รา ๒ | น. ชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีคลอโรฟิลล์ ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ แพร่พันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี. |
ชำเรา ๒ | ก. ลับ เช่น หน้าตาชำเรา (สุบิน). |
ธารา ๒ | น. ขอบ, คม (มีด) เช่น อสิธารา ว่า คมดาบ. |
โนรา ๒ | น. ศิลปะการแสดงพื้นเมืองอย่างหนึ่งของภาคใต้ มีแม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละครชาตรี, มโนราห์ ก็ว่า. |
เพรา ๒ | (เพฺรา) ว. งาม, น่าดู. |
ภารา ๒ | น. พารา, เมือง. |
เหรา ๒ | (เห-รา) น. สัตว์ในนิยายมีรูปครึ่งนาคครึ่งมังกร. |
โหรา ๒ | น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Araceae เช่น ชนิด Aglaonema brevispathum (Engl. ) Engl., Pycnospatha arietina Gagnep. ชนิดหลังนี้ อุตพิดผี ก็เรียก. |
อัจฉรา ๒ | (อัดฉะรา) น. นิ้วมือ |
อัจฉรา ๒ | ลัดนิ้วมือหนึ่ง, เวลาประเดี๋ยวเดียว, ชั่วพริบตา. |
อุรา ๒ | น. แกะตัวเมีย. |
กบเต้น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยาใช้ขับร้องและบรรเลงตอนโศกเศร้า ต่อมามีผู้นำไปทำเป็นเพลงเถา. |
กระต่ายชมจันทร์ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา. |
กระต่ายเต้น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้นและชั้นเดียว เป็นเพลงเร็ว หน้าทับสองไม้ ใช้ในการแสดงละครและลิเก |
กระบี่ลีลา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา |
กระบี่ลีลา | ชื่อหน้าทับเพลงกลองแขกแบบหนึ่ง ใช้บรรเลงในการรำไหว้ครูกระบี่กระบอง หรือใช้ในการขับร้อง มีทั้งที่เป็นอัตรา ๒ ชั้น และเพลงเถา. |
กระเรียนทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา, กาเรียนทอง ก็ว่า. |
กระเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กาเรียนร้อง ก็ว่า. |
กระเรียนร้องตัวผู้ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กระเรียนร้องตัวเมีย | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กวางทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
การเวก ๔ | (การะ-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น มีด้วยกันหลายเพลง เช่น เพลงการเวกตัวผู้หรือการเวกเล็ก เพลงการเวกตัวเมียหรือการเวกใหญ่. |
กาเรียนทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา, กระเรียนทอง ก็ว่า. |
กาเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กระเรียนร้อง ก็ว่า. |
กาเรียนร่อน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กินนรรำ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ |
ขยาย | (ขะหฺยาย) น. การนำทำนองเพลงของเดิมมาขยายขึ้น ๑ เท่าตัวโดยยึด (เพิ่ม) ลูกตกเดิมเป็นหลัก เช่น อัตรา ๒ ชั้น ขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น. |
ขวัญอ่อน ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ เดิมเรียก จีนขวัญอ่อน. |
ขะแมร์กอฮอม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรแดง อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ซอ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรขาว อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ธม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรใหญ่ อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขับนก | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. |
ขับไม้บัณเฑาะว์ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
ขึ้นพลับพลา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้นอก หรือ ขึ้นพลับพลานอก ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลากลาง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้กลาง ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลาใน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้ใน ก็เรียก. |
เขนง | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ครวญหา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้) |
ครอบจักรวาล ๔ | (คฺรอบ-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ครุ่นคิด ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้). |
คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. |
คุณลุงคุณป้า | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ เมื่อทำเป็นเพลงเถา ชื่อว่า อะแซหวุ่นกี้ เถา. |
คุดทะราดเหยียบกรวด | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ |
จระเข้ขวางคลอง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
จำปาทองเทศ ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
จีนแส ๒, จีนแสโสกา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น ของเก่า หน้าทับปรบไก่. |
จุ๊บแจง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
เจ้าเซ็น | ชื่อเพลงไทยสำเนียงแขก อัตราชั้นเดียวและอัตรา ๒ ชั้น, แขกเจ้าเซ็น ก็เรียก. |
โฉลก | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, โฉลกแรก ก็ว่า. |
ชกมวย ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
ชำเรา ๒ | ก. ลับ เช่น หน้าตาชำเรา (สุบิน). |
ธารา ๒ | น. ขอบ, คม (มีด) เช่น อสิธารา ว่า คมดาบ. |
โนรา ๒ | น. ศิลปะการแสดงพื้นเมืองอย่างหนึ่งของภาคใต้ มีแม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละครชาตรี, มโนราห์ ก็ว่า. |
เพรา ๒ | (เพฺรา) ว. งาม, น่าดู. |
ภารา ๒ | น. พารา, เมือง. |
รา ๒ | น. ชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีคลอโรฟิลล์ ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ แพร่พันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี. |
เหรา ๒ | (เห-รา) น. สัตว์ในนิยายมีรูปครึ่งนาคครึ่งมังกร. |
โหรา ๒ | น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Araceae เช่น ชนิด Aglaonema brevispathum (Engl. ) Engl., Pycnospatha arietina Gagnep. ชนิดหลังนี้ อุตพิดผี ก็เรียก. |
อัจฉรา ๒ | (อัดฉะรา) น. นิ้วมือ |
อัจฉรา ๒ | ลัดนิ้วมือหนึ่ง, เวลาประเดี๋ยวเดียว, ชั่วพริบตา. |
อุรา ๒ | น. แกะตัวเมีย. |
กบเต้น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยาใช้ขับร้องและบรรเลงตอนโศกเศร้า ต่อมามีผู้นำไปทำเป็นเพลงเถา. |
กระต่ายชมจันทร์ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา. |
กระต่ายเต้น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้นและชั้นเดียว เป็นเพลงเร็ว หน้าทับสองไม้ ใช้ในการแสดงละครและลิเก |
กระบี่ลีลา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา |
กระบี่ลีลา | ชื่อหน้าทับเพลงกลองแขกแบบหนึ่ง ใช้บรรเลงในการรำไหว้ครูกระบี่กระบอง หรือใช้ในการขับร้อง มีทั้งที่เป็นอัตรา ๒ ชั้น และเพลงเถา. |
กระเรียนทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา, กาเรียนทอง ก็ว่า. |
กระเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กาเรียนร้อง ก็ว่า. |
กระเรียนร้องตัวผู้ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กระเรียนร้องตัวเมีย | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กวางทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
การเวก ๔ | (การะ-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น มีด้วยกันหลายเพลง เช่น เพลงการเวกตัวผู้หรือการเวกเล็ก เพลงการเวกตัวเมียหรือการเวกใหญ่. |
กาเรียนทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา, กระเรียนทอง ก็ว่า. |
กาเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กระเรียนร้อง ก็ว่า. |
กาเรียนร่อน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กินนรรำ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ |
ขยาย | (ขะหฺยาย) น. การนำทำนองเพลงของเดิมมาขยายขึ้น ๑ เท่าตัวโดยยึด (เพิ่ม) ลูกตกเดิมเป็นหลัก เช่น อัตรา ๒ ชั้น ขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น. |
ขวัญอ่อน ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ เดิมเรียก จีนขวัญอ่อน. |
ขะแมร์กอฮอม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรแดง อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ซอ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรขาว อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ธม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรใหญ่ อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขับนก | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. |
ขับไม้บัณเฑาะว์ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
ขึ้นพลับพลา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้นอก หรือ ขึ้นพลับพลานอก ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลากลาง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้กลาง ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลาใน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้ใน ก็เรียก. |
เขนง | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ครวญหา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้) |
ครอบจักรวาล ๔ | (คฺรอบ-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ครุ่นคิด ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้). |
คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. |
คุณลุงคุณป้า | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ เมื่อทำเป็นเพลงเถา ชื่อว่า อะแซหวุ่นกี้ เถา. |
คุดทะราดเหยียบกรวด | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ |
จระเข้ขวางคลอง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
จำปาทองเทศ ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น |
จีนแส ๒, จีนแสโสกา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น ของเก่า หน้าทับปรบไก่. |
จุ๊บแจง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
เจ้าเซ็น | ชื่อเพลงไทยสำเนียงแขก อัตราชั้นเดียวและอัตรา ๒ ชั้น, แขกเจ้าเซ็น ก็เรียก. |
โฉลก | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, โฉลกแรก ก็ว่า. |
ชกมวย ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |