Genetically Modified Organisms | สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม, Example: <p>สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms - GMOs) คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการตัดต่อยีนที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติที่ดีตามต้องการ เช่น การดัดแปลงพันธุกรรมของพืชให้มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืชหรือสามารถเจริญอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การดัดแปลงพันธุกรรมของจุลินทรีย์ให้สามารถผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม ถึงแม้เทคโนโลยีนี้จะมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ก็เกิดคำถามถึงความปลอดภัยของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และสุขอนามัยของประชาชน ดังนั้นจึงมีกฎหมายและคณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพมากำกับดูแลตั้งแต่การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ตลอดจนถึงการบริโภคสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมและการเพาะปลูกสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม <p> <p>กฎหมายทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 <p>- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 <p>- พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2544 <p>- พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 <p>- ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ <p>- แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Guidelines) <p> <p>คณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง <p>- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง <p>- กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา <p>- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ <p>- กระทรวงอุตสาหกรรม ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม <p>- กระทรวงพาณิชย์ ได้แก่ กรมการค้าต่างประเทศ <p>- คณะกรรมการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของแต่ละสถาบัน (Institutional Biosafety Committee - IBC) <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. (2551). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) และความปลอดภัยทางชีวภาพ. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. <br> <br>Technical Biosafety Committee. (2010). Updated Status and Perspective of Thailand on Research and Development of Modern Biotechnology and Biosafety Regulation. 3 rd ed. Pathumthani : National Center for Genetic Engineering and Biotechnology. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chimera | ไคมีรา, สิ่งมีชีวิตที่มีเนื้อเยื่อบางส่วนประกอบด้วยเซลล์ที่มีความแตกต่างทางพันธุกรรมมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น ต้นไม้ที่มีใบด่าง [นิวเคลียร์] |
Mutant | พันธุ์กลาย, ผลจากการกลาย, สิ่งมีชีวิตที่สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เกิดการกลายพันธุ์ขึ้นหนึ่งลักษณะหรือมากกว่า สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นถัดไป และสังเกตเห็นผลที่เกิดจากการกลายพันธุ์ได้ [นิวเคลียร์] |
Exotic marine organisms | สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นทางทะเล [TU Subject Heading] |
Introduced organisms | สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น [TU Subject Heading] |
Life on other planets | สิ่งมีชีวิตบนดาวเคราะห์อื่น [TU Subject Heading] |
Protozoa | สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว [TU Subject Heading] |
Transgenic organisms | สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Life in Marine Ecosystem | สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทางทะเล, Example: เนื่องจากระบบนิเวศทางทะเลมี พื้นที่กว้างขวางมาก ดังนั้นจึงพบสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ Pleustic organism, Pelagic organism และ Benthic organism ดู Pleustic organism หรือ Pelagic organism หรือ Benthic organism เพิ่มเติม [สิ่งแวดล้อม] |
Life in Freshwater Ecosystem | สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน้ำจืด, Example: สามารถจำแนกตามแหล่งที่อยู่อาศัยได้ 5 กลุ่ม คือ Benthos, Periphyton, Plankton, Nekton และ Neuston ดู Benthos หรือ Periphyton หรือ Plankton หรือ Nekton หรือ Neuston เพิ่มเติม [สิ่งแวดล้อม] |
GMO | (n) สิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงด้วยการตัดต่อทางพันธุกรรม ย่อมาจาก genetically modified organism |
transgenic | (adj, jargon) ที่ถูกตัดต่อพันธุกรรม โดยเฉพาะการตัดต่อสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ เช่น ยีนเรืองแสงของแมงกระพรุนมาใส่ในหนูให้หนูเรืองแสง เป็นต้น |
biosphere | (n) ชีวมณฑล, พื้นที่และชั้นบรรยากาศของโลกที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ |
physiological | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |
physiology | (n) กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |
physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
aerobe | (n) สิ่งมีชีวิต, See also: สิ่งที่มีชีวิตอยู่ได้โดยต้องอาศัยออกซิเจน |
clone | (n) สิ่งมีชีวิตที่เกิดมาจากเซลล์เดียวกัน |
creature | (n) สิ่งมีชีวิต (คน, สัตว์), Syn. animal, animate being |
extraterrestrial | (n) สิ่งมีชีวิตที่มาจากนอกโลก, See also: มนุษย์ต่างดาว, Syn. alien |
homo | (n) สิ่งมีชีวิตที่มีสายพันธุ์เดียวกับมนุษย์ |
life | (n) สิ่งมีชีวิต, Syn. living things |
microbe | (n) จุลินทรีย์, See also: สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่ทำให้เกิดโรค, เชื้อโรค, Syn. bacillus, bacteria, bacteriam |
mite | (n) เด็กน้อย (คำไม่เป็นทางการ), See also: สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก, สัตว์ขนาดเล็กๆ, สิ่งของขนาดเล็ก |
organism | (n) สิ่งมีชีวิต, Syn. creature, being |
plankton | (n) สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากในน้ำ |
abiogenesis | (เอ' บิโอเจน' นิซิส) n. การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิต, การเกิดขึ้นเอง. -abiogenetic adj. (spontaneous generation) |
abiosis | (เอ' ไบโอ' ซิส) n. การไร้ชีวิต, ภาวะที่ไม่มีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิต. -abiotic adj. |
active immunity | การเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง |
aerobe | (แอ' โรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ต้องอาศัยออกซิเจนในการดำรงชีพ |
allograft | (แอล' โลกราฟทฺ' , -แกรฟทฺ) n. homograft, การย้ายปะตอนของเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะจากสิ่งมีชีวิตไปยังอีกสิ่งมีชีวิตที่เป็นพันธุ์เดียว (species) กัน |
allometry | (อะลิม' มิทรี) n. การเจริญเติบโตของส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตทั้งหมดหรือบางส่วนของสิ่งมีชีวิตนั้น, การวัดหรือสึกษาการเจริญเติบโตแบบนี้., Syn. alloimetry -allometric, alloiometric adj. |
amalgamation | (อะแมลกะเม' เชิน) n. การรวมกับปรอท, ผลที่เกิดจากการรวมกับปรอท, การรวมบริษัทกัน, การร่วมกันทางชีวภาพของเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต, การสกัดโลหะจากแร่ด้วยปรอท (union, blend) |
anabolism | (อะแนบ' โบลิสซึม) n. การสังเคราะห์สารเชิงช้อนจากสารที่เชิงช้อนน้อย กว่าในสิ่งมีชีวิต |
anaerobe | (แอนแอ' โรบ , แอน' นะโรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ไม่ต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการหายใจ (not requiring air) |
anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด |
Lebewesen | (n) |das| สิ่งมีชีวิต, See also: die Kreatur |
lebensfeindlich | (adj) ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต, See also: A. lebensfreundlich |
Schöpfung | (n) |die| การก่อเกิดของสิ่งมีชีวิต(เชิงศาสนา) |
Physiologie | (n) |die, nur Sg.| กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |
Physiologie | (n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา |
physiologisch | (adj, adv) ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |
Fortbewegung | (n) |die, pl. Fortbewegungen| การเคลื่อนที่(ของสิ่งมีชีวิตหรือยานพาหนะ), การขับเคลื่อน เช่น Liegeverhalten und Fortbewegung von Sau und Ferkeln., Obwohl die Stadt flach ist sind Inline-Skates eindeutig nicht für die Fortbewegung in Adelaide geeignet. |
Nachkomme | (n) |der, pl. Nachkommen| ลูก ทายาทของสิ่งมีชีวิต เช่น Die Forscher gehen davon aus, dass die Muttertiere das Verhalten ihrer Nachkommen über die Abgabe unterschiedlicher Mengen von Sexualhormonen ins Ei beeinflussen können. |