วาร | (n) day, Thai Definition: วันหนึ่งๆ ในสัปดาห์, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วาระ | (n) time, See also: occasion, period, Syn. วาร, Example: ผมต้องขอความช่วยเหลือจากท่านอีกวาระหนึ่ง, Thai Definition: เวลาที่กำหนดแน่นอน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วารุณ | (n) nectar, See also: flower water, flower juice, Syn. น้ำดอกไม้, Notes: (ชวา) |
วารสาร | (n) journal, See also: periodical, Example: ไม่นานมานี้มีบทความในวารสารทางการแพทย์ได้วิจารณ์ในเรื่องนี้แล้ว, Thai Definition: หนังสือที่ออกเป็นคราวๆ |
วารุณี | (n) Goddess of Wine, See also: Goddess of Liquor, Count Unit: องค์, Thai Definition: เทวีแห่งเหล้า, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วารุณี | (n) liquor, See also: wine, strong drink, Syn. เหล้า, ของมึนเมา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วารดิถี | (n) auspicious day/occasion, Example: ในวารดิถีอันเป็นมิ่งมงคลนี้ ข้าพเจ้าขอเปิดผ้าคลุมพระบรมรูป ณ บัดนี้, Thai Definition: วาระซึ่งเป็นวันทางจันทรคติ |
วาระสุดท้าย | (n) doom, Example: เขาเข้าวัดสงบจิตใจเพราะรู้ว่าวาระสุดท้ายใกล้มาถึงแล้ว, Thai Definition: เวลาสิ้นสุดของการมีวิตอยู่หรือการคงอยู่ |
วารสารศาสตร์ | (n) journalism, See also: newspaper, Syn. วิชาวารสารศาสตร์, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และ การพิมพ์ประเภทอื่นๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
Periodical | วารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Abstract bulletin | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstract journal | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstract periodical | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bound periodicals | วารสารเย็บเล่ม, Example: <p>วารสารเย็บเล่ม เป็นงานที่ทำต่อเนื่องจากการบริหารจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา (วารสารฉบับเก่า) คือ การนำวารสารฉบับปีพิมพ์เก่ามาทำการรวมเล่มเข้าด้วยกัน โดยจะไม่นำวารสารปีพิมพ์ปัจจุบันมาเย็บเล่ม เพราะผู้ใช้บริการยังต้องการใช้อยู่ สาเหตุที่ต้องเย็บเล่มวารสาร วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการให้มีรูปเล่มที่คงทน หยิบใช้งานง่าย และสะดวกต่อการค้นหา อาจพบปัญหาบ้างในกรณีทำสำเนา ที่ไม่ค่อยชัดเจน เนื่องจากติดที่สันที่เย็บเล่มไว้ <p>การเตรียมวารสารส่งเย็บเล่ม มีวิธีและขั้นตอนโดยสรุป ดังนี้ <p>1. รวบรวมวารสาร เมื่อได้รับวารสารครบปีแล้ว ห้องสมุดจะสำรวจว่ามีวารสารชื่อใดบ้างที่จะนำมาเย็บเล่ม <p>2. ก่อนการเย็บเล่มควรตัดหน้าที่ไม่จำเป็นออก เพื่อให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้ง่ายขึ้น รูปเล่มไม่ควรหนาเกิน โดยนำสารบัญของวารสารแต่ละฉบับมาเรียงรวมกันไว้ด้านหน้า หากมีดัชนีจะจัดเรียงไว้ท้ายเล่มเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น <p>3. รูปแบบการจัดเรียงวารสารส่งเย็บเล่ม คือ ปกฉบับแรกของเล่ม ถ้าต้องการเย็บเล่มวารสารฉบับที่ 1–2 จะเก็บเฉพาะปกฉบับที่ 1 ส่วนฉบับอื่น ๆ จะเก็บเฉพาะหน้าสารบัญ แล้วจัดเรียงส่วนอื่นตามลำดับ คือ สารบัญ เนื้อหา และดัชนี <p>4. การจัดทำทะเบียนวารสารเย็บเล่ม เพื่อให้ทราบว่ามีวารสารฉบับใดบ้างที่อยู่ในระหว่างการเย็บเล่ม <P>5. การตรวจรับวารสารเย็บเล่ม ตรวจสอบการจัดเรียงเนื้อหาให้ถูกต้อง <p>6. การให้บริการ นำวารสารเย็บเล่มขึ้นชั้นให้บริการที่ชั้นวารสารเก่า และเปลี่ยนสถานะของวารสารด้วยคำว่า Bound เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้และผู้ปฏิบัติงานทราบ <p>กระบวนการจัดส่งวารสารเย็บเล่ม ห้องสมุดจะมีรายชื่อบริษัท ร้านค้า ที่ทำธุรกิจด้านนี้โดยเฉพาะ ซึ่งต้องมีการประเมินเรื่องคุณภาพและระยะเวลาการส่งมอบงาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Electronic journal | วารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ วารสารทางวิชาการที่ผลิตและเผยแพร่สู่ผู้ใช้โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวารสารที่ห้องสมุดบอกรับโดยเสียค่าบริการเพื่อให้ผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารนิเทศได้รวดเร็วในเวลาเดียวกันหลายคน โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ สามารถจัดหาได้เมื่อต้องการ ( Acquisition on Demand) และมีบริการจัดส่งบทความ (Document Delivery) เมื่อมีผู้ต้องการสั่งซื้อทาง E - mail หรือ Fax หรืออื่นๆได้ตามต้องการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นพัฒนาการของวารสารที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน <p>ข้อดีของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ผู้ใช้สามารถติดตามอ่านวารสารได้อย่างรวดเร็ว ทันทีที่วารสารมีการจัดพิมพ์ เนื่องจากสำนักพิมพ์จัดพิมพ์แบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำให้เผยแพร่สู่ผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว</ol> <ol>2. ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลา โอกาส และ สถานที่</ol> <ol>3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเย็บเล่มวารสาร การเสียแรงงานบุคลากรในการเตรียมวารสารก่อนส่งเย็บเล่มและหลังการเย็บเล่ม</ol> <ol>4. ช่วยแก้ปัญหาการได้รับวารสารไม่ครบ วารสารถูกฉีกขาด</ol> <ol>5. ช่วยแก้ปัญหาสถานที่เก็บ ไม่มีปัญหาการเพิ่มน้ำหนักพื้นที่ของห้องสมุด</ol> <p>ข้อจำกัดของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ค่าใช้จ่ายในการบอกรับ แต่ละสำนักพิมพ์จะกำหนดค่าบอกรับแตกต่างกัน เช่น บางสำนักพิมพ์เมื่อบอกรับวารสารฉบับพิมพ์จะให้สิทธิ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ บางสำนักพิมพ์แยกราคากันระหว่างฉบับพิมพ์กับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ </ol> <ol>2. ลิขสิทธิ์ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ชัดเจนเช่นกฎหมายลิขสิทธิ์ของสิ่งพิมพ์</ol> <ol>3. วารสารย้อนหลัง การจัดเก็บวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับย้อนหลังยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ห้องสมุดที่บอกรับหารูปแบบ วิธีการจัดเก็บเอง หรือบริษัทเป็นผู้จัดทำ</ol> <ol>4. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส็ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ ความล่าช้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์และผู้ใช้ขาดความเข้าใจในวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนปัญหาของข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกัน King (1991 : 5-6) กล่าวว่า ประมาณปี 2006 จะมีการเปลี่ยนแปลงอีกมากในการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการนำส่งข้อมูลเข้าห้องสมุด ในขณะที่สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงมีใช้อยู่ แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างไป โดยความคิดนี้ตรงกับความเห็นของ McKnight (1993 : 9) และ Piternick (1989 b : 96) ที่กล่าวว่า วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์จะมีการใช้ต่อไป ในขณะที่การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเสมือนเส้นขนานมากกว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาแทนที่ นักวิชาการและนักวิจัยจะใช้เวลาเล็กน้อยในห้องสมุด เพราะสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากคอมพิวเตอร์ หรือจาก Workstation จากที่ห่างไกลได้</ol> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Journal | วารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Periodical | วารสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Youths' periodicals | วารสารสำหรับเยาวชน [TU Subject Heading] |
Women's Periodicals | วารสารสำหรับสตรี [TU Subject Heading] |
วารดิถี | [wāradithī] (n) EN: occasion ; day |
วารสาร | [wārasān] (n) EN: magazine ; journal ; periodical FR: magazine [ m ] ; périodique [ m ] ; journal [ m ] |
วารสารศาสตร์ | [wārasānsāt] (n) EN: journalism FR: journalisme [ m ] |
วาระ | [wāra] (n) EN: time ; occasion ; period ; day ; time ; round FR: fois [ f ] ; occasion [ f ] ; période [ f ] ; temps [ m ] |
วาระ | [wāra] (n) EN: destiny ; doom ; death FR: destin [ m ] ; perte [ f ] |
วาระการประชุม | [wāra kān prachum] (n, exp) EN: agenda [ m ] FR: agenda [ m ] |
วาระซ่อนเร้น | [wāra sønren] (n, exp) EN: hidden agenda |
วาระที่หนึ่ง | [wāra thī neung] (n, exp) EN: the first item on the agenda |
วาระสุดท้าย | [wāra sutthāi] (n, exp) EN: at the end ; final period |
วารี | [wārī] (n) EN: water FR: eau [ m ] |
aardvark | (อาร์ด' วาร์ค) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่หากินมดและปลวกเป็นอาหาร มีลิ้นยาวมาก อุ้งเท้าที่แข็งแรง และหูที่ยาว (a mammal) |
acropolis | (อะครอพ' โพลิส) adj. เมืองบริวาร |
agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable |
anal | (เอ' เนิล) adj. เกี่ยวกับทวารหนัก |
anus | (เอ'นัส) n., (pl. anuses) ทวารหนัก |
ariel | (แอ'ริเอล) n. ชื่อดาวบริวารของดาวมฤตยู |
ass | (แอส) n. ลา, คนโง่, ก้น, ทวารหนัก, การร่วมเพศ, Syn. jackass, fool, donkey, dolt |
asshole | (แอส'โฮล) n. ทวารหนัก, คนเลว, สิ่งที่เลว (stink thing, bad thing (person)) |
asyndeton | (อะซิน'ดีทัน) n. การตัดสันธาน (conjunction) ออก. -asyndetic อสมวาร <คำแปล>หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำใด ๆ ก็ตามที่ไม่สอดประสานหรือสมนัยกัน (ใช้ในการรับและส่งข้อมูลทางโทรศัพท์) |
boudoir | (บู'ดวาร์) n. ห้องส่วนตัวของหญิง |
agenda | (n) ระเบียบวาระการประชุม |
anal | (adj) เกี่ยวกับทวาร |
anus | (n) ทวารหนัก |
attendant | (n) คนที่อยู่, ผู้ดูแล, คนรับใช้, บริวาร |
doomsday | (n) วันโลกแตก, วันโลกาวินาศ, วาระสุดท้าย |
finality | (n) วาระสุดท้าย, การสิ้นสุด, ขั้นสุดท้าย, การสรุป |
finis | (n) ตอนจบ, อวสาน, การสิ้นสุด, วาระสุดท้าย |
finish | (n) การสิ้นสุด, ความเกลี้ยงเกลา, ตอนจบ, วาระสุดท้าย, ความมันเงา |
follower | (n) สาวก, ลูกศิษย์, ผู้รับใช้, บริวาร, ผู้ติดตาม |
journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร |
sesquicentennial | (n) วาระครบรอบ150ปี |
วารสาร | (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, org, un) วารสาร |
วารสาร | (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, org, un) วารสาร |