retrieve | (vt) ได้กลับคืนมา, See also: กอบกู้, Syn. get back, regain |
retrieve | (vt) ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, See also: ซ่อมแซม, Syn. recover, restore |
retrieve | (vt) เรียกข้อมูลคืนมา, Syn. get data |
retrieve | (n) การเอากลับคืนมา, Syn. get data |
retrieval | (n) การกู้คืนมา, See also: การเอากลับมา, Syn. regaining, restoration |
retriever | (n) ผู้เอากลับมา, See also: ผู้กู้คืนมา |
irretrievable | (adj) ไม่สามารถเอาคืนมาได้, See also: ที่เรียกกลับคืนมาไม่ได้, Ant. retrievable |
retrieve from | (phrv) กู้คืน, See also: นำกลับสู่สภาพเดิมจาก |
Labrador retriever | (n) สุนัขพันธุ์หนึ่งที่มีขนสั้นหนาสีดำหรือเหลืองทอง |
data retrieval | การค้นคืนข้อมูลหมายถึง กระบวนการในการเรียกหา หรือนำข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลหรือสื่อเก็บข้อมูล กลับมาแสดงบนจอภาพหรือเครื่องปลายทาง (terminal) |
irretrievable | (เออริทรีฟ'วะเบิล) adj. เอาคืนไม่ได้, แก้ไขไม่ได้, ซ่อมแซมไม่ได้, See also: irretrieva- bility, irretrievableness n. irretrievably adv. |
retrieval | (รีทรี'เวิล) n. การเอากลับคืนมา, การทำให้คืนสู่สภาพเดิม, การแก้ไข, การซ่อมแซม, การช่วยชีวิต, การกอบกู้ |
retrieve | (รีทรีฟว') vt., vi. (การ) เอาคืนมา, ทำให้คืนสู่สภาพเดิม, ซ่อมแซม, กู้, ช่วยชีวิต, กอบกู้, (คอมพิวเตอร์) เก็บข้อมูลไว้ในความทรงจำของเครื่องคอมพิวเตอร์. n., See also: retrievable adj. |
retriever | (รีทรี'เอะ) n. ผู้เอาคืนมา, ผู้ซ่อมแซม, ผู้กอบกู้, ผู้ช่วยชีวิต, สุนัขจำพวกหนึ่งที่สามารถคาบสัตว์ที่ถูกยิงกลับคืนมา |
irretrievable | (adj) เอาคืนไม่ได้, แก้ไขไม่ได้ |
retrieve | (vt) กอบกู้, ได้คืนมา, ทำให้กลับคืน, ช่วยชีวิต, ซ่อมแซม |
retrieval | การค้นคืน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
retrieve | ค้นคืน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
retrieve | ค้นคืน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
information retrieval | การค้นคืนสารสนเทศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
information retrieval | การค้นคืนสารสนเทศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irretrievable breakdown of marriage | การขาดจากการสมรสที่ไม่อาจคืนดีกันได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trie (retrieval) | ทรัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ, Example: <p>การค้นข้อสนเทศ หรือ การค้นคืนสารสนเทศ มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อค้นคืนเอกสารทั้งหมดในทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าเรื่องกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ออกมา โดยมีเอกสารที่ไม่เข้าเรื่องปะปนออกมาให้น้อยที่สุด การค้นคืนสารสนเทศมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ <p>1. การจัดทำตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแทนทั้งสองนี้ (ตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้) <p>ระบบค้นคืนสารสนเทศ จำแนกประเภทได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการจำแนกประเภทของระบบตามประเภทของสารสนเทศที่จัดเก็บและค้นคืนได้ ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลตัวเลข ฐานข้อมูลภาพ และฐานข้อมูลมัลติมีเดีย <p>กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ <p>1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม <p>3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคำค้น <p>4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น <p>5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น <p>ปัจจัยสนับสนุนในการค้นหาสารสนเทศ ได้แก่ <p>1. การสัมภาษณ์ผู้ใช้ก่อนการค้นหา เช่น ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะการนำสารสนเทศไปใช้ ระดับความลุ่มลึก และปริมาณของสารสนเทศที่ต้องการ <p>2. เกณฑ์การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลา เนื้อหาสาระ ค่าใช้จ่าย <p>3. เทคนิคสำคัญในการค้นหาสารสนเทศ เช่น การกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุม (Control vocabulary) และศัพท์ไม่ควบคุม (Uncontrol vocabulary) การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วยตรรกะบูเลียน เทคนิคการตัดคำ และเทคนิคการระบุเขตข้อมูล <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
retrieve | ค้นคืน, Example: การนำข้อมูลที่เก็บไว้มาใช้งาน แต่โดยที่ข้อมูลนั้นอาจจะเก็บร่วมกับข้อมูลอื่นๆ จำนวนมาก ดังนั้นการค้นคืนจึงต้องค้นข้อมูลที่เก็บไว้ให้พบก่อนแล้วจึงส่งคืนให้เราไปใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Dialog (Information retrieval system) | ไดอะล็อก (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [คอมพิวเตอร์] |
DIALOG (Information retrieval system) | ไดอะล็อก (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [TU Subject Heading] |
Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ [TU Subject Heading] |
Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [TU Subject Heading] |
ISIS (Information retrieval system) | ไอซิส (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [TU Subject Heading] |
Labrador retriever | ลาบราดอร์ รีทริฟเวอร์ [TU Subject Heading] |
Retrievers | รีทริฟเวอร์ [TU Subject Heading] |
Eggs Retrieval | เก็บไข่ [การแพทย์] |
Retrievability | ความสามารถในการค้นคืนสารสนเทศ [การจัดการความรู้] |
เรียกคืน | (v) revoke, See also: regain, request the return of something, retrieve, Syn. ขอคืน, Ant. คืนให้, Example: ธนาคารมีสิทธิเรียกคืนบัตรเครดิตเป็นการชั่วคราวได้ทันที เมื่อผู้ถือบัตรขาดคุณสมบัติการเป็นสมาชิกบัตรเครดิต, Thai Definition: ขอกลับคืนมาเป็นของตน |
สืบค้น | (v) retrieve, See also: recover, find, Syn. ค้น, ค้นหา |
กู้หน้า | (v) retrieve situation, See also: keep one's face, save one's face, Example: ไอบีเอ็มหวังว่าสินค้าตัวใหม่จะเข้ามากู้หน้าให้กับบริษัท, Thai Definition: ช่วยทำให้ชื่อเสียงคงดีอยู่, Notes: (ปาก) |
กู้ | (v) retrieve, See also: redeem, save, restore, recover, Example: ในส่วนนี้จะกล่าวถึงซอฟท์แวร์ที่ใช้ต่อสู้ตรวจสอบกู้ข้อมูลและสังหารไวรัส, Thai Definition: ทำให้กลับคืนดีอย่างเดิม |
ฟื้น | (v) recover, See also: recoup, retrieve, regain, Syn. ฟื้นตัว, ฟื้นฟู, Example: รัฐบาลคาดว่า เสถียรภาพของเงินบาทจะฟื้นคืนมาอีกครั้งอย่างเต็มที่, Thai Definition: กลับคืนมาใหม่, กลับดีขึ้นหรือเจริญขึ้น |
กอบกู้ | (v) save, See also: retrieve, redeem, restore, Syn. กู้, Example: ทุกคนจะต้องช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่อกอบกู้ความหายนะทางเศรษฐกิจของประเทศ |
ดึง | (v) retrieve, See also: pull, Syn. เอากลับคืน, กู้, Example: ผู้ที่สนใจค้นคว้าข้อมูลของห้องสมุดสามารถดึงข้อมูลจากเครือข่ายห้องสมุดได้ |
กู้ | [kū] (v) EN: rehabilitate ; redeem ; reestablish ; regain ; restore ; retrieve FR: rétablir |
กู้หน้า | [kū nā] (v, exp) EN: retrieve situation ; keep one's face ; save one's face ; salvage one's face FR: sauver la face |
เรียกคืน | [rīek kheūn] (v, exp) EN: revoke ; regain ; request the return of something ; retrieve |
retried | |
retrieve | |
retrieve | |
retrieval | |
retrieval | |
retrieved | |
retriever | |
retrieves | |
retrieves | |
retrievers | |
retrieving | |
irretrievably |
retrieve | |
retrieval | |
retrieved | |
retriever | |
retrieves | |
retrievers | |
retrieving | |
retrievable | |
irretrievable | |
irretrievably |
chesapeake bay retriever | (n) American breed having a short thick oily coat ranging from brown to light tan |
curly-coated retriever | (n) an English breed having a tightly curled black or liver-colored coat; retrieves game from land or water |
flat-coated retriever | (n) an English breed having a shiny black or liver-colored coat; retrieves game from land or water |
golden retriever | (n) an English breed having a long silky golden coat |
irretrievable | (adj) impossible to recover or recoup or overcome, Syn. unretrievable |
irretrievably | (adv) in an irretrievable manner |
labrador retriever | (n) breed originally from Labrador having a short black or golden-brown coat |
medical literature analysis and retrieval system | (n) relational database of the United States National Library of Medicine for the storage and retrieval of bibliographical information concerning the biomedical literature, Syn. MEDLARS |
retrievable | (adj) capable of being regained especially with effort |
retrieval | (n) (computer science) the operation of accessing information from the computer's memory |
retrieval | (n) the cognitive operation of accessing information in memory |
retrieve | (v) go for and bring back |
retrieve | (v) run after, pick up, and bring to the master |
retriever | (n) a dog with heavy water-resistant coat that can be trained to retrieve game |
recover | (v) get or find back; recover the use of, Syn. retrieve, regain, find |
recovery | (n) the act of regaining or saving something lost (or in danger of becoming lost), Syn. retrieval |
remember | (v) recall knowledge from memory; have a recollection, Syn. think, call up, recollect, call back, recall, retrieve, Ant. forget |
Irretrievable | a. Not retrievable; irrecoverable; irreparable; |
Irretrievableness | n. The state or quality of being irretrievable. [ 1913 Webster ] |
Irretrievably | adv. In an irretrievable manner. [ 1913 Webster ] |
Retrievable | a. [ From Retrieve. ] That may be retrieved or recovered; admitting of retrieval. -- |
Retrieval | n. The act retrieving. [ 1913 Webster ] |
Retrieve | v. t. With late repentance now they would retrieve To retrieve them from their cold, trivial conceits. Berkeley. [ 1913 Webster ] Accept my sorrow, and retrieve my fall. Prior. [ 1913 Webster ] There is much to be done . . . and much to be retrieved. Burke. [ 1913 Webster ] |
Retrieve | v. i. (Sport.) To discover and bring in game that has been killed or wounded; |
Retrieve | n. |
Retrievement | n. Retrieval. [ 1913 Webster ] |
Retriever | n. |
检索 | [检 索 / 檢 索] retrieval; retrieve; research #6,711 [Add to Longdo] |
挽回 | [挽 回] to retrieve; to redeem #9,170 [Add to Longdo] |
反扑 | [反 扑 / 反 撲] to counter-attack; to come back after a defeat; to retrieve lost ground #23,654 [Add to Longdo] |
金毛狗 | [金 毛 狗] golden retriever (dog breed); Cibotium barometz, asian tropical tree fern with hairy fronds, used in traditional Chinese medicine [Add to Longdo] |
検索 | [けんさく, kensaku] (n, vs) looking up (e.g. a word in a dictionary); retrieval (e.g. data); searching for; referring to; (P) #1,341 [Add to Longdo] |
回収 | [かいしゅう, kaishuu] (n, vs) collection; recovery; withdrawal; retrieval; (P) #5,495 [Add to Longdo] |
あいまい検索;曖昧検索 | [あいまいけんさく, aimaikensaku] (n) { comp } fuzzy reference; ambiguous search; ambiguous retrieval [Add to Longdo] |
インフォメーションリトリーバル | [infome-shonritori-baru] (n) information retrieval [Add to Longdo] |
クロスランゲージ情報検索 | [クロスランゲージじょうほうけんさく, kurosurange-ji jouhoukensaku] (n) { comp } cross-language information retrieval; CLIR [Add to Longdo] |
ゴールデンレトリバー;ゴールデンレトリーバー | [go-rudenretoriba-; go-rudenretori-ba-] (n) golden retriever [Add to Longdo] |
レトリーバー;レトリバー | [retori-ba-; retoriba-] (n) retriever [Add to Longdo] |
階層記憶制御 | [かいそうきおくせいぎょ, kaisoukiokuseigyo] (n) { comp } HARC; Hierarchical Storage Archive and Retrieve Controller [Add to Longdo] |
興す | [おこす, okosu] (v5s, vt) to revive; to retrieve (fortunes); to raise up; (P) [Add to Longdo] |
検索ポート | [けんさくポート, kensaku po-to] (n) { comp } retrieval port [Add to Longdo] |
構造体取出し | [こうぞうたいとりだし, kouzoutaitoridashi] (n) { comp } structure retrieval [Add to Longdo] |
参照検索 | [さんしょうけんさく, sanshoukensaku] (n) { comp } reference retrieval [Add to Longdo] |
参照事項検索 | [さんしょうじこうけんさく, sanshoujikoukensaku] (n) { comp } reference retrieval [Add to Longdo] |
取り出す(P);取出す;取りだす;とり出す | [とりだす, toridasu] (v5s, vt) (1) to take out; to produce; to pick out; (2) to fetch; to retrieve; (P) [Add to Longdo] |
情報検索 | [じょうほうけんさく, jouhoukensaku] (n) { comp } information retrieval [Add to Longdo] |
想起 | [そうき, souki] (n) (1) remembering; recollection; recall; retrieval; (vs) (2) to remember; to recall; to recollect; to call to mind; to envision [Add to Longdo] |
読み出す | [よみだす, yomidasu] (v5s) { comp } to read out (e.g. data from a computer or process); to retrieve [Add to Longdo] |
内容検索 | [ないようけんさく, naiyoukensaku] (n) { comp } content retrieval [Add to Longdo] |
文献検索 | [ぶんけんけんさく, bunkenkensaku] (n) { comp } document retrieval [Add to Longdo] |
連想検索 | [れんそうけんさく, rensoukensaku] (n) { comp } associative retrieval [Add to Longdo] |
階層記憶制御 | [かいそうきおいくせいぎょ, kaisoukioikuseigyo] HARC, Hierarchical Storage Archive and Retrieve Controller [Add to Longdo] |
検索 | [けんさく, kensaku] retrieval (vs), looking up (a word in a dictionary), searching for, referring to [Add to Longdo] |
検索ポート | [けんさくポート, kensaku po-to] retrieval port [Add to Longdo] |
構造体取出し | [こうぞうたいとりだし, kouzoutaitoridashi] structure retrieval [Add to Longdo] |
再現率 | [さいげんりつ, saigenritsu] retrieval rate [Add to Longdo] |
参照検索 | [さんしょうけんさく, sanshoukensaku] reference retrieval [Add to Longdo] |
参照事項検索 | [さんしょうじこうけんさく, sanshoujikoukensaku] reference retrieval [Add to Longdo] |
取り出す | [とりだす, toridasu] to fetch, to retrieve [Add to Longdo] |
情報検索 | [じょうほうけんさく, jouhoukensaku] information retrieval, IR [Add to Longdo] |
読み出す | [よみだす, yomidasu] to read, to retrieve [Add to Longdo] |
内容検索 | [ないようさくいん, naiyousakuin] content retrieval [Add to Longdo] |
文献検索 | [ぶんけんけんさく, bunkenkensaku] document retrieval [Add to Longdo] |
連想検索 | [れんそうけんさく, rensoukensaku] associative retrieval [Add to Longdo] |
曖昧検索 | [あいまいけんさく, aimaikensaku] ambiguous search, ambiguous retrieval [Add to Longdo] |