กฎหมาย | (n) law, See also: statute, enactment, rule, Syn. ข้อบังคับ, Example: เขาชอบแสดงตนว่าเป็นคนรู้เรื่องกฎหมาย, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ |
กฎหมายอาญา | (n) criminal law, See also: penal law, Example: ไทยเรามีวิธีการลงโทษผู้กระทำผิดดังกำหนดไว้ในกฎหมายอาญา คือ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิดและกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น |
กฎหมายแพ่ง | (n) civil law, See also: law of private rights, Example: สัมปทานมีลักษณะเป็นสัญญาที่มีเงื่อนไข ข้อตกลงมากมายทั้งในแง่กฎหมายมหาชน กฎหมายแพ่ง และแนวทางปฎิบัติในวงการธุรกิจ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคล เกี่ยวกับสถานภาพสิทธิและ หน้าที่ ของบุคคล ตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก |
กฎหมายสูงสุด | (n) constitution, Syn. รัฐธรรมนูญ, Example: รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ |
กฎหมายแรงงาน | (n) labour legislation, See also: labour law, Example: นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน, Count Unit: ฉบับ |
กฎหมายพาณิชย์ | (n) commercial law, Example: กฎหมายพาณิชย์คือกฎหมายเกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้า, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎหมายที่วางระเบียบเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อ การขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตัวเงิน หุ้นส่วน บริษัท |
กฎหมายตราสามดวง | (n) first Thai enacted law, Example: กฎหมายตราสามดวงถูกตราขึ้นใช้ในรัชกาลที่ 1, Thai Definition: กฎหมายฉบับแรกที่ถูกตราขึ้นใช้ในประเทศไทย |
กฎหมายระหว่างประเทศ | (n) international law, Example: ในประเทศไทยอำนาจในการทำสนธิสัญญากฎหมายระหว่างประเทศปล่อยให้เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของแต่ละรัฐ, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกัน ว่าด้วยรัฐ และความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ และประชาคมระหว่างประเทศ |
กฎหมาย | น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้. |
กฎหมาย | ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า) |
กฎหมาย | ออกหมายกำหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ (พระราชกำหนดเก่า) |
กฎหมาย | กฎหมายงานพระบรมศพครั้งกรุงเก่า |
กฎหมาย | ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดำรัสให้เร่งคืนมา (พากย์) |
กฎหมาย | กำหนดขีดขั้น เช่น ให้ปลูกโรงรจนาใน นอกหน้าศาลชัย ให้ตั้งพิกัดกฎหมาย (พากย์). |
กฎหมายตราสามดวง | น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง. |
กฎหมายปกครอง | น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ รวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน. |
กฎหมายปิดปาก | น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. |
กฎหมายพาณิชย์ | น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท. |
Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Patent law and legislation | กฎหมายสิทธิบัตร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Law and literature | กฎหมายกับวรรณกรรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์, Example: กฎหมายลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานจะได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายนี้ ผู้ใดจะนำข้อความไปตีพิมพ์หรือแปลเป็นภาษาอื่นๆ หรือผลิตออกเผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน หรือเจ้าของลิขสิทธิ์มิได้ <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์ของแต่ละประเทศจะระบุให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ส่งหนังสือที่พิมพ์ให้หอสมุดแห่งชาติเก็บรักษา ตามจำนวนที่กำหนด ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวน 2 ฉบับ เพื่อเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในแต่ละประเทศ <p> <p>หนังสือภาษาต่างประเทศ จะมีการแจ้งลิขสิทธิ์ระบุไว้ที่หน้าลิขสิทธิ์หรือ copyright page ซึ่งก็คือ ด้านหลังของหน้าปกใน โดยจะปรากฏคำว่า Copyright หรือ © พร้อมทั้งชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี ค.ศ. ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>หนังสือภาษาไทย จะมีคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ ปรากฏไว้ที่ด้านหลังหน้าปกใน เช่นเดียวกัน และมีการระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี พ.ศ ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดมีงานลิขสิทธิ์หลายประเภทอยู่ในครอบครอง เช่น งานวรรณกรรม ในรูปของหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดิทัศน์ ฯลฯ สื่อบันทึกเสียงรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นเสียง เทปคาสเซทส์ งานศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ภาพเขียน เป็นต้น <p> <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ ได้จำแนกสถานภาพของห้องสมุดที่เกี่ยวกับงานลิขสิทธิเป็น 4 ประำการ คือ <p>1. ในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน <p>2. ในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน <p>3. ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4. ในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ <p> <p>1. ห้องสมุดในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน ห้องสมุดเป็นผู้จัดซื้อ จัดหาสื่อต่างๆ เข้ามา แต่มิได้หมายความว่า ห้องสมุดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพียงแต่ห้องสมุดมีกรรมสิทธิ์ในสื่อเหล่านั้น ห้องสมุด อาจนำมาไว้ให้บริการผู้อ่่านในห้องสมุดหรือยืมไปอ่าน หากไม่นำมาคืน ห้องสมุดสามารถใช้สิทธิทวงถามเพื่อให้นำมาคืนได้ แต่ห้องสมุดไม่มีสิทธิ์ที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่งานนั้นต่อสาธารณชนได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น ห้องสมุดไม่สามารถนำหนังสือที่ซื้อมาทำสำเนาเข้าปกเป็นจำนวนหลายเล่ม เพื่อให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องซื้อไม่ได้ เป็นต้น <p>2. ห้องสมุดในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน หมายถึง ห้องสมุดมิได้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่อยู่ในฐานะครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น เจ้าของทรัพย์สินอาจให้ยืมหนังสือหรือสิ่งของบางรายการแก่ห้องสมุด และอาจระบุเงื่อนไขบางประการไว้ เช่น การนำสิ่งของมาแสดงในงานนิทรรศการ เมื่อครบกำหนดต้องคืน และห้องสมุดต้องรักษาทรัพย์สินนั้นๆ <p>3. ห้องสมุดในฐานะเข้าของลิขสิทธิ์ ห้ิองสมุดอาจจะเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่มีอยู่ในห้องสมุด การใช้งานลิขสิทธิ์ย่อมไม่มีปัญหาใดๆ เพียงแต่ดูแลลิขสิทธิ์ของตนเองเมื่อพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานเหล่านั้น <p>4. ห้องสมุดในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ แต่เป็นผู้ที่จะใช้งานลิขสิทธิ์นั้นในขอบเขตการให้บริการของตน แต่โดยหลักแล้ว ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ ย่อมกระทำการที่กฎหมายให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานลิขสิทธิ์อาจได้รับการปกป้องจากการกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ <p>4.1 การกระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4.2 การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว <p>4.3 การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ <p>4.4 การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>การกระทำโดยไ้ด้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้องสมุดตรวจสอบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์และทำการขออนุญาต โดยมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร และควรแจ้งว่าเป็นการใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา และขอความอนุเคราะห์ในการยกเว้นค่าใช้ลิขสิทธิ์ (กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์อาจจะมีเงื่อนไข) <p>การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว งานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ย่อมตกเป็นสมบัติสาธารณะ ไม่ต้องขออนุญาตต่อผู้ใด ห้องสมุดอาจทำซ้ำ เพื่อการเก็บรักษาหรือเพื่อให้ผู้ใช้บริการยืมอ่านได้ <p>การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ สิ่งที่กฎหมายลิขสิทธิ์ระบุว่าไม่มีลิขสิทธิ์ คือ <p>1. ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ <p>2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย <p>3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถ่น <p>4. คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ <p>5. คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น <p> สิ่งต่างๆ ข้างต้น ไม่ถือว่าเป็นงานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดอาจทำซ้ำ ดัดแปลงหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ <p>การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ระบุข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับงานดำเนินงานของห้องสมุดหลายมาตรา มีทั้ืงบทเฉพาะเกี่ยวกับการทำซ้ำโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุด (มาตรา 34) บทบัญญัติทั่วไปสำหรับการพิจารณาข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประเภทต่างๆ (มาตรา 32 และมาตรา 33) และบทบัญญัติเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์เฉพาะประเภท (มาตร 35 ถึง 42) แต่ตัวบทกฎหมายนี้ก็ไม่ได้บัญญัติชัดเจนพอที่จะอ่านแล้วชี้ชัดได้ว่าการกระทำอย่างใดขนาดใดจะถือว่าต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ. "กฎหมายลิขสิทธิ์กับงานห้องสมุด" หน้า 5-25 ใน เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Patent law and legislation | กฎหมายสิทธิบัตร, Example: <p>กฎหมายสิทธิบัตร ได้แก่ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มี ๖ หมวด ๘๘ มาตรา รายละเอียดในภาพรวมมีสาระสำคัญดังนี้ <p>หมวด ๑ บททั่วไป ให้คำนิยาม ความหมายของคำ ได้แก่ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร การประดิษฐ์ กรรมวิธี แบบผลิตภัณฑ์ ผู้ทรงสิทธิบัตร ผู้ทรงอนุสิทธิบัตร คณะกรรมการ พนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี รัฐมนตรี <p>ตัวอย่าง นิยาม ความหมายของคำ "สิทธิบัตร" หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้ (หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) <p>หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ <p>-ส่วนที่ ๑ การขอรับสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๒ การออกสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๓ สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๔ การชำระค่าธรรมเนียมรายปี <p>-ส่วนที่ ๕ การใช้สิทธิตามสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๖ การคืนสิทธิบัตร การเลิกข้อถือสิทธิ และการเพิกถอนสิทธิบัตร <p>หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>หมวด ๔ คณะกรรมการสิทธิบัตร <p>หมวด ๕ เบ็ดเตล็ด <p>หมวด ๖ ความผิดและกำหนดโทษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural law | กฎหมายการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Corporation law | กฎหมายว่าด้วยบริษัท [เศรษฐศาสตร์] |
Antitrust law | กฎหมายป้องกันการผูกขาด [เศรษฐศาสตร์] |
Banking law | กฎหมายการธนาคาร [เศรษฐศาสตร์] |
Civil law | กฎหมายแพ่ง [เศรษฐศาสตร์] |
กฎหมาย | [kotmāi] (n) EN: law ; legislation ; statute ; enactment ; rule ; act FR: loi [ f ] ; droit [ m ] ; code [ m ] ; législation [ f ] |
กฎหมายกรรมสิทธิ์ | [kotmāi kammasit] (n, exp) EN: property law |
กฎหมายการกีฬา | [kotmāi kānkīlā] (n, exp) EN: sport law |
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ | [kotmāi kānkhā rawāng prathēt] (n, exp) EN: law of international business |
กฎหมายการศึกษา | [kotmāi kānseuksā] (n, exp) EN: education laws FR: loi sur l'éducation [ f ] |
กฎหมายการหย่าร้าง | [kotmāi kān yārāng] (n, exp) EN: divorce law |
กฎหมายครอบครัว | [kotmāi khrøpkhrūa] (n, exp) EN: family laws |
กฎหมายความปลอดภัย | [kotmāi khwām pløtphai] (n, exp) EN: safety law |
กฎหมายความมั่นคงภายใน | [Kotmāi Khwām Mankhong Phāinai] (n, prop) EN: Internal Security Act (ISA) ; ISA 2008 ; security law FR: Acte de sécurité intérieure [ m ] ; Loi de sécurité intérieure [ f ] ; Loi sur la sécurité intérieure [ f ] |
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค | [kotmāi khumkhrøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer protection act ; consumer protection law FR: loi sur la protection du consommateur [ f ] |
illegally | (n) (คนที่อยู่) อย่างไม่ถูกต้อง, โดยไม่มีเอกสารอนุญาตให้อยู่ในประเทศนั้นอย่างถูกต้องตามกฎหมาย |
forensics | (adj) เกี่ยวข้องกับทางศาลหรือกระบวนการทางกฎหมาย |
law-abidingness | (n) ความเคารพกฎหมาย, See also: law-abiding adj. |
civil disobedience | (n) ลัทธิดื้อแพ่ง/อารยะขัดขืน, เป็นการปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายบางมาตรา ด้วยเหตุผลที่ว่ากฎหมายนั้นๆ ไม่ชอบธรรม |
Office of the Council of State | (n, org) สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สถาบันที่ปรึกษากฎหมายของรัฐ)ดูข้อมูลเพิ่มเติม <a href=https://dict.simplethai.net/http://www.krisdika.go.th/>http://www.krisdika.go.th/</a> |
insolvent | (adj) เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวตามกฎหมายล้มละลาย |
extrajudicial killing | (n) การฆ่าแบบไม่เคารพกฎหมาย, การฆ่าที่ผิดกฎหมาย |
estoppel | (n) การถูกตัดบท (โดยกฎหมาย), กฎหมายปิดปาก เช่น That decision was based on the legal concept of estoppel. |
XEROX | (n, name, uniq) เครื่องหมายการค้าของ ซีร็อกซ์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้สำหรับเครื่องผลิตภัณฑ์ถ่ายเอกสาร และอื่นๆ โดยในประเทศไทยได้มีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายไทย และขอความร่วมมือคนไทยเลิกใช้คำว่า XEROX ในความหมายว่า เครื่องถ่ายเอกสาร หรือ กระบวนการถ่ายเอกสาร ในลักษณะคำสามัญ เพราะจะทำให้เครื่องหมายการค้าของซีร็อกซ์เสื่อมซึ่งลักษณะเฉพาะ |
framer | [เฟรม-เมอ] (n) บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ), See also: Constitution, law |
act | (n) กฎหมาย, Syn. law |
criminal law | (n) กฎหมายอาญา |
enactment | (n) กฎหมาย, See also: พ.ร.บ., พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, Syn. law, legislation, regulation |
labor law | (n) กฎหมายแรงงาน |
law | (n) กฎหมาย, See also: ระเบียบ, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, ข้อกำหนด, กฎข้อบังคับ, Syn. rule, regulation, statute |
legislation | (n) ตัวบทกฎหมาย, See also: กฎหมาย, Syn. law |
Magna Carta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Charta |
Magna Charta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Carta |
measure | (n) กฎหมาย, See also: พระราชบัญญัติ, ร่างพระราชบัญญัติ, Syn. proposition, proposal |
misrule | (n) การปกครองที่ไม่ดี, See also: กฎหมายที่ไม่ดี, Syn. misgovernment |
abortionist | (อะบอร์' เชินนิสทฺ) n. ผู้ทำแท้ง (อย่างผิดกฎหมาย) |
adulterous | (อะดัล' เทอเริส) adj. ซึ่งเจือปน, ผิดกฎหมาย, เป็นชู้ (impure, adultering, illegal) -adulterously adv. |
against | (อะเกนสฺทฺ') prep. ต่อต้าน, ต้าน, สู้, ทวนน้ำ, ย้อน, ผิดกฎหมาย, แนบเนื้อ, ประชิดกับ, อยู่ข้างหน้า, เทียบกับ, ป้องกัน, ไม่เห็นด้วย, ตรงกันข้าม, Syn. counter or contrary to |
alienism | (เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage) |
alienist | (เอ' เลียนนิสทฺ, แอล' เยินนิสทฺ) แพทย์ผู้รักษาโรคจิต (โดยเฉพาะผู้ที่รู้เรื่องกฎหมาย) นิติจิตแพทย์ physcian who treats mental disorders) |
anarchism | (แอน' นะคิสซีม) n. ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล, ลัทธิไม่มีรัฐบาล, อนาธิปไตย |
appanage | (แอพ'พะเนจ) n. ที่ดินหรือรายได้รับตามระบบศักดินาแก่สมาชิกราชวงศ์กษัตริย์, ทรัพย์สินที่ครอบครองตามกฎหมาย |
arbitrary | (อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n., Syn. capricious, frivolous |
attorney | (อะเทอ'นี) n., (pl. -neys) ทนายความ, นักกฎหมาย, ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ |
backdoor | (-ดอร์) adj. ด้วยวิถีทางที่ผิดกฎหมาย หรือลึกลับ, Syn. illicit, secret |
act | (n) การกระทำ, พฤติการณ์, พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, องก์(ละคร) |
admiralty | (n) เจ้าหน้าที่กองทัพเรือ, กฎหมายหรือศาลแห่งกองทัพเรือ |
attorney | (n) ทนายความ, หมอความ, นักกฎหมาย, อัยการ |
backdoor | (adj) ลับ, ผิดกฎหมาย |
badman | (n) คนร้าย, โจร, คนเลว, คนนอกกฎหมาย |
bandit | (n) โจร, ผู้ร้าย, คนนอกกฎหมาย |
barrister | (n) ทนายความ, หมอความ, นักกฎหมาย, เนติบัณฑิต |
bastard | (adj) ที่ไม่ถูกกฎหมาย |
bastard | (n) ลูกไม่มีพ่อ, ลูกนอกกฎหมาย |
bylaw | (n) เทศบัญญัติ, กฎหมายท้องถิ่น |
Gesetz | (n) |das, pl. Gesetze| กฎหมาย |
ja | ใช่ เช่น Studieren Sie Jura? - Ja. คุณเรียนกฎหมายใช่ไหม - ใช่, See also: A. nein |
Recht | (n) |das| กฎหมาย |
Jura | (n) |die| วิชากฎหมาย, นิติศาสตร์ เช่น Sie studiert Jura. = หล่อนเรียนนิติศาสตร์ |
knacken | (vt) |knackte, hat geknackt, etw.(A)| ถอดรหัส, เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย เช่น Die Passwörter wie 'Kitty' und 'Tokyo' kann man sich zwar leicht merken, sie sind aber eben auch genauso einfach zu knacken. |
zweifelhaft | (adj) |zweifelhafter, zweifelhaftest-| ที่น่าเคลือบแคลงสงสัยหรืออาจผิดกฎหมาย เช่น ein zweifelhaftes Geschäft ธุรกิจที่น่าสงสัย |
befolgen | (vt) |befolgte, hat befolgt, etw.(A)| ทำตามที่ถูกบอกหรือสั่ง, ทำตามกฎหมาย เช่น Bitte befolgen Sie die Bedienungsvorschrift für dieses Gerät! กรุณาทำตามคำแนะนำการใช้สำหรับเครื่องมือชิ้นนี้ |
Erziehungslager | (n) |das, pl. Erziehungslager| สถานที่หรือหน่วยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อฝึกอบรมผู้เยาว์ที่ทำผิดกฎหมาย หรือก่ออาชญากรรม เช่น การอบรมเรื่องระเบียบวินัย การประพฤติ เช่น Deutschland diskutiert über Erziehungslager für kriminelle Jugendliche. In Frankreich existieren solche Anstalten schon seit mehreren Jahren. |