14 ผลลัพธ์ สำหรับ ท ๓
หรือค้นหา: -ท ๓-, *ท ๓*
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *ท ๓*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ท ๓(ทะ) ใช้เป็นคำนำหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทมูลทนาย ทแกล้วทหาญ, ท่าน เช่น ทชี.
ท ๓น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
ท ๓ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส, เช่น เราเป็นไทไม่ใช่ทาส.
บาท ๓น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ประสาท ๓น. ยินดีให้, โปรดให้, เช่น ประสาทปริญญา ประสาทพร.
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายีน. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น

คู่กับ นันททายี.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ท ๓(ทะ) ใช้เป็นคำนำหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทมูลทนาย ทแกล้วทหาญ, ท่าน เช่น ทชี.
ท ๓น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
ท ๓ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส, เช่น เราเป็นไทไม่ใช่ทาส.
บาท ๓น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ประสาท ๓น. ยินดีให้, โปรดให้, เช่น ประสาทปริญญา ประสาทพร.
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายีน. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น

คู่กับ นันททายี.

Time: 1.4019 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/