บาท ๓ | น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท. |
ขา ๒ | สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา. |
มหานันททายี | น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น คู่กับ นันททายี. |
บาท ๓ | น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท. |
ขา ๒ | สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา. |
มหานันททายี | น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น คู่กับ นันททายี. |