนาคามีไปเกิด. |
โสดา ๒, โสดาบัน | น. “ผู้แรกถึงกระแสธรรม (พระนิพพาน)” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นต้นใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า พระโสดา. |
อนาคามิผล | น. ธรรมที่พระอนาคามีได้บรรลุ. (ป.; ส. อนาคามินฺ + ผล). (ดู ผล). |
อนาคามิมรรค | น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระอนาคามี. (ส. อนาคามินฺ + มารฺค; ป. อนาคามิมคฺค). (ดู มรรค). |
อรหันต-, อรหันต์ | (อะระหันตะ-, ออระหันตะ-, อะระหัน, ออระหัน) น. ชื่อพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ เรียกว่า พระอรหันต์. (ศัพท์นี้ใช้ อรหา หรือ อรหัง ก็มี แต่ถ้าใช้เป็นคำวิเศษณ์หรืออยู่หน้าสมาสต้องใช้ อรหันต). |