English | (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) ภาษาไทย-อังกฤษ |
ภาษา | (n) language, See also: speech, words, Syn. คำพูด, Example: ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม, Thai Definition: เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน |
ภาษาคน | (n) human speech, See also: human tongue, human language, Syn. ภาษามนุษย์, Ant. ภาษาสัตว์, Example: สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง, Count Unit: ภาษา |
ภาษาซี | (n) C programming language, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่น ภาษาซี หรือภาษาโคบอล |
ภาษากาย | (n) body language, Example: ภาษาพูดนั้นสื่อความคิด แต่ภาษากายสื่อความรู้สึกได้ลึกซึ้งยิ่งกว่า, Thai Definition: การใช้ความเคลื่อนไหวหรือท่าทางของร่างกาย สื่อให้ผู้คนเข้าใจตามความต้องการ |
ภาษาจีน | (n) Chinese, Example: ภาษาจีนมีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาที่เป็นสัญลักษณ์, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่คนจีนใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศจีน |
ภาษาปาก | (n) colloquialism, See also: colloquial expression, spoken language, Syn. ภาษาพูด, Example: ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ |
ภาษาพูด | (n) colloquialism, Ant. ภาษาเขียน, Example: เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน |
ภาษามือ | (n) finger language, See also: sign language, finger alphabet, Example: คนใบ้ใช้ภาษามือเพื่อสื่อสารกัน, Thai Definition: การใช้กิริยาของมือแสดงความหมายต่างๆ ตามกำหนดของการศึกษาของผู้บกพร่องทางการได้ยิน |
ภาษาสูง | (n) high language, Example: ถ้าต่างชาติหรือเด็กเกิดเมืองนอกที่คิดจะเรียนศัพท์แสงภาษาไทยมาอ่านโคลงกลอนเมื่อใด เมื่อนั้นเป็นต้องเปลี่ยนใจเลิกเรียนภาษานี้ทันที นี่แหละภาษาสวย ภาษาสูง ประสาภาษาไทย, Thai Definition: ระดับหนึ่งของภาษา ซึ่งเป็นการใช้ภาษาในระดับยาก ที่ต้องการความสละสลวย เช่นภาษาที่ใช้ในวรรณกรรมชั้นสูง หรือทางวรรณศิลป์ เป็นต้น |
ภาษาสูง | (n) high level language, Syn. ภาษาในระดับสูง, Ant. ภาษาต่ำ, ภาษาในระดับต่ำ, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่นภาษาซี หรือภาษาโคบอล, Thai Definition: ภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไป |
ภาษา | น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม |
ภาษา | เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ |
ภาษา | คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓) |
ภาษา | กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา |
ภาษา | โดยปริยายหมายความว่า สาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา. |
ภาษากึ่งแบบแผน | น. ภาษาราชการ. |
ภาษาคำควบมากพยางค์ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบหน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาวหลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. |
ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. |
ภาษาคำโดด | น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. |
ภาษาถิ่น | น. ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น. |
Controlled language | ภาษาควบคุม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Natural language | ภาษาธรรมชาติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Controlled language | ภาษาควบคุม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Natural language | ภาษาธรรมชาติ, Example: ภาษาธรรมชาติ ในแง่ของการทำดรรชนี เพื่อใช้เป็นตัวแทนสารสนเทศนั้น หมายถึง คำที่มิเกิดจากการถูกกำหนดหรือบังคับใ้ห้ใช้ แต่เป็นการนำคำจากที่ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานกำหนดใช้เอง ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับศัพท์บัญญัติ หรือศัพท์ควบคุมที่กำหนดให้ใช้ <p> <p>ภาษาธรราชาติ มักจะเป็นคำทันสมัยหรือยังมิได้ถูกกำหนดเป็นคำศัพท์ควบคุม ซึ่งสามารถทำให้สืบค้นเรื่องที่ตรงกับปัจจุบัน แต่จะมีข้อเสีย เนื่องจากภาษาธรรมชาติ มิได้มีการควบคุมคำที่มีความหมายเดียวกันและใช้แตกต่างกัน ทำให้เสียเวลาในการสืบค้น เนื่องจากต้องนึกคำที่จะต้องค้นหลายคำ ซึ่งต่างจากภาษาควบคุม ที่จะมีการควบคุมคำศัพท์ ทำให้มีมาตรฐานในการใช้คำดังกล่าวเป็นแนวทางเดียวกัน หมายถึง เรื่องเดียวกัน แต่อาจจะไม่ตรงกับคำที่ปรากฏในเนื้อหาของสารสนเทศและทันสมัย เนื่องจากภาษาควบคุมต้องมีการพิจารณากลั่นกรอง จึงจะสามารถกำหนดใช้ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computational linguistics | ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Computer hardware description languages | ภาษาบรรยายคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Computational lingusitics | ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Algorithmic language | ภาษาอัลกอล, Example: ภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] |
query by example | ภาษาสอบถามที่ใช้ง่าย [คอมพิวเตอร์] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
ภาษา | [phāsā] (n) EN: language ; speech ; tongue ; lingo FR: langue [ f ] ; langage [ m ] ; idiome [ m ] ; jargon [ m ] ; parler [ m ] ; ramage [ m ] (fig.) |
ภาษากฎหมายไทย | [phāsā kotmāi Thai] (n, exp) EN: Thai law language |
ภาษากลาง | [phāsā klāng] (n, exp) EN: interlingua ; interlanguage ; common language ; Mandarin FR: langue commune [ f ] |
ภาษากาย | [phāsā kāi] (n, exp) EN: body language FR: langage corporel [ m ] |
ภาษาการเขียนโปรแกรม | [phāsā kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: programming language FR: langage de programmation [ m ] |
ภาษาคน | [phāsā khon] (n, exp) EN: human speech ; human tongue ; human language FR: langage humain [ m ] |
ภาษาครีโอล | [phāsā khrīøl] (n, exp) EN: Creole FR: créole [ m ] |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | [phāsā khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer language FR: langage informatique [ m ] ; langage de programmation [ m ] |
ภาษาคำติดต่อ | [phāsā kham tittø] (n, exp) EN: agglutinative language FR: langue agglutinante [ f ] |
ภาษาคำโดด | [phāsā kham dōt] (n, exp) EN: isolating language FR: langue isolante [ f ] |
PHP | (n) ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง (เป็นแบบ intepreter) เป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะในงานพัฒนาเว็บ แต่ก็สามารถใช้ในงานอื่นๆ ได้ รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ http://www.php.net |
SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ |
longdo | (n) ชื่อของบริการนี้ มาจากภาษาไทยว่า ลองดู มาจากแนวคิดที่ว่า แนวคิดนี้อาจจะดีหรือไม่ดี ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ก็ไม่แน่ ลองดูเลยดีกว่า |
Stay tuned! | (vi) เป็นภาษาพูด แปลว่า ติดตามต่อไป (ส่วนใหญ่ใช้ตามวิทยุหรือทีวี) เช่น Stay tuned for more details! Stay tuned to the brand new watch! |
koban | (n) ป้อมตำรวจ ตั้งอยู่ตามสถานที่ชุมชมเพื่อรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย หรือให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่ประชาชน (คำนี้มาจากคำภาษาญี่ปุ่น, ในประเทศญี่ปุ่นจะมีป้อมในลักษณะนี้ตามจุดต่างๆ ทั่้วเมือง) |
swamp | (vi, slang) ท่วมท้นด้วยงาน (เป็นภาษาพูดในอเมริกา) เช่น Some offices will be swamped next week. อาทิตย์หน้าบางสำนักงานจะมีงานท่วมหัว |
à la carte | (n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน |
a la carte | ดู à la carte (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. à la carte |
wanna | (vt, colloq) ต้องการ (ภาษาพูด) เช่น I don't wanna go to school. ฉันไม่อยากไปโรงเรียนเลย, Syn. want to |
tsunami | (n) คลื่นขนาดใหญ่และยาว (ระดับน้ำขึ้นสูง เป็นระยะทางยาวๆ ไม่ใช่ขึ้นแล้วลงเร็ว เหมือนคลื่นปกติ) ในทะเล ที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยปกติ แต่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ลักษณะคล้ายๆ กับการปาหินลงในน้ำ แล้วเกิดคลื่นแผ่กระจายออก, มีสาเหตุโดยมากจากแผ่นดินไหวนอกชายฝั่ง, มักเคลื่อนไปได้เป็นระยะทางไกลๆ (มากได้ถึงหลายพัน หรือเป็นหมื่นกิโลเมตร), เมื่อถึงฝั่ง อาจมีความสูงได้เป็นสิบเมตร และทำความเสียหายได้มาก, มาจากภาษาญี่ปุ่น 津波 [ つなみ, tsunami, สึนามิ ] <p> รายละเอียดเพิ่มเติม: <A href=https://dict.simplethai.net/http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html>http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html</A>, Syn. tidal wave |
^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น |
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
afghan | (แอฟ' เกิน, -แกน) n. ชาวอัฟกานิสถาน, ภาษาอัฟแกน, พรมที่ถักด้วยมือชนิดหนึ่ง. -adj. เกี่ยวกับอัฟกานิสถาน, ชาวอัฟกานิสถาน |
afrikaans | (แอฟริคานซ' คาน) n. ภาษาหนึ่งของอาฟริกาใต้ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวฮอลลันดา., Syn. Taal |
afrikander | (แอฟริคาน ' เดอะ, -เนอะ) ชาวอาฟริกาที่พูดภาษา Afrikaans. ชื่อพันธุ์วัวแดงชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, Syn. Africander astern, abaft |
afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages |
albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย |
alemannic | (แอลลิแมน' นิค) ภาษาของ Alemanni, ซึ่งเกี่ยวกับ Alemanni |
algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) |
Arabic | (n) ภาษาอาหรับ, ตัวอาราบิค |
bilingual | (adj) พูดได้สองภาษา |
British | (n) ชาวอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ |
Chinese | (n) ชาวจีน, คนจีน, ภาษาจีน, หนังสือจีน |
colloquial | (adj) เกี่ยวกับภาษาพูด |
colloquialism | (n) ภาษาปาก, ภาษาพูด, คำพูดธรรมดาๆ |
dialect | (n) ภาษาถิ่น, ภาษาพื้นเมือง, สำเนียงท้องถิ่น |
Dutch | (n) ชาวฮอลันดา, ชาวเนเธอร์แลนด์, ชาวดัช, ภาษาดัช |
Egyptian | (adj) เกี่ยวกับประเทศอียิปต์, เกี่ยวกับชาติไอยคุปต์, เกี่ยวกับภาษาอียิปต์ |
Egyptian | (n) ชาวอียิปต์, ชาวไอยคุปต์, ภาษาอียิปต์ |
acrolect | ภาษาย่อยช่วงบน |
anthropological linguistics | ภาษาศาสตร์มนุษยวิทยา |
artificial language | ภาษาประดิษฐ์ |
elvish | [-เอลฝิฌ] (n, adj) ภาษาเอลฟ์ ของเอลฟ์ เกี่ยวกับเอลฟ์, See also: elf, Syn. elven |
Esperanto | (n) ภาษาเอสเปรันโต |
kuy | (n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด |
Notice that setdiff is not symmetric. Further, note that we can calculate the comp | [ไทย] (n, vi, vt, aux, verb, adj, adv, conj, pron, phrase, abbrev, uniq) ภาษาไทย |
psycholinguistic | ภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
ภาษาพูด | [อังกฤษ] (colloq) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
Frau | นาง (คล้าย Mrs. ในภาษาอังกฤษ) |
Sprache | (n) |die, pl. Sprachen| ภาษา |
Wort | (n) |das, pl. Worte/ Wörte| คำ(เชิงภาษา) |
auch | ด้วย, คล้าย too ในภาษาอังกฤษ |
das | (artikel) คำนำหน้านามเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ) |
daß | (konj) ที่ว่า (ใช้เป็นคำเชื่อมระหว่างวลี หรืออนุประโยค คล้าย that ในภาษาอังกฤษ) เช่น Ich rechne damit, daß er mich heute anruft. ฉันคาดว่า เขาจะโทรมาหาฉันวันนี้ |
dem | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามเพศชาย der, และเพศกลาง das |
den | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น |
denn | ใช้เป็นคำเน้น ไม่มีความหมายที่แน่นอน ใช้เสริมในประโยคเพื่อให้ฟังดูนุ่มขึ้น อาจแปลเป็นไทยภาษาพูดว่า 'ล่ะ' เช่น Was machst du denn da? เธอทำอะไรอยู่หรือเนี่ย (ถ้าไม่มี denn ฟังดูห้วนคล้ายว่า เธอทำอะไรอยู่) |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน |
avoir | (vt) |j'ai, tu as, il a, nous avons, vous avez, ils ont| 1. มี เช่น J'ai soif. ผมมีอาการกระหายน้ำ หรือ ผมหิวน้ำ 2. avoir ยังเป็นกิริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต (Passé composé) เช่น Hier j'ai eu trés soif dans la classe de français. เมื่อวานนี้ดิฉันหิวน้ำมากเลยค่ะในชั่วโมงภาษาฝรั่งเศส |
ä | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า a tréma ในภาษาฝรั่งเศส |
ö | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า o tréma ในภาษาฝรั่งเศส |
ü | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า ü tréma ในภาษาฝรั่งเศส |
ß | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า deux s ในภาษาฝรั่งเศส |
Salut! | เป็นคำทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันดีแล้ว หรือในหมู่เพื่อน คล้าย หวัดดี (สวัสดี)ในภาษาไทย |
séjour linguistique | (n) |m| การพำนักอยู่เพื่อเรียนภาษา, การอาศัยอยู่เพื่อเรียนภาษา |
parole | (n) |f| คำ(ภาษา), คำพูด เช่น la parole de Dieu คำจากพระเจ้า |
mamie | (n) |f| ย่า, ยาย (ภาษาที่เด็กตัวเล็กๆ ชอบใช้) |
papi | (n) |m| ปู่, ตา (ภาษาที่เด็กตัวเล็กๆ ชอบใช้) |