add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) |
application program | โปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
diagnostic program | ชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส |
event-driven programming | การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่งที่จะนำเอาเหตุการณ์จริงเข้ามาใช้ และจะรอคอยให้ผู้ใช้ กดแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ เสียก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนใด ๆ |
executive program | โปรแกรมกระทำการหมายถึง โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล หรือควบคุมการกระทำการ (execution) ของคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ดูแลการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล (input/output unit) การดำเนินการและกำหนดการใช้หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (memory unit) ให้ทำงานให้สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบทำงานแบบหลายชุดคำสั่ง หรือระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ชุดคำสั่งชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหน้าที่หลักในการดูแลไม่ให้การประมวลผล โปรแกรมทีละหลาย ๆ โปรแกรม เกิดความสับสนกัน มีความหมายเหมือน supervisor |
in line program | โปรแกรมแทรกชุดคำสั่งแทรกหมายถึง ชุดคำสั่งส่วนหนึ่งที่เขียนแทรกไว้ในโปรแกรม ใช้ชื่อที่กำหนดขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อสะดวกในการเรียกใช้ คำสั่งกลุ่มนี้ โดยปกติ จะประกอบด้วยคำสั่งหลายคำสั่ง ที่ผู้ทำโปรแกรมนำมารวมไว้ ชุดคำสั่งแทรกนี้จะต้องกำหนดชื่อคำสั่งไว้ตอนต้นโปรแกรม เมื่อใดก็ตาม ที่มีการเรียกชื่อคำสั่งที่กำหนดนี้ ก็จะเท่ากับเป็นการเรียกใช้กลุ่มคำสั่งที่ประกอบด้วยคำสั่งนี้ทั้งชุด ชุดคำสั่งแทรกนี้ เราสามารถเรียกใช้ได้ตลอดเวลาที่เรียกใช็โปรแกรมนี้อยู่ หรือทุกแห่งที่ต้องการใช้คำสั่งกลุ่มนั้นมีความหมายเหมือน macro instruction, macro program |
integratd program | ชุดคำสั่งเบ็ดเสร็จหมายถึง โปรแกรมที่ผู้ผลิต ผลิตออกมาเป็นชุดเดียวกัน สามารถทำงานได้หลาย โดยเฉพาะงานสำนักงานทั่วไป ที่ใช้กันมาก ได้แก่ โปรแกรมการประมวลผลคำ ตารางจัดการ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร เป็นต้น โดยปกติโปรแกรมประเภทนี้จะทำงานแต่ละอย่างได้ไม่ดีนัก แต่ถ้าต้องเสียเงินซื้อก็จะถูกกว่าไปจ้างเขาเขียน |
job control program | ชุดคำสั่งควบคุมงานหมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชุดหนึ่ง ที่มีหน้าที่ควบคุมสายงานในการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่อ่านข้อมูลเข้าไปเก็บ กำหนดว่าจะต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดคำสั่งใดบ้าง (เช่น ตัวแปลภาษาใด) กำหนดการเริ่มกระทำการ (execute) และการส่งผลที่คำนวณแล้วไปยังเครื่องพิมพ์ ฯมีความหมายเหมือน job control language |
linear programming | กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น |
main program | โปรแกรมหลักในการเขียนโปรแกรม หากมีบางส่วนของโปรแกรมที่มักจะต้องเขียนซ้ำกันบ่อย ๆ อาจจะใช้วิธีเขียนส่วนที่ซ้ำนี้แยกออกเป็นอีกโปรแกรมหนึ่งต่างหาก เรียกว่าโปรแกรมย่อย (subprogram) ส่วนโปรแกรมเดิมเรียกว่าเป็นโปรแกรมหลัก ในโปรแกรมหลักนี้ จะมีคำสั่งเรียกโปรแกรมย่อยมาใช้เมื่อใดก็ได้ บ่อยเท่าใดก็ได้ เป็นการช่วยประหยัดเวลาในการเขียนซ้ำ |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
modular programming | การเขียนโปรแกรมส่วนจำเพาะหมายถึง การแยกเขียนโปรแกรมเป็นส่วน ๆ ทำให้แก้ไขง่าย และใช้คนเขียนหลายคนได้ ข้อดียิ่งไปกว่านั้นก็คือ สามารถจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำได้ดีขึ้นด้วย |
multiprogramming | การทำงานแบบหลายโปรแกรมมัลติโปรแกรมมิงหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวสามารถทำโปรแกรมพร้อมกันได้มากกว่า 2 โปรแกรมขึ้นไป เช่น ในขณะที่อ่านโปรแกรมหนึ่งเข้าไปเก็บ หน่วยประมวลผลก็ประมลผลข้อมูลของอีกโปรแกรมหนึ่งไปพร้อม ๆ กัน และหน่วยแสดงผลก็อาจแสดงผลที่ได้รับจากการทำโปรแกรมก่อนหน้านั้น (อันที่จริง ไม่ใช่การประมวลผลโปรแกรมพร้อมกัน เพียงแต่หน่วยต่าง ๆ ทำงานพร้อม ๆ กัน เท่านั้น) |
object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ |
object-oriented programmi | การทำโปรแกรมเชิงวัตถุหมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมของนักเขียนโปรแกรมรุ่นใหม่ ที่จัดแบ่งการเขียนคำสั่งกันออกเป็นชุด ๆ แต่ละชุดเรียกว่า "วัตถุ" (object) แล้วจึงนำเอาชุดคำสั่งแต่ละชุดนั้นมารวมกันเป็นโปรแกรมชุดใหญ่อีกทีหนึ่ง ในบางครั้งยังอาจนำ "วัตถุ" ของโปรแกรม หนึ่งไปรวมกับ "วัตถุ" ของอีกโปรแกรมหนึ่ง แล้วเรียกออกมาใช้ได้เลย ทั้งนี้ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมใหม่ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด วิธีการดังกล่าวนี้ช่วยประหยัดเวลาได้มาก พูดให้ง่ายก็คือ ทุกโปรแกรมไม่ต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อนึ่ง คำว่า "วัตถุ" นั้น หมายรวมไปถึงภาพหรือกราฟิกด้วย ภาพหนึ่งภาพ เช่น การสร้างวงกลมนั้น เกิดจากการเขียนโปรแกรมโดยใช้สูตรคำนวณเส้นโค้ง ซึ่งจะประกอบด้วยคำสั่งหลายร้อยคำสั่ง แล้วเก็บไว้เป็น "วัตถุ" หนึ่ง ฉะนั้น เมื่อใดที่เราสั่งวาดวงกลม ก็เท่ากับไปเรียก "วัตถุ" นี้มาใช้ หลังจากนั้น หากเราจะต่อเติมเป็นภาพอื่นต่อไป คอมพิวเตอร์ก็จะไปดึงอีก "วัตถุ" หนึ่งมาทำต่อให้ |
packaged program | โปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ |
program | (me) (โพร'แกรม) n. รายการ, กำ-หนดการ, หมายกำหนดการ, โปรแกรม, ระเบียบวาระ, การแสดง, แผน, โครงการ, ผัง vi., vt. กำหนดรายการ, กำหนดระเบียบวาระ, กำหนดแผน., See also: programmable adj. programable adj. |
program card | บัตรชุดคำสั่งหมายถึง บัตรที่เจาะรูไว้เป็นรหัสของคำสั่งหรือชุดคำสั่ง ใช้เมื่อต้องการแยกความแตกต่างกับ "บัตรข้อมูล" (data card) เมื่อส่งเข้าเครื่องเพื่อประมวลผล ต้องให้เครื่องอ่านบัตรชุดคำสั่งก่อนบัตรข้อมูล บัตรชุดคำสั่งนี้ ใช้เจาะได้ตั้งแต่คอลัมน์ 7 ถึง 72 เท่านั้น แต่บัตรข้อมูลเจาะได้ทั้ง 80คอลัมน์ของบัตร |
program check | ชุดคำสั่งตรวจสอบหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่มีเก็บไว้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่คอยตรวจสอบการวิ่ง (run) ชุดคำสั่ง ว่าเป็นไปอย่างถูกต้องหรือไม่ |
program flowchart | ผังงานโปรแกรมหมายถึง ผังที่ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้มองเห็นขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนจะลงมือเขียนโปรแกรมจริง ๆ |
program library | คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library |
program window | หมายถึง วินโดว์ที่มองเห็นบนจอภาพหลังจากที่กดเมาส์สั่งเริ่มโปรแกรม ถ้าหากต้องการจะใช้โปรแกรมนั้น ต้องใช้คำสั่ง FILE...new หรือ open จะทำให้เห็นวินโดว์ใหม่เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) แล้วจึงจะเริ่มทำงานได้มีความหมายเหมือน application windowดู document window เปรียบเทียบ |
programmable logic array | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ใช้ตัวย่อว่า PLA (อ่านว่า พีเอแอล) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
programmable read-only me | PROMหน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ หมายถึง ชิปกึ่งตัวนำที่สามารถแสดงข้อมูลที่บันทึกไว้ได้ แต่จะแก้ไขแล้วบันทึกทับลงไปไม่ได้ |
programmer | นักเขียนโปรแกรมนักเขียนชุดคำสั่งหมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
programming | การเขียนโปรแกรมการสร้างโปรแกรมหมายถึง การเขียนหรือสร้างคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามที่ต้องการ ด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (สามารถแปลได้) ในการเขียนโปรแกรมนี้ ผู้เขียนจะต้องเข้าใจถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีการแก้ รวมทั้ง ศัพท์และไวยากรณ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของภาษาที่เลือกใช้ ดู programming language ประกอบ |
programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ |
programming language one | ใช้ตัวย่อว่า PL/1 (อ่านว่า พีแอล/วัน) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) รุ่นเก่าอีกภาษาหนึ่ง ส่วนใหญ่ใช้กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือเมนเฟรม (mainframe) |
structured programming | หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีการแบ่งเป็นโปรแกรมย่อย (subprogram) หรือ โมดุล (module) หลาย ๆ อัน ทำให้เข้าใจได้ง่าย หลักการเขียนก็คือ แต่ละส่วนจะประกอบด้วยข้อคำสั่ง 3 ประเภท คือ กำหนดคำสั่งให้เรียงไปตามลำดับการทำงาน ที่เรียกว่า sequential มีคำสั่งให้เลือกทิศทางที่เรียกว่า conditional คือ มี IF-THEN-ELSE และมีการวนไปทำคำสั่งเดิมที่เรียกว่า loop คือมีคำสั่ง DO WHLE อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็อาจจะไม่รู้จักคำสั่งประเภทนี้ และก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักโปรแกรมโครงสร้างด้วย |
utitity program | โปรแกรมอรรถประโยชน์หมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไว้เพื่อให้เราเพิ่มสมรรถนะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมอรรถประโยชน์ไม่ใช่โปรแกรมใช้งานหรือโปรแกรมที่จะนำมาใช้ผลิตงานใด ๆ ออกมาด้วยตัวเอง เพียงแต่เป็นโปรแกรมที่ทำให้การใช้โปรแกรมอื่นสะดวกขึ้น เดิมเราเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า เป็นเครื่องมือในการทำซอฟต์แวร์ (software tools) เพราะเป็นโปรแกรมที่มีไว้ช่วยนักเขียนโปรแกรมอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ขายกันทั่วไป ที่ได้รับความนิยมมาก ก็มี Norton Utiltities, PC Tools, Stacker เป็นต้น |
visual programming | การทำโปรแกรมด้วยภาพหมายถึง การเขียนโปรแกรมให้ผู้ที่ใช้โปรแกรมสำเร็จ สามารถกำหนดรายการคำสั่ง (menu) ต่าง ๆ ได้เอง โดยอาจจะคัดลอกของเก่ามาตัด-ปะ ใหม่ อาจเลือกใช้ Visual BASIC ของบริษัทไมโครซอฟต์ หรือ Object Version ของบริษัทบอร์แลนด์ ก็ได้ |
Computer programming | การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Nonlinear programming | การโปรแกรมไม่เชิงเส้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
C# (Computer program language) | ซี# (ภาษาคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Programmable array logic | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Browser (Computer program) | เบราเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Affirmative action programme | แผนงานช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Financing programme | แผนงานจัดหาเงิน [เศรษฐศาสตร์] |
Aid programme | แผนงานให้ความช่วยเหลือ [เศรษฐศาสตร์] |
programming and budgeting system | ระบบการวางแผน [เศรษฐศาสตร์] |
Integrated programme for commodity | แผนงานรวมการค้าโภคภัณฑ์ [เศรษฐศาสตร์] |
Nonlinear programming | กำหนดการที่มิใช่เชิงเส้น [เศรษฐศาสตร์] |
Computer programming | การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Stabilization programme | แผนงานรักษาเสถียรภาพ [เศรษฐศาสตร์] |
APL (a programming language) | เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก [คอมพิวเตอร์] |
Structured programming | การโปรแกรมโครงสร้าง [คอมพิวเตอร์] |
Quadratic programming | การโปรแกรมเชิงกำลังสอง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Programming mathematics | การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Integer programming | การโปรแกรมเชิงจำนวนเต็ม [คอมพิวเตอร์] |
Logic programming | การโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์] |
Genetic programming (Computer science)) | การโปรแกรมเชิงพันธุกรรม [คอมพิวเตอร์] |
Object-oriented programming (Computer science)) | การโปรแกรมเชิงวัตถุ [คอมพิวเตอร์] |
Linear programming | การโปรแกรมเชิงเส้น [คอมพิวเตอร์] |
Systems programming (Computer science)) | การโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์] |
Installation program | โปรแกรมติดตั้ง [คอมพิวเตอร์] |
Integrated program | โปรแกรมเบ็ดเสร็จ [คอมพิวเตอร์] |
Interactive program | โปรแกรมแบบโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์] |
Microprogramming | การเขียนคำสั่งจุลภาค [คอมพิวเตอร์] |
Paint program | โปรแกรมระบาย [คอมพิวเตอร์] |
Programming | การเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Programmer | นักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Program | ๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง ๒. สร้างโปรแกรม, ๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง ๒. สร้างโปรแกรม, Example: รายการคำสั่งที่ให้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ [คอมพิวเตอร์] |
Programming Language 1 | ภาษาพีแอลวัน [คอมพิวเตอร์] |
Programmed Inquiry Language Or Teaching | ภาษาไพล็อต [คอมพิวเตอร์] |
Compiler (computer program) | คอมไพเลอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] |
Sequence controller, Programmable | เครื่องควบคุมต่อเนื่องแบบโปรแกรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Programmable controller | เครื่องควบคุมแบบโปรแกรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Report Program Generator | ภาษาอาร์พีจี, Example: ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นในปี 2507 สำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อใช้จัดทำรายงานที่ซับซ้อนสำหรับงานประยุกต์ทางธุรกิจ ภาษานี้ได้รับความนิยมมากในหมู่นักเขียนโปรแกรม สำหรับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่น S/36 และต่อมายังมีใช้อยู่กับรุ่น AS/400 [คอมพิวเตอร์] |
structural programming | การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์] |
Diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัย, Example: โปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์] |
utility program | โปรแกรมอรรถประโยชน์, Example: โปรแกรมที่ช่วยให้เราใช้งานคอมพิวเตอร์ได้สะดวกขึ้น เช่น ช่วยจัดการแฟ้มข้อมูล วินิจฉัยและแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้เครื่อง และการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ [คอมพิวเตอร์] |
Augmentative and Alternative Communication Program | ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology] |
Optical Character Recognition Program | โปรแกรมแปลงข้อความบนกระดาษเป็นข้อความในคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และรู้จำตัวพิมพ์หรือตัวเขียน โดยการสแกนตัวอักษรหรือข้อความ ด้วยแสง นำมาวิเคราะห์ภาพตัวอักษรหรือข้อความนั้น เพื่อแปลงมาเป็นรหัสตัวอักษรเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป [Assistive Technology] |
Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] |
Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] |
Z (Computer program language) | แซด (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
ABAP/4 (Computer program language) | เอบีเอพี/4 (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Activity programs | โปรแกรมกิจกรรม [TU Subject Heading] |
Activity programs in education | โปรแกรมกิจกรรมทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Affiliate programs (World Wile Web) | ธุรกิจตัวแทนโฆษณาออนไลน์ [TU Subject Heading] |
Aldus SuperPaint (Computer program) | อัลดัส ซูเปอร์เพนท์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
นักจัดรายการ | (n) DJ (disc jockey), See also: program manager, program director, Syn. ดีเจ, Example: ยามเช้าพ่อมักจะฟังรายการที่นักจัดรายการท่านนี้จัดเป็นประจำ, Thai Definition: ผู้ที่ทำหน้าดำเนินรายการในวิทยุ |
รายการโทรทัศน์ | (n) television programmes, See also: programs |
สาขาวิชา | (n) program |
หลักสูตร | (n) course, See also: syllabus, curriculum, programme, Example: ในปี 2517 ไทยเริ่มปฏิรูปการศึกษา มีการเปลี่ยนหลักสูตร เพื่อให้เด็กเรียน เพื่อการกระทำจริงมากขึ้น, Thai Definition: รายวิชาที่กำหนดไว้ให้ศึกษา เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง |
คั่นรายการ | (v) interrupt the program, Example: ผู้จัดคั่นรายการการประกวดนางงามด้วยการแสดงของเด็กจากโรงเรียนต่างๆ, Thai Definition: แทรกหรือกั้นอยู่ในระหว่างลำดับของรายการ |
แผนการ | (n) plan, See also: scheme, method, program, proposal, Syn. กลยุทธ์, Example: หัวหน้าฝ่ายต่างๆ เข้าพบผู้จัดการเพื่อแจ้งแผนการดำเนินการในเดือนต่อไป, Count Unit: แผน, Thai Definition: แผนตามที่กะกําหนดไว้ |
ภาษาซี | (n) C programming language, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่น ภาษาซี หรือภาษาโคบอล |
โปรแกรม | (n) program, See also: instruction, Syn. รายการ, Example: ไม่รู้ว่าโปรแกรมหนังเดือนนี้มีอะไรน่าสนใจบ้าง |
โปรแกรม | (n) program, See also: instruction, Syn. ชุดคำสั่ง, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ในปัจจุบันมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเก่ามาก, Count Unit: โปรแกรม, ชุด, Thai Definition: ชุดคำสั่งที่กำหนดระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ |
โปรแกรมการประมวลผล | (n) processing program, Example: ในการสรุปผล เราสามารถใช้โปรแกรมการประมวลผลได้ทันที |
โปรแกรมควบคุม | (n) control program, Example: การปฏิบัติการกลุ่มระเบียนกระทำโดยใช้โปรแกรมควบคุมข้อมูลในโปรแกรมปฏิบัติการ, Count Unit: โปรแกรม, Thai Definition: โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยเฉพาะเพื่อใช้สำหรับวางกำหนดการและตรวจการปฏิบัติการของโปรแกรมต่างๆ |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | (n) computer program, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชื่อคุกเกอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รวบรวมเอาประสบการณ์การหุงต้มอาหารของนายซิมิโนไว้, Count Unit: โปรแกรม |
โปรแกรมใช้งาน | (n) application program, Example: โปรแกรมใช้งานที่จะนำมาทดสอบนั้นต้องเป็นตัวเดียวกัน, Count Unit: โปรแกรม, ชุด, Thai Definition: ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปที่มีความสามารถทำงานเฉพาะอย่าง |
โปรแกรมตรวจหาไวรัส | (n) virus scan program, See also: virus checking program, Example: เวลาที่เราสงสัยว่ามีไวรัสอยู่ในเครื่องเราก็ต้องวิ่งโปรแกรมตรวจหาไวรัสเมื่อพบว่าแฟ้มใดถูกจู่โจม |
โปรแกรมภาษาเครื่อง | (n) object program, See also: target program, Example: โปรแกรมภาษาเครื่องไม่ได้จัดในรูปแบบที่ปฏิบัติการได้, Count Unit: โปรแกรม, Thai Definition: โปรแกรมที่ผ่านคอมไพเลอร์หรือแอสเซมเบลอร์แล้ว |
โปรแกรมเมอร์ | (n) programmer, Syn. นักเขียนโปรแกรม, Example: ์เมื่อนักวิเคราะห์ระบบวิเคราะห์งานเสร็จเรียบร้อยแล้วโปรแกรมเมอร์ก็ลงมือพัฒนาโปรแกรม, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Notes: (อังกฤษ) |
โปรแกรมย่อย | (n) function sub-program, See also: sub-program, subprogram, Example: การเขียนโปรแกรมในภาษาสูงบางครั้งจำเป็นต้องสร้างโปรแกรมย่อยในภาษาเครื่องขึ้นมาใช้งาน |
โปรแกรมหลัก | (n) main program |
สลับฉาก | (v) break the program, Syn. คั่นรายการ, Example: การแสดงสลับฉากด้วยการเล่นมายากลและเล่นตลก, Thai Definition: เรียกการแสดงสั้นๆ ที่คั่นระหว่างการแสดงละครแต่ละฉาก เพื่อให้มีเวลาสำหรับเปลี่ยนฉากละครว่า การแสดงสลับฉาก, แทรกรายการแสดง |
สูจิบัตร | (n) program, See also: agenda, programme, Syn. กำหนดการ, Example: ผู้ชมทุกคนจะได้รับแจกสูจิบัตรก่อนเข้าชมละคร, Count Unit: แผ่น, ฉบับ, เล่ม, Thai Definition: ใบแสดงรายละเอียดต่างๆ ของรายการ |
หมายกำหนดการ | (n) program, See also: schedule, timetable, Syn. กำหนดการ, แผนการ, Example: สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธที่สอง มีหมายกำหนดการเสด็จเยี่ยมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เอกสารแจ้งกำหนดขั้นตอนของพระราชพิธี ที่จะต้องอ้างพระบรมราชโองการ, Notes: (ราชา) |
กำหนดการ | (n) schedule, See also: agenda, program, itinerary, Syn. ตาราง, รายการ, หมายกำหนดการ, Example: เลขานุการมีหน้าที่จัดทำกำหนดการเดินทางของเจ้านาย, Thai Definition: ระเบียบการที่บอกถึงขั้นตอนของงานที่จะต้องทำตามลำดับ |
กิจวัตร | (n) routine, See also: habitual practice, daily routine, daily programme, daily task, routine matter, routine of, Syn. กิจวัตรประจำวัน, งานประจำวัน, Example: กิจวัตรของแต่ละคนจะแตกต่างกัน, Thai Definition: กิจที่ทำเป็นประจำ, กิจที่ทำอยู่เป็นนิตย์ |
กิจวัตรประจำวัน | (n) daily routine, See also: daily programme, daily task, routine matter, routine of work, Syn. งานประจำวัน, กิจวัตร, Example: การวิ่งรอบสนามหน้าหมู่บ้านถือเป็นกิจวัตรประจำวันของเขา |
นักโปรแกรม | (n) programmer, Example: ปัจจุบันตลาดแรงงานต้องการนักโปรแกรมที่มีฝีมือกันมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการทำโปรแกรม |
รายการวิทยุ | (n) radio program |
ฟรีโปรแกรม | [frī prōkraēm] (n, exp) EN: freeware FR: logiciel gratuit [ m ] ; programme gratuit [ m ] ; gratuiciel [ m ] ; freeware [ m ] |
จัดรายการ | [jat rāikān] (v, exp) EN: make a programme |
กำหนดการ | [kamnotkān] (n) EN: schedule ; agenda ; program = programme (Am.) ; itinerary FR: programme [ m ] ; agenda [ m ] |
กำหนดรายการ | [kamnot rāikān] (n, exp) EN: itinerary ; program |
กำหนดเวลา | [kamnot wēlā] (v, exp) FR: planifier ; programmer |
การเขียนโปรแกรม | [kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming FR: programmation (informatique) [ f ] |
การติดตั้งโปรแกรม | [kān tittang prōkraēm] (n, exp) FR: installation d'un logiciel [ f ] ; installation d'un programme [ f ] |
โครงการ | [khrōngkān] (n) EN: plan ; project ; program ; scheme FR: plan [ m ] ; projet [ m ] ; programme [ m ] ; mission [ f ] ; dessein [ m ] ; schéma [ m ] ; résolution [ f ] |
โครงการอนุเคราะห์ | [khrōngkān anukhrǿ] (n, exp) EN: aid programme |
โครงการอะพอลโล | [Khrōngkān Aphøllō] (n, prop) EN: Apollo Program FR: programme Apollo [ m ] |
โครงการช่วยเหลือ | [khrōngkān chūayleūa] (n, exp) EN: aid programme FR: programme d'aide [ m ] |
กิจวัตร | [kitjawat] (n) EN: outine ; habitual practice ; daily routine ; daily programme ; daily task ; routine matter ; routine of work ; one's daily tasks FR: routine [ f ] ; tâches quotidiennes [ fpl ] ; train-train [ m ] (fam.) ; habitude [ f ] ; ronron [ m ] (fam.) |
กิจวัตรประจำวัน | [kitjawat prajamwan] (n, exp) EN: daily routine ; daily programme ; daily task ; routine matter ; routine of work FR: routine quotidienne [ f ] ; train-train quotidien [ m ] (fam.) |
หลักสูตร | [laksūt] (n) EN: course ; syllabus ; curriculum ; programme FR: programme d'études [ m ] ; programme d'un cours [ m ] ; programme scolaire [ m ] |
ภาษาการเขียนโปรแกรม | [phāsā kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: programming language FR: langage de programmation [ m ] |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | [phāsā khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer language FR: langage informatique [ m ] ; langage de programmation [ m ] |
ภาษาโปรแกรม | [phāsā prōkraēm] (n, exp) EN: programming language FR: langage de programmation [ m ] |
ภาษาซี | [phāsā Sī] (tm) EN: C language ; C programming language FR: langage C [ m ] ; C [ m ] |
พัฒนาโปรแกรม | [phatthanā prōkraēm] (v, exp) FR: développer un programme ; développer une application |
โปรแกรม | [prōkraēm] (n) EN: programme ; program (Am.) ; software FR: programme [ m ] ; logiciel [ m ] ; application informatique [ f ] |
โปรแกรมช่วย | [prōkraēm chūay] (n, exp) FR: programme utilitaire [ m ] ; logiciel utilitaire [ m ] ; utilitaire [ m ] |
โปรแกรมช่วยต่าง ๆ | [prōkraēm chūay tāng tāng] (n, exp) FR: divers programmes utilitaires ; divers logiciels utilitaires ; divers utilitaires |
โปรแกรมฟรี | [prōkraēm frī] (n, exp) EN: freeware FR: programme gratuit [ m ] ; logiciel gratuit [ m ] ; logiciel libre [ m ] ; gratuiciel [ m ] |
โปรแกรมการฝึก | [prōkraēm kān feuk] (n, exp) EN: training program = training programme (Am.) FR: programme d'entraînement [ m ] |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | [prōkraēm khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer program FR: programme informatique [ m ] ; application informatique [ f ] |
โปรแกรมเมอร์ | [prōkraēmmoē] (n) EN: programmer ; computer programmer FR: programmeur [ m ] |
โปรแกรมแนนำ | [prōkraēm naenam] (n, exp) FR: programme recommandé [ m ] ; programme conseillé [ m ] |
โปรแกรมป้องกันไวรัส | [prōkraēm pøngkan wairas] (n, exp) EN: antivirus program FR: programme antivirus [ m ] ; antivirus [ m ] |
โปรแกรมประมวลผลคำ | [prōkraēm pramūanphon kham] (n, exp) EN: word processor FR: (programme de) traitement de texte [ m ] |
รายการ | [rāikān] (n) EN: list ; directory ; agenda ; catalogue ; program ; account FR: liste [ f ] ; répertoire [ m ] ; programme [ m ] |
รายการแสดง | [rāikān sadaēng] (n, exp) FR: programme de spectacle [ m ] |
รายการโทรทัศน์ | [rāikān thōrathat] (n, exp) EN: television programmes ; programs FR: programme de télévision [ m ] ; émission de télévision [ f ] |
รายการวิทยุ | [rāikān witthayu] (n, exp) EN: radio program FR: programme de radio [ m ] |
สลับฉาก | [salap chāk] (v, exp) EN: break the program |
สปายแวร์ | [sapāiwaē] (n) EN: spyware FR: spyware [ m ] ; programme espion [ m ] |
ซอฟต์แวร์ | [søpwaē] (n) EN: software FR: logiciel [ m ] ; software [ m ] ; programme (informatique) [ m ] |
สูจิบัตร | [sūjibat] (n) EN: program = programme (Am.) ; agenda FR: programme [ m ] |
ติดตั้งโปรแกรม | [tittang prōkraēm] (v, exp) EN: install software FR: installer un logiciel ; installer un programme |
academic program | (n) (education) a program of education in liberal arts and sciences (usually in preparation for higher education) |
anti-virus program | (n) a computer program that checks a computer for viruses and prevents their spread |
apollo program | (n) a program of space flights undertaken by US to land a man on the Moon |
audit program | (n) a listing of audit procedures to be performed in completing an audit, Syn. audit programme |
checking program | (n) a program that examines other computer programs for syntax errors |
c program | (n) a program written in C |
defense program | (n) a program for defending a country against its enemies, Syn. defence policy, defence program, defense policy |
degree program | (n) a course of study leading to an academic degree |
diagnostic program | (n) a program that recognizes and explains faults in the equipment or mistakes in a computer program |
editor program | (n) (computer science) a program designed to perform such editorial functions as rearrangement or modification or deletion of data, Syn. editor |
educational program | (n) a program for providing education |
erasable programmable read-only memory | (n) (computer science) a read-only memory chip that can be erased by ultraviolet light and programmed again with new data, Syn. EPROM |
fortran program | (n) a program written in FORTRAN |
gemini program | (n) a program of space flights undertaken by US in 1965 and 1966 |
incentive program | (n) a formal scheme for inducing someone (as employees) to do something, Syn. incentive scheme |
input program | (n) a utility program that organizes the input to a computer |
library program | (n) a program in a program library |
linear programming | (n) a mathematical technique used in economics; finds the maximum or minimum of linear functions in many variables subject to constraints |
lisp program | (n) a program written in LISP |
logic programming | (n) creating a program that enables the computer to reason logically, Syn. logic programing |
malevolent program | (n) a computer program designed to have undesirable or harmful effects |
mercury program | (n) a program of rocket-powered flights undertaken by US between 1961 and 1963 with the goal of putting a man in orbit around the earth |
monitor program | (n) a program that observes and regulates and controls or verifies the operations of a data-processing system, Syn. monitoring program |
multiprogramming | (n) the execution of two or more computer programs by a single computer, Syn. concurrent execution |
network programming | (n) the schedule of programs to be broadcast on a network |
news program | (n) a program devoted to current events, often using interviews and commentary, Syn. news, news show |
object-oriented programming | (n) creating a program that can use and support objects, Syn. object-oriented programing |
object-oriented programming language | (n) (computer science) a programming language that enables the programmer to associate a set of procedures with each type of data structure, Syn. object-oriented programing language |
object program | (n) a fully compiled or assembled program ready to be loaded into the computer, Syn. target program, Ant. source program |
output program | (n) a utility program that organizes the output of a computer |
pilot program | (n) a program exemplifying a contemplated series; intended to attract sponsors, Syn. pilot, pilot film |
preemployment training program | (n) a training program to prepare you for employment |
program | (n) a system of projects or services intended to meet a public need, Syn. programme |
program | (n) an announcement of the events that will occur as part of a theatrical or sporting event, Syn. programme |
program | (n) (computer science) a sequence of instructions that a computer can interpret and execute, Syn. programme, computer program, computer programme |
program | (n) a performance (or series of performances) at a public presentation, Syn. programme |
program | (v) arrange a program of or for, Syn. programme |
program | (v) write a computer program, Syn. programme |
programma | (n) an edict that has been publicly posted |
programmer | (n) a person who designs and writes and tests computer programs, Syn. coder, software engineer, computer programmer |
programming | (n) creating a sequence of instructions to enable the computer to do something, Syn. computer programming, computer programing, programing |
programming language | (n) (computer science) a language designed for programming computers, Syn. programing language |
program music | (n) musical compositions intended to evoke images or remind the listener of events, Syn. programme music |
program trading | (n) a trading technique involving large blocks of stock with trades triggered by computer programs |
quiz program | (n) a game show in which contestants answer questions |
reading program | (n) a program designed to teach literacy skills |
rehabilitation program | (n) a program for restoring someone to good health |
relocatable program | (n) a program that can be located in different parts of memory at different times |
reusable program | (n) a program that can be loaded once and executed repeatedly |
self-adapting program | (n) a program that can change its performance in response to its environment |
computer program | n. a sequence of instructions, stored in any medium, that can be interpreted and executed by a computer; -- called most frequently a program. This term is used both for the written program (a document) and for its corresponding electronic version stored or executed on the computer. See instruction; as, Version 1.0 of the program had a serious bug that caused the computer to crash frequently.. Syn. -- program, program, computer programme. [ WordNet 1.5 +PJC ] |
higher programming language | n. (Computers) A computer programming language with an instruction set allowing one instruction to code for several assembly language instructions. The aggregation of several assembly-language instructions into one instruction allows much greater efficiency in writing computer programs. Most programs are now written in some higher programming language, such as BASIC, FORTRAN, COBOL, C, C++, PROLOG, or JAVA. [ PJC ] |
object program | n. (Computers) A computer program which has been translated into machine language by a compiler and assembler, but not yet linked into an executable program; sometimes called an obj file, because its file name typically has the extension “obj” . [ PJC ] Variants: object file |
Program | n. Same as Programme. [ 1913 Webster ] |
Programma | ‖n.; pl. Programmata [ L. See Programme. ] [ 1913 Webster ] 1. (Gr. Antiq.) Any law, which, after it had passed the Athenian senate, was fixed on a tablet for public inspection previously to its being proposed to the general assembly of the people. [ 1913 Webster ] 2. An edict published for public information; an official bulletin; a public proclamation. [ 1913 Webster ] 3. See Programme. [ 1913 Webster ] 4. A preface. [ Obs. ] T. Warton. [ 1913 Webster ] |
Programme | n. [ L. programma a public proclamation, manifesto, Gr. pro`gramma, fr. progra`fein to write before or in public; pro` before, forth + gra`fein to write; cf. F. programme. See Graphic. ] That which is written or printed as a public notice or advertisement; a scheme; a prospectus; especially, a brief outline or explanation of the order to be pursued, or the subjects embraced, in any public exercise, performance, or entertainment; a preliminary sketch. [ 1913 Webster ] Programme music (Mus.), descriptive instrumental music which requires an argument or programme to explain the meaning of its several movements. [ 1913 Webster ]
|
计划 | [jì huà, ㄐㄧˋ ㄏㄨㄚˋ, 计 划 / 計 劃] plan; project; program; to plan; to map out #433 [Add to Longdo] |
方案 | [fāng àn, ㄈㄤ ㄢˋ, 方 案] plan; program (for action etc); proposal; proposed bill #852 [Add to Longdo] |
规划 | [guī huà, ㄍㄨㄟ ㄏㄨㄚˋ, 规 划 / 規 劃] plan; program #854 [Add to Longdo] |
节目 | [jié mù, ㄐㄧㄝˊ ㄇㄨˋ, 节 目 / 節 目] program; item (on a program) #1,365 [Add to Longdo] |
播出 | [bō chū, ㄅㄛ ㄔㄨ, 播 出] to broadcast; to put out TV programs #4,061 [Add to Longdo] |
电视节目 | [diàn shì jié mù, ㄉㄧㄢˋ ㄕˋ ㄐㄧㄝˊ ㄇㄨˋ, 电 视 节 目 / 電 視 節 目] television program #11,052 [Add to Longdo] |
纪录片 | [jì lù piàn, ㄐㄧˋ ㄌㄨˋ ㄆㄧㄢˋ, 纪 录 片 / 紀 錄 片] newsreel; documentary (film or TV program) #11,088 [Add to Longdo] |
纲领 | [gāng lǐng, ㄍㄤ ㄌㄧㄥˇ, 纲 领 / 綱 領] program; guiding principle #11,191 [Add to Longdo] |
纲 | [gāng, ㄍㄤ, 纲 / 綱] head rope of a fishing net; guiding principle; key link; class (taxonomy); outline; program #11,548 [Add to Longdo] |
编程 | [biān chéng, ㄅㄧㄢ ㄔㄥˊ, 编 程 / 編 程] to program #17,611 [Add to Longdo] |
大计 | [dà jì, ㄉㄚˋ ㄐㄧˋ, 大 计 / 大 計] large scale program of lasting importance; project of paramount importance; to think big; annual national audit #20,840 [Add to Longdo] |
点播 | [diǎn bō, ㄉㄧㄢˇ ㄅㄛ, 点 播 / 點 播] webcast; to request item for broadcast on radio program; dibble seeding; spot seeding #21,482 [Add to Longdo] |
程序员 | [chéng xù yuán, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄩㄢˊ, 程 序 员 / 程 序 員] programmer #25,015 [Add to Longdo] |
政要 | [zhèng yào, ㄓㄥˋ ㄧㄠˋ, 政 要] political program; platform #26,093 [Add to Longdo] |
程式 | [chéng shì, ㄔㄥˊ ㄕˋ, 程 式] form; pattern; formula; program #33,180 [Add to Longdo] |
程序设计 | [chéng xù shè jì, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 程 序 设 计 / 程 序 設 計] computer programming #37,442 [Add to Longdo] |
粮票 | [liáng piào, ㄌㄧㄤˊ ㄆㄧㄠˋ, 粮 票 / 糧 票] coupons for food or grain used in a PRC economic program c. 1955-1993 #37,537 [Add to Longdo] |
爪哇 | [Zhuǎ wā, ㄓㄨㄚˇ ㄨㄚ, 爪 哇] Java (programming language) #41,419 [Add to Longdo] |
记录片 | [jì lù piàn, ㄐㄧˋ ㄌㄨˋ ㄆㄧㄢˋ, 记 录 片 / 記 錄 片] documentary movie or TV program #43,454 [Add to Longdo] |
程序性 | [chéng xù xìng, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄒㄧㄥˋ, 程 序 性] program #44,470 [Add to Longdo] |
可编程 | [kě biān chéng, ㄎㄜˇ ㄅㄧㄢ ㄔㄥˊ, 可 编 程 / 可 編 程] programmable #49,922 [Add to Longdo] |
网眼 | [wǎng yǎn, ㄨㄤˇ ㄧㄢˇ, 网 眼 / 網 眼] mesh; net; Web-Eye (Windows video program) #50,094 [Add to Longdo] |
半工半读 | [bàn gōng bàn dú, ㄅㄢˋ ㄍㄨㄥ ㄅㄢˋ ㄉㄨˊ, 半 工 半 读 / 半 工 半 讀] part work; part study; work-study program #53,268 [Add to Longdo] |
爪哇岛 | [Zhuǎ wā dǎo, ㄓㄨㄚˇ ㄨㄚ ㄉㄠˇ, 爪 哇 岛 / 爪 哇 島] Java (island of Indonesia); Java (programming language) #58,316 [Add to Longdo] |
要图 | [yào tú, ㄧㄠˋ ㄊㄨˊ, 要 图 / 要 圖] main plan; important program #70,082 [Add to Longdo] |
党纲 | [dǎng gāng, ㄉㄤˇ ㄍㄤ, 党 纲 / 黨 綱] (political) party platform; party program #70,275 [Add to Longdo] |
政纲 | [zhèng gāng, ㄓㄥˋ ㄍㄤ, 政 纲 / 政 綱] political program; platform #72,693 [Add to Longdo] |
线性规划 | [xiàn xìng guī huà, ㄒㄧㄢˋ ㄒㄧㄥˋ ㄍㄨㄟ ㄏㄨㄚˋ, 线 性 规 划 / 線 性 規 劃] linear programming #90,181 [Add to Longdo] |
报幕 | [bào mù, ㄅㄠˋ ㄇㄨˋ, 报 幕 / 報 幕] announce the items on a (theatrical) program #103,002 [Add to Longdo] |
可移植性 | [kě yí zhí xìng, ㄎㄜˇ ㄧˊ ㄓˊ ㄒㄧㄥˋ, 可 移 植 性] portability (programming language) #109,107 [Add to Longdo] |
百年树人 | [bǎi nián shù rén, ㄅㄞˇ ㄋㄧㄢˊ ㄕㄨˋ ㄖㄣˊ, 百 年 树 人 / 百 年 樹 人] It takes ten years to nurture a tree, but a hundred years to train a man (成语 saw). A good education program takes a long time to develop.; refers to the saw 十年樹木, 百年樹人|十年树木, 百年树人 #124,867 [Add to Longdo] |
世界粮食署 | [shì jiè liáng shi shǔ, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄌㄧㄤˊ ㄕ˙ ㄕㄨˇ, 世 界 粮 食 署 / 世 界 糧 食 署] World food program (United Nations aid agency) [Add to Longdo] |
并行程序 | [bìng xíng chéng xù, ㄅㄧㄥˋ ㄒㄧㄥˊ ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ, 并 行 程 序 / 並 行 程 序] parallel program [Add to Longdo] |
十年树木,百年树人 | [shí nián shù mù, bǎi nián shù rén, ㄕˊ ㄋㄧㄢˊ ㄕㄨˋ ㄇㄨˋ, ㄅㄞˇ ㄋㄧㄢˊ ㄕㄨˋ ㄖㄣˊ, 十 年 树 木 , 百 年 树 人 / 十 年 樹 木 , 百 年 樹 人] It takes ten years to nurture a tree, but a hundred years to train a man (成语 saw). A good education program takes a long time to develop. [Add to Longdo] |
可擦写可编程只读存储器 | [kě cā xiě kě biān chéng zhī dú cún chǔ qì, ㄎㄜˇ ㄘㄚ ㄒㄧㄝˇ ㄎㄜˇ ㄅㄧㄢ ㄔㄥˊ ㄓ ㄉㄨˊ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 可 擦 写 可 编 程 只 读 存 储 器 / 可 擦 寫 可 編 程 祇 讀 存 儲 器] EPROM; Erasable programmable read-only memory [Add to Longdo] |
可移植 | [kě yí zhí, ㄎㄜˇ ㄧˊ ㄓˊ, 可 移 植] portable (programming language) [Add to Longdo] |
埃尔朗根纲领 | [Āi ěr lǎng gēn gāng lǐng, ㄞ ㄦˇ ㄌㄤˇ ㄍㄣ ㄍㄤ ㄌㄧㄥˇ, 埃 尔 朗 根 纲 领 / 埃 爾 朗 根 綱 領] Felix Klein's Erlangen program (1872) on geometry and group theory) [Add to Longdo] |
大湄公河次区域合作 | [Dà Méi gōng hé cì qū yù hé zuò, ㄉㄚˋ ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄘˋ ㄑㄩ ㄩˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 大 湄 公 河 次 区 域 合 作 / 大 湄 公 河 次 區 域 合 作] Greater Mekong Subregion (GMS), economic cooperation program between China and Vietnam [Add to Longdo] |
应用程式 | [yìng yòng chéng shì, ㄧㄥˋ ㄩㄥˋ ㄔㄥˊ ㄕˋ, 应 用 程 式 / 應 用 程 式] application; (computer) program [Add to Longdo] |
应用程式介面 | [yìng yòng chéng shì jiè miàn, ㄧㄥˋ ㄩㄥˋ ㄔㄥˊ ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ, 应 用 程 式 介 面 / 應 用 程 式 介 面] application programming interface; API [Add to Longdo] |
朝鲜核谈 | [Cháo xiǎn hé tán, ㄔㄠˊ ㄒㄧㄢˇ ㄏㄜˊ ㄊㄢˊ, 朝 鲜 核 谈 / 朝 鮮 核 談] talks on North Korea's nuclear program [Add to Longdo] |
核武器研制计划 | [hé wǔ qì yán zhì jì huà, ㄏㄜˊ ㄨˇ ㄑㄧˋ ㄧㄢˊ ㄓˋ ㄐㄧˋ ㄏㄨㄚˋ, 核 武 器 研 制 计 划 / 核 武 器 研 製 計 劃] nuclear weapons (manufacturing) program [Add to Longdo] |
石油换食品项目 | [shí yóu huàn shí pǐn xiàng mù, ㄕˊ ㄧㄡˊ ㄏㄨㄢˋ ㄕˊ ㄆㄧㄣˇ ㄒㄧㄤˋ ㄇㄨˋ, 石 油 换 食 品 项 目 / 石 油 換 食 品 項 目] Iraq Oil for Food Program [Add to Longdo] |
程式管理员 | [chéng shì guǎn lǐ yuán, ㄔㄥˊ ㄕˋ ㄍㄨㄢˇ ㄌㄧˇ ㄩㄢˊ, 程 式 管 理 员 / 程 式 管 理 員] program manager (Windows) [Add to Longdo] |
程式语言 | [chéng shì yǔ yán, ㄔㄥˊ ㄕˋ ㄩˇ ㄧㄢˊ, 程 式 语 言 / 程 式 語 言] programming language [Add to Longdo] |
综艺节目 | [zōng yì jié mù, ㄗㄨㄥ ㄧˋ ㄐㄧㄝˊ ㄇㄨˋ, 综 艺 节 目 / 綜 藝 節 目] Variety show, programme of assorted entertainment [Add to Longdo] |
联合国环境规划署 | [Lián hé guó huán jìng guī huà shǔ, ㄌㄧㄢˊ ㄏㄜˊ ㄍㄨㄛˊ ㄏㄨㄢˊ ㄐㄧㄥˋ ㄍㄨㄟ ㄏㄨㄚˋ ㄕㄨˇ, 联 合 国 环 境 规 划 署 / 聯 合 國 環 境 規 劃 署] United Nations Environment Program (UNEP) [Add to Longdo] |
联合国开发计划署 | [Lián hé guó Kāi fā Jì huà shǔ, ㄌㄧㄢˊ ㄏㄜˊ ㄍㄨㄛˊ ㄎㄞ ㄈㄚ ㄐㄧˋ ㄏㄨㄚˋ ㄕㄨˇ, 联 合 国 开 发 计 划 署 / 聯 合 國 開 發 計 劃 署] United Nations Development Program [Add to Longdo] |
行动方案 | [xíng dòng fāng àn, ㄒㄧㄥˊ ㄉㄨㄥˋ ㄈㄤ ㄢˋ, 行 动 方 案 / 行 動 方 案] program of action [Add to Longdo] |
视频节目 | [shì pín jié mù, ㄕˋ ㄆㄧㄣˊ ㄐㄧㄝˊ ㄇㄨˋ, 视 频 节 目 / 視 頻 節 目] video program [Add to Longdo] |
番組 | [ばんぐみ, bangumi] (n) program (e.g. TV); programme; (P) #136 [Add to Longdo] |
計画 | [けいかく, keikaku] (n, vs) plan; project; schedule; scheme; program; programme; (P) #580 [Add to Longdo] |
提供 | [ていきょう, teikyou] (n, vs) offer; tender; program sponsoring; programme sponsoring; furnishing; provisioning; supply; (P) #627 [Add to Longdo] |
予定 | [よてい, yotei] (n, vs) plans; arrangement; schedule; program; programme; expectation; estimate; (P) #635 [Add to Longdo] |
値(P);価;直;價(oK) | [あたい(値;価;價)(P);ね(値;直), atai ( atai ; atai ; atai )(P); ne ( atai ; choku )] (n, adj-no) (1) price; cost; (2) value; worth; merit; (3) (あたい only) { math } value; count; number; (4) (あたい only) { comp } variable (computer programming, programing); (P) #1,346 [Add to Longdo] |
実行 | [じっこう, jikkou] (n, vs) practice; practise; performance; execution (e.g. program) (programme); realization; realisation; implementation; (P) #1,570 [Add to Longdo] |
区域 | [くいき, kuiki] (n) (1) limits; boundary; domain; zone; sphere; territory; (2) area (e.g. in programming languages); (P) #1,620 [Add to Longdo] |
学部 | [がくぶ, gakubu] (n, adj-no) (1) department of a university; (adj-f) (2) undergraduate (course, program, etc.); (P) #1,742 [Add to Longdo] |
プログラム | [puroguramu] (n, vs) { comp } program; programme; (P) #2,213 [Add to Longdo] |
代わり(P);替わり(P);代り;替り | [かわり, kawari] (n, adj-no) (1) substitute; replacement; substituting; replacing; (2) stand-in; proxy; alternate; deputy; relief; successor; (3) (usu. as 〜代わりに, etc.) (See 代わりに) compensation; exchange; return; (4) (usu. as お代わり) (See お代わり・おかわり・1) second helping; another cup; seconds; (5) (abbr) (esp. 替わり, 替り) (See 替わり狂言) upcoming program; upcoming programme; (P) #2,233 [Add to Longdo] |
立て | [だて, date] (suf) (1) particularly; especially; (2) indicates the number of horses or oxen drawing a carriage; indicates the number of oars on a boat; (3) indicates the number of movies, plays, etc. comprising a single program; indicates the number of items or methods used #2,980 [Add to Longdo] |
関数;函数(oK) | [かんすう, kansuu] (n) { comp } function (e.g. math, programming, programing) #3,202 [Add to Longdo] |
走行 | [そうこう, soukou] (n, vs) running a wheeled vehicle (e.g. car); running to program, job, etc.; traveling; travelling; (P) #3,732 [Add to Longdo] |
次第 | [しだい, shidai] (n-adv, n) (1) dependent upon; (2) as soon as; immediately (upon); (n) (3) circumstances; (4) order; precedence; program; programme; agenda; (P) #4,551 [Add to Longdo] |
引数;引き数 | [ひきすう;いんすう(引数), hikisuu ; insuu ( hikisuu )] (n) { comp } argument (e.g. function, program, programme) #4,625 [Add to Longdo] |
日程 | [にってい, nittei] (n) schedule; program; programme; agenda; (P) #4,800 [Add to Longdo] |
プログラミング | [puroguramingu] (n, vs) { comp } programming; programing #5,471 [Add to Longdo] |
特番 | [とくばん, tokuban] (n) (abbr) (See 特別番組) special radio or television programme #5,529 [Add to Longdo] |
中核(P);仲核 | [ちゅうかく, chuukaku] (n) { comp } kernel; core; nucleus; resident control program; (P) #6,920 [Add to Longdo] |
配列(P);排列 | [はいれつ, hairetsu] (n, vs) (1) arrangement; disposition; (2) { comp } array (programming, programing); (P) #7,358 [Add to Longdo] |
本数 | [ほんすう, honsuu] (n) number of long thin objects (movies, TV programs, baseball games, etc.) (programmes); (P) #7,866 [Add to Longdo] |
モニター(P);モニタ | [monita-(P); monita] (n) (1) { comp } (computer) monitor; (n, vs) (2) consumer who comments on products, television programs, etc. (programmes); (3) { comp } (See カウンター・4, モニ) program or utility that monitors a program or activity; (P) #9,792 [Add to Longdo] |
凍結 | [とうけつ, touketsu] (n, vs) freeze (e.g. program, food, etc.); (P) #10,249 [Add to Longdo] |
組む | [くむ, kumu] (v5m) (1) to cross (legs or arms); to link (arms); (2) to put together; to construct; to assemble; to produce (e.g. TV program); (3) to braid; to plait; (4) to grapple; to wrestle; (5) to unite; to link up; to form an alliance; (6) to set (e.g. type); (7) to issue (e.g. money order); (P) #11,341 [Add to Longdo] |
サポーター(P);サポータ | [sapo-ta-(P); sapo-ta] (n) (1) supporter; (2) regular (guest) on a TV program; (P) #11,345 [Add to Longdo] |
ルビー(P);ルビ(P) | [rubi-(P); rubi (P)] (n) (1) (esp. ルビー) ruby; (2) (esp. ルビ) ruby character; small hiragana or katakana readings of kanji usually above or to the side of the kanji (esp. used by printers and in ref. to printed material); (3) { comp } Ruby (programming language); (P) #12,192 [Add to Longdo] |
演目 | [えんもく, enmoku] (n) (abbr) (See 演奏曲目) program (musical, concert, theatrical, etc.); programme; (P) #13,149 [Add to Longdo] |
スキン | [sukin] (n) (1) skin; (2) (col) condom; (3) { comp } skin (e.g. alternative look and feel for interface of a program); (P) #14,881 [Add to Longdo] |
画策;劃策 | [かくさく, kakusaku] (n, vs) plan; scheme; program formulation; programme formulation; maneuver; manoeuvre #14,943 [Add to Longdo] |
曲目 | [きょくもく, kyokumoku] (n) program; programme; musical selection; tunes; (P) #17,017 [Add to Longdo] |
プロローグ | [puroro-gu] (n) (1) prologue; (2) { comp } Programming in Logic; PROLOG; (P) #17,020 [Add to Longdo] |
千秋楽 | [せんしゅうらく, senshuuraku] (n) concluding festivities; final day of a sumo tournament; concluding program; concluding programme; (P) #17,572 [Add to Longdo] |
抜ける(P);脱ける | [ぬける, nukeru] (v1, vi) (1) to come out; to fall out; to be omitted; to be missing; to escape; to come loose; (2) to fade; to discolour; (3) to wear out (to the point of forming a hole, e.g. clothes); (4) to leave (e.g. a meeting); (5) to be clear; to be transparent (e.g. of the sky); (6) { comp } to exit (a program loop); (P) #18,062 [Add to Longdo] |
目玉 | [めだま, medama] (n) (1) eyeball; (2) (abbr) special feature; centerpiece; showpiece; drawcard; (3) special program; loss leader; (P) #18,367 [Add to Longdo] |
プログラマー;プログラマ | [purogurama-; purogurama] (n) { comp } programmer #19,606 [Add to Longdo] |
C言語 | [シーげんご, shi-gengo] (n) { comp } C programming language [Add to Longdo] |
EEPROM | [イーイープロム, i-i-puromu] (n) { comp } electrically erasable programmable read-only memory; EEPROM; E2PROM [Add to Longdo] |
NULLPO | [ぬるぽ;ヌルポ;なるぽ;ナルポ, nurupo ; nurupo ; narupo ; narupo] (n) (uk) (sl) null pointer exception (in the Java programming language) [Add to Longdo] |
UNEP | [ユネップ, yuneppu] (n) United Nations Environment Program; UNEP [Add to Longdo] |
ふつおた;フツオタ | [futsuota ; futsuota] (n) (from 普通のお便り) listeners' corner (portion of radio programming for correspondence from listeners) [Add to Longdo] |
アウトテイク | [autoteiku] (n) outtake (of a film, television program, etc.) [Add to Longdo] |
アクションプログラム | [akushonpuroguramu] (n) action program; action programme [Add to Longdo] |
アクセス番組 | [アクセスばんぐみ, akusesu bangumi] (n) access program; access programme [Add to Longdo] |
アクティブプログラム | [akuteibupuroguramu] (n) { comp } active program [Add to Longdo] |
アドバンストプログラム間通信 | [アドバンストプログラムかんつうしん, adobansutopuroguramu kantsuushin] (n) { comp } Advanced Program-to-Program Communication; APPC [Add to Longdo] |
アフィ | [afi] (n) (col) (abbr) (See アフィリエートプログラム) affiliate program (of Internet advertising) [Add to Longdo] |
アフィリエートプログラム;アフィリエイトプログラム | [afirie-topuroguramu ; afirieitopuroguramu] (n) { comp } affiliate program (of Internet advertising) [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラミングインタフェース | [apurike-shonpuroguraminguintafe-su] (n) { comp } application programming interface; API [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラム | [apurike-shonpuroguramu] (n) { comp } application program; application programme [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラムパッケージ | [apurike-shonpuroguramupakke-ji] (n) { comp } application program package [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラミングインタフェース | [あぷりけーしょんぷろぐらみんぐいんたふぇーす, apurike-shonpuroguraminguintafe-su] application programming interface (API) [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラム | [あぷりけーしょんぷろぐらむ, apurike-shonpuroguramu] application program [Add to Longdo] |
イニシャルプログラムロード | [いにしゃるぷろぐらむろーど, inisharupuroguramuro-do] initial program load (IPL) [Add to Longdo] |
インストーラ | [いんすとーら, insuto-ra] installer (installation program) [Add to Longdo] |
インストールプログラム | [いんすとーるぷろぐらむ, insuto-rupuroguramu] installation program [Add to Longdo] |
インストレーションプログラム | [いんすとれーしょんぷろぐらむ, insutore-shonpuroguramu] installation program [Add to Longdo] |
インタプリタ | [いんたぷりた, intapurita] interpreter, interpretive program [Add to Longdo] |
オーサリングプログラム | [おーさりんぐぷろぐらむ, o-saringupuroguramu] authoring program [Add to Longdo] |
オブジェクト指向プログラミング | [オブジェクトしこうプログラミング, obujiekuto shikou puroguramingu] object-oriented programming [Add to Longdo] |
キーボードプログラム入力式計算器 | [キーボードプログラムにゅうりょくしきけいさんき, ki-bo-dopuroguramu nyuuryokushikikeisanki] calculator with keyboard program input [Add to Longdo] |
キーボード及び外部プログラム入力式計算器 | [キーボードおよびがいぶプログラムにゅうりょくしきけいさんき, ki-bo-do oyobigaibu puroguramu nyuuryokushikikeisanki] calculator with keyboard and external program input [Add to Longdo] |
コードプログラミング | [こーどぷろぐらみんぐ, ko-dopuroguramingu] code programming [Add to Longdo] |
コンピュータプログラマー | [こんぴゅーたぷろぐらまー, konpyu-tapurogurama-] computer programmer [Add to Longdo] |
サービスプログラム | [さーびすぷろぐらむ, sa-bisupuroguramu] utility program, service program [Add to Longdo] |
サービスルーチンプログラム | [さーびするーちんぷろぐらむ, sa-bisuru-chinpuroguramu] utility routine (program), service routine (program) [Add to Longdo] |
サブプログラム | [さぶぷろぐらむ, sabupuroguramu] subprogram [Add to Longdo] |
サブルーチン副プログラム | [サブルーチンふくプログラム, saburu-chin fuku puroguramu] subroutine subprogram [Add to Longdo] |
シェルプログラマ | [しえるぷろぐらま, shierupurogurama] shell program [Add to Longdo] |
システムプログラマ | [しすてむぷろぐらま, shisutemupurogurama] system programmer [Add to Longdo] |
システム制御プログラム | [システムせいぎょプログラム, shisutemu seigyo puroguramu] system control program [Add to Longdo] |
スプレッドシートプログラム | [すぷれっどしーとぷろぐらむ, supureddoshi-topuroguramu] spreadsheet program [Add to Longdo] |
ソースプログラム | [そーすぷろぐらむ, so-supuroguramu] source program [Add to Longdo] |
チャネルプログラム | [ちゃねるぷろぐらむ, chanerupuroguramu] channel program [Add to Longdo] |
テレビ番組 | [テレビばんぐみ, terebi bangumi] television program [Add to Longdo] |
ドローイングプログラム | [どろーいんぐぷろぐらむ, doro-ingupuroguramu] drawing program [Add to Longdo] |
バッチ型オンライン処理プログラム | [バッチけいオンラインしょりプログラム, bacchi kei onrain shori puroguramu] BMP, Batch Message Processing Program [Add to Longdo] |
パイロットプログラム | [ぱいろっとぷろぐらむ, pairottopuroguramu] pilot program [Add to Longdo] |
ピクチャ | [ぴくちゃ, pikucha] picture (e.g. in programming languages) [Add to Longdo] |
フォントプログラム | [ふぉんとぷろぐらむ, fontopuroguramu] font program [Add to Longdo] |
ブートストラッププログラム | [ぶーとすとらっぷぷろぐらむ, bu-tosutorappupuroguramu] bootstrap program [Add to Longdo] |
ブートプログラム | [ぶーとぷろぐらむ, bu-topuroguramu] boot(strap) program [Add to Longdo] |
プログラマ | [ぷろぐらま, purogurama] programmer [Add to Longdo] |
プログラマーズツールキット | [ぷろぐらまーずつーるきっと, purogurama-zutsu-rukitto] programmer's tool kit [Add to Longdo] |
プログラミング | [ぷろぐらみんぐ, puroguramingu] programming [Add to Longdo] |
プログラミングシステム | [ぷろぐらみんぐしすてむ, puroguramingushisutemu] programming system [Add to Longdo] |
プログラミング可能 | [プログラミングかのう, puroguramingu kanou] programmable (an) [Add to Longdo] |
プログラミング環境 | [プログラミングかんきょう, puroguramingu kankyou] programming environment [Add to Longdo] |
プログラミング言語 | [プログラミングげんご, puroguramingu gengo] programming language [Add to Longdo] |
プログラム | [ぷろぐらむ, puroguramu] program (vs) [Add to Longdo] |
プログラムカウンタ | [ぷろぐらむかうんた, puroguramukaunta] program counter [Add to Longdo] |
プログラムデータ | [ぷろぐらむでーた, puroguramude-ta] program data [Add to Longdo] |
プログラムディレクター | [ぷろぐらむでいれくたー, puroguramudeirekuta-] program director, PD [Add to Longdo] |
プログラムファンクションキー | [ぷろぐらむふぁんくしょんきー, puroguramufankushonki-] program function (PF) key [Add to Longdo] |
プログラムライブラリ | [ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo] |
プログラムレジスタ | [ぷろぐらむれじすた, puroguramurejisuta] instruction address register, program register, instruction pointer register [Add to Longdo] |
プログラム依存形障害 | [プログラムいぞんがたしょうがい, puroguramu izongatashougai] program-sensitive fault [Add to Longdo] |
プログラム可能 | [プログラムかのう, puroguramu kanou] programmable (an) [Add to Longdo] |
プログラム可能読取り専用記憶装置 | [プログラムかのうよみとりせんようきおくそうち, puroguramu kanouyomitorisenyoukiokusouchi] programmable read-only memory, PROM (abbr.) [Add to Longdo] |
プログラム言語 | [プログラムげんご, puroguramu gengo] programming language [Add to Longdo] |
プログラム固定式計算器 | [プログラムこていしきけいさんき, puroguramu koteishikikeisanki] nonprogrammable calculator [Add to Longdo] |