ความเป็นกลาง | (n) neutrality, Syn. ความยุติธรรม, ใจเป็นกลาง, Ant. ความลำเอียง, Example: กรรมการที่ตัดสินกีฬาต้องมีความเป็นกลางเป็นสำคัญ |
disinterestedness | ความเป็นกลาง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
neutrality | ความเป็นกลาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neutrality | ความเป็นกลาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
political neutrality | ความเป็นกลางทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neutrality, political | ความเป็นกลางทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
aesthetic distance | ความเป็นกลางทางสุนทรียภาพ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
armed neutrality | ความเป็นกลางโดยมีกำลังรบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
neutrality, armed | ความเป็นกลางโดยมีกำลังรบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
armed neutrality | ความเป็นกลางโดยมีกำลังรบ (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Neutrality | ความเป็นกลาง [TU Subject Heading] |
Objectivity | ความเป็นกลาง (ทัศนคติ) [TU Subject Heading] |
ความเป็นกลาง | [khwām penklāng] (n) EN: neutrality ; impartiality FR: neutralité [ f ] ; impartialité [ f ] |
neutrality | (n) ความเป็นกลาง, See also: สถานภาพเป็นกลาง, สถานะที่เป็นกลาง, Syn. impartiality |
indifference | (อินดิฟ' เฟอเรินซฺ) n. การขาดความสนใจ, ความเมินเฉย, ความไม่แยแส, ความไม่ลำเอียง, ความเป็นกลาง, Syn. carelessness, unconcern, Ant. concern |
indifferent | (อินดิฟ' เฟอเรินทฺ) adj. ไม่สนใจ, เมินเฉย, ไม่แยแส, ไม่ไยดี, ไม่ลำเอียง, ความเป็นกลางไม่ดีเท่าไร, ไม่สำคัญ, เป็นกลาง. -n. บุคคลผู้เมินเฉย., See also: indifferently adv., Syn. apathetic, ordinary, Ant. concerned, avid |
neutrality | (นิวแทรล'ลิที) n. ความเป็นกลาง |
neutrality | (n) ความเป็นกลาง, ความไม่เข้าข้าง |