ด้านสกัด | น. ด้านกว้างของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านกว้างของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง. |
ขื่อกะละปังหา | น. ขื่อด้านสกัดหัวท้ายสำหรับรับหน้าจั่วและติดกลอนปีกนก. |
จั่ว ๑ | น. เครื่องบนแห่งเรือนที่ปิดด้านสกัดหลังคาสำหรับกันลมและแดดฝน มีรูปเป็นสามเหลี่ยม, หน้าจั่ว ก็ว่า. |
ฝาเสี้ยว | น. แผงฝาที่ประกอบขึ้นเพื่อใช้ปิดด้านสกัดของเรือนพะไลโดยเฉพาะ. |
ฝาหุ้มกลอง | น. ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน. |
พะ ๑ | น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะเพิง เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก. |
พะเพิง | น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะ เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก. |
มุม | น. จุดที่เส้น ๒ เส้นมาบรรจบกัน เช่น เดินชนมุมโต๊ะ, เนื้อที่ตรงด้านยาวกับด้านสกัดมาบรรจบกัน เช่น วางตู้ไว้ที่มุมห้อง, ที่ว่างซึ่งเกิดจากเส้นตรง ๒ เส้น แยกออกจากกัน โดยปลายข้างหนึ่งของแต่ละเส้นอยู่ร่วมจุดเดียวกัน เช่น มุมฉาก มุมแหลม, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถูกต้อนเข้ามุม จนมุม. |
ราง ๑ | ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ หรือปล้องไม้ไผ่ผ่าซีก มีด้านสกัดหัวท้าย สำหรับใส่อาหารหมูหรือย้อมผ้าเป็นต้น |
ล่วงขื่อ | น. ด้านสกัด. |
เสาหมอ | น. เสาขนาดสั้นสำหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก |
หน้าจั่ว | น. เครื่องบนแห่งเรือนที่ปิดด้านสกัดหลังคา สำหรับกันลมและแดดฝน มีรูปเป็นสามเหลี่ยม, จั่ว ก็ว่า |
หุ้มกลอง | (-กฺลอง) น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์ วิหาร, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน เรียกว่า ด้านสกัด. |
ด้านสกัด | น. ด้านกว้างของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านกว้างของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง. |
ขื่อกะละปังหา | น. ขื่อด้านสกัดหัวท้ายสำหรับรับหน้าจั่วและติดกลอนปีกนก. |
จั่ว ๑ | น. เครื่องบนแห่งเรือนที่ปิดด้านสกัดหลังคาสำหรับกันลมและแดดฝน มีรูปเป็นสามเหลี่ยม, หน้าจั่ว ก็ว่า. |
ฝาเสี้ยว | น. แผงฝาที่ประกอบขึ้นเพื่อใช้ปิดด้านสกัดของเรือนพะไลโดยเฉพาะ. |
ฝาหุ้มกลอง | น. ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน. |
พะ ๑ | น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะเพิง เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก. |
พะเพิง | น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะ เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก. |
มุม | น. จุดที่เส้น ๒ เส้นมาบรรจบกัน เช่น เดินชนมุมโต๊ะ, เนื้อที่ตรงด้านยาวกับด้านสกัดมาบรรจบกัน เช่น วางตู้ไว้ที่มุมห้อง, ที่ว่างซึ่งเกิดจากเส้นตรง ๒ เส้น แยกออกจากกัน โดยปลายข้างหนึ่งของแต่ละเส้นอยู่ร่วมจุดเดียวกัน เช่น มุมฉาก มุมแหลม, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถูกต้อนเข้ามุม จนมุม. |
ราง ๑ | ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ หรือปล้องไม้ไผ่ผ่าซีก มีด้านสกัดหัวท้าย สำหรับใส่อาหารหมูหรือย้อมผ้าเป็นต้น |
ล่วงขื่อ | น. ด้านสกัด. |
เสาหมอ | น. เสาขนาดสั้นสำหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก |
หน้าจั่ว | น. เครื่องบนแห่งเรือนที่ปิดด้านสกัดหลังคา สำหรับกันลมและแดดฝน มีรูปเป็นสามเหลี่ยม, จั่ว ก็ว่า |
หุ้มกลอง | (-กฺลอง) น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์ วิหาร, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน เรียกว่า ด้านสกัด. |