นิคหิต | (นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. |
นฤคหิต | (นะรึคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ, นิคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. (ส. นิคฤหีต; ป. นิคฺคหีต). (ดู นิคหิต). |
สนธิ | การเปลี่ยนแปลงเสียงซึ่งเกิดจากการเชื่อมเสียง ๒ เสียง ที่อยู่ชิดกันให้กลมกลืนกัน ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีพยัญชนะสนธิ เช่น ทุส + ชน เป็น ทุรชน สระสนธิ เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม และนิคหิตฺสนธิ เช่น เอวํ + เม เป็น เอวมฺเม ในภาษาอื่น ๆ ที่มีวรรณยุกต์เช่นภาษาจีนมีวรรณยุกต์สนธิ เช่น เกี๊ยม + ฉ่าย เป็น เกี่ยมฉ่าย. |
หยาดน้ำค้าง | น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ, นิคหิต หรือ นฤคหิต ก็เรียก. (ดู นิคหิต) |
นิคหิต | (นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. |
นฤคหิต | (นะรึคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ, นิคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. (ส. นิคฤหีต; ป. นิคฺคหีต). (ดู นิคหิต). |
สนธิ | การเปลี่ยนแปลงเสียงซึ่งเกิดจากการเชื่อมเสียง ๒ เสียง ที่อยู่ชิดกันให้กลมกลืนกัน ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีพยัญชนะสนธิ เช่น ทุส + ชน เป็น ทุรชน สระสนธิ เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม และนิคหิตฺสนธิ เช่น เอวํ + เม เป็น เอวมฺเม ในภาษาอื่น ๆ ที่มีวรรณยุกต์เช่นภาษาจีนมีวรรณยุกต์สนธิ เช่น เกี๊ยม + ฉ่าย เป็น เกี่ยมฉ่าย. |
หยาดน้ำค้าง | น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ, นิคหิต หรือ นฤคหิต ก็เรียก. (ดู นิคหิต) |