76 ผลลัพธ์ สำหรับ จุลพน
หรือค้นหา: -จุลพน-, *จุลพน*
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *จุลพน*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จุลพนน. ชื่อกัณฑ์ที่ ๖ ของมหาชาติ.
กระแบกน. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก.
กระลบ(-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กระอึกก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
กระเอบว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน).
กรูด ๑(กฺรูด) น. มะกรูด เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
กลู่(กฺลู่) ก. เกลื่อน, ใช้เข้าคู่กับคำ กลาด เป็น กลู่กลาด เช่น ดอกไม้อันบานโรยโกยกลู่กลาดคือลาญใน (ม. คำหลวง จุลพน).
กวะแกว่ง(กฺวะแกฺว่ง) ก. แกว่งไปมา เช่น ช่อช้อยกวะแกว่งไกว (ม. คำหลวง จุลพน).
กว่า(กฺว่า) ก. ไปจาก เช่น แทบทางที่จะกว่า (ม. คำหลวง จุลพน), ผิออกนางธจะกว่า (ม. คำหลวง กุมาร), ไป เช่น ลํ๋ตายหายกว่า (จารึกสยาม).
กัจฉปะ(กัดฉะปะ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์ (ม. ร่ายยาว จุลพน).
กันลง ๑, กันลอง ๑น. แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กันลึงก. จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กัลหาย(กัน-) ก. กรรหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
ขัณฑสกร(ขันทดสะกอน) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทยอย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธ-รสเรณูโรยร่วงลงบนใบอุบล ซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาลก็ก่อเกิดโอชะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการโอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร (ม. ร่ายยาว จุลพน).
คุกพาทย์น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน.
จรรมขัณฑ์น. ท่อนหนัง, แผ่นหนัง, เช่น ทรงครองอชินจรรมขัณฑ์เป็นเครื่องคลุม (ม. ร่ายยาว จุลพน).
จราว ๒(จะ-) น. ดอกไม้ เช่น แคแจรเจรอญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). (ดู จาว ๔).
จาว ๔น. ดอก, ดอกไม้, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง จาวจำแทงจำเทิด (ม. คำหลวง จุลพน), จราว ก็ใช้, โดยปริยายหมายถึงผู้หญิง เช่น ไฟกามรลุงจาว ทองเทศ (ทวาทศมาส).
จุล-(จุนละ-) ว. เล็ก, น้อย, (มักใช้นำหน้าคำสมาส) เช่น จุลศักราช จุลพน.
แจร(แจฺร) น. ต้นแคแตร เช่น แคแจรเจริญจราว (ม. คำหลวง จุลพน).
แจรง(แจฺรง) ก. แจง, กระจายออก, ขยายออก, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง (ม. คำหลวง จุลพน).
ชรไม(ชะระ-) ว. ชไม, ทั้งคู่, เช่น พรรคหนึ่งนกชื่อชิวปุต์ตา ครพชรไมมามเหมื่อย (ม. คำหลวง จุลพน).
ชรุก(ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน).
แชรง(ชะแรง) ก. แซง, เบียดเสียด, เช่น ไม้มีผลต่างต่าง ช่อช้อยช่างแชรงดวง (ม. คำหลวง จุลพน).
ดันเหิมก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น มีกมลเบิกบานบันเทิงเริงรื่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย (ม. คำหลวง จุลพน).
ด้ามต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ดำกลงาม เช่น พยงพื้นในนภดล ดำกลดาดด้วยดวงดาว (ม. คำหลวง จุลพน).
ถมอ(ถะหฺมอ, ถะมอ) น. หิน เช่น ดาดดำถมอทะมื่น (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรนาว, ทระนาว(ทอระ-) ว. ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร (สมุทรโฆษ), งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรสาย(ทอระ-) ว. สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ (ม. คำหลวง จุลพน), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรสุม(ทอระ-) ว. ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล (ม. คำหลวง จุลพน).
นาวน. มะนาว เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
บแรงภักษ์, บ่แรงภักษ์ก. กินไม่ไหว เช่น กระจับใหญ่มีในโบษขรเท่าศีศะกาษร แลใบบ่แรงภักษภูญช์ (ม. คำหลวง จุลพน).
บง ๓ก. คล้อง, ห่ม, เช่น บงบ่าเฉวียง (ม. คำหลวง จุลพน).
ผงร(ผะหฺงอน) ก. หงาย, ชูขึ้น, ทรงไว้, เช่น ข้าแต่พระผู้ผงรแผ่นแผ้ว (ม. คำหลวง จุลพน)
เพ็จ ๒ก. เผล็ด, ผลิ, เช่น พิเภทเพ็จผกากาญจน (ม. คำหลวง จุลพน).
รัว ๒น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงในลักษณะต่าง ๆ กันคือ รัวธรรมดาหรือรัวลาเดียว ใช้บรรเลงเมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการแสดงโขนละครเป็นต้น และใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงผลสำเร็จของพิธีการหรือพิธีกรรมนั้น ๆ, รัวเฉพาะ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์บางเพลง เช่น รัวท้ายเพลงบาทสกุณี รัวท้ายเพลงปลูกต้นไม้ รัวสามลา เป็นเพลงในชุดโหมโรงเย็นมีความหมายแทนการกราบไหว้บูชา ในการแสดงโขนละคร ใช้บรรเลงประกอบกิริยาแสดงอิทธิฤทธิ์ของตัวละครสูงศักดิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน.
วิจลวุ่นวาย, วุ่นใจ, เช่น ในสุรสถานดำหนักพน อย่ารู้วิจลสักอันเลย (ม. คำหลวง จุลพน).

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จุลพนน. ชื่อกัณฑ์ที่ ๖ ของมหาชาติ.
กระแบกน. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก.
กระลบ(-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กระอึกก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
กระเอบว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน).
กรูด ๑(กฺรูด) น. มะกรูด เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
กลู่(กฺลู่) ก. เกลื่อน, ใช้เข้าคู่กับคำ กลาด เป็น กลู่กลาด เช่น ดอกไม้อันบานโรยโกยกลู่กลาดคือลาญใน (ม. คำหลวง จุลพน).
กวะแกว่ง(กฺวะแกฺว่ง) ก. แกว่งไปมา เช่น ช่อช้อยกวะแกว่งไกว (ม. คำหลวง จุลพน).
กว่า(กฺว่า) ก. ไปจาก เช่น แทบทางที่จะกว่า (ม. คำหลวง จุลพน), ผิออกนางธจะกว่า (ม. คำหลวง กุมาร), ไป เช่น ลํ๋ตายหายกว่า (จารึกสยาม).
กัจฉปะ(กัดฉะปะ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์ (ม. ร่ายยาว จุลพน).
กันลง ๑, กันลอง ๑น. แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กันลึงก. จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
กัลหาย(กัน-) ก. กรรหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์ (ม. คำหลวง จุลพน).
ขัณฑสกร(ขันทดสะกอน) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทยอย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธ-รสเรณูโรยร่วงลงบนใบอุบล ซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาลก็ก่อเกิดโอชะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการโอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร (ม. ร่ายยาว จุลพน).
คุกพาทย์น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน.
จรรมขัณฑ์น. ท่อนหนัง, แผ่นหนัง, เช่น ทรงครองอชินจรรมขัณฑ์เป็นเครื่องคลุม (ม. ร่ายยาว จุลพน).
จราว ๒(จะ-) น. ดอกไม้ เช่น แคแจรเจรอญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). (ดู จาว ๔).
จาว ๔น. ดอก, ดอกไม้, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง จาวจำแทงจำเทิด (ม. คำหลวง จุลพน), จราว ก็ใช้, โดยปริยายหมายถึงผู้หญิง เช่น ไฟกามรลุงจาว ทองเทศ (ทวาทศมาส).
จุล-(จุนละ-) ว. เล็ก, น้อย, (มักใช้นำหน้าคำสมาส) เช่น จุลศักราช จุลพน.
แจร(แจฺร) น. ต้นแคแตร เช่น แคแจรเจริญจราว (ม. คำหลวง จุลพน).
แจรง(แจฺรง) ก. แจง, กระจายออก, ขยายออก, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง (ม. คำหลวง จุลพน).
ชรไม(ชะระ-) ว. ชไม, ทั้งคู่, เช่น พรรคหนึ่งนกชื่อชิวปุต์ตา ครพชรไมมามเหมื่อย (ม. คำหลวง จุลพน).
ชรุก(ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน).
แชรง(ชะแรง) ก. แซง, เบียดเสียด, เช่น ไม้มีผลต่างต่าง ช่อช้อยช่างแชรงดวง (ม. คำหลวง จุลพน).
ดันเหิมก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น มีกมลเบิกบานบันเทิงเริงรื่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย (ม. คำหลวง จุลพน).
ด้ามต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ดำกลงาม เช่น พยงพื้นในนภดล ดำกลดาดด้วยดวงดาว (ม. คำหลวง จุลพน).
ถมอ(ถะหฺมอ, ถะมอ) น. หิน เช่น ดาดดำถมอทะมื่น (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรนาว, ทระนาว(ทอระ-) ว. ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร (สมุทรโฆษ), งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรสาย(ทอระ-) ว. สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ (ม. คำหลวง จุลพน), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรสุม(ทอระ-) ว. ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล (ม. คำหลวง จุลพน).
นาวน. มะนาว เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน).
บแรงภักษ์, บ่แรงภักษ์ก. กินไม่ไหว เช่น กระจับใหญ่มีในโบษขรเท่าศีศะกาษร แลใบบ่แรงภักษภูญช์ (ม. คำหลวง จุลพน).
บง ๓ก. คล้อง, ห่ม, เช่น บงบ่าเฉวียง (ม. คำหลวง จุลพน).
ผงร(ผะหฺงอน) ก. หงาย, ชูขึ้น, ทรงไว้, เช่น ข้าแต่พระผู้ผงรแผ่นแผ้ว (ม. คำหลวง จุลพน)
เพ็จ ๒ก. เผล็ด, ผลิ, เช่น พิเภทเพ็จผกากาญจน (ม. คำหลวง จุลพน).
รัว ๒น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงในลักษณะต่าง ๆ กันคือ รัวธรรมดาหรือรัวลาเดียว ใช้บรรเลงเมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการแสดงโขนละครเป็นต้น และใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงผลสำเร็จของพิธีการหรือพิธีกรรมนั้น ๆ, รัวเฉพาะ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์บางเพลง เช่น รัวท้ายเพลงบาทสกุณี รัวท้ายเพลงปลูกต้นไม้ รัวสามลา เป็นเพลงในชุดโหมโรงเย็นมีความหมายแทนการกราบไหว้บูชา ในการแสดงโขนละคร ใช้บรรเลงประกอบกิริยาแสดงอิทธิฤทธิ์ของตัวละครสูงศักดิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน.
วิจลวุ่นวาย, วุ่นใจ, เช่น ในสุรสถานดำหนักพน อย่ารู้วิจลสักอันเลย (ม. คำหลวง จุลพน).

Time: 0.0356 seconds, cache age: 2.829 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/