432 ผลลัพธ์ สำหรับ *libra*
/ลี้ บร่า/     /L IY1 B R AA0/     /lˈiːbrɑː/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: libra, -libra-

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Libra(n) กลุ่มดาวตราชั่ง
Libra(n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libran
Libra(n) ราศีตุล, See also: จักรราศีตุล
Libran(n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libra
library(n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย
library(n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์
library(n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ
calibrate(vt) แสดงเครื่องหมายการวัด
librarian(n) บรรณารักษ์
equilibrate(vt) ทำให้สมดุล, See also: ทำให้เท่ากัน, ทำให้อยู่ในสภาพที่สมดุล, Syn. stabilize
equilibrate(vi) สมดุลกัน, See also: เท่ากัน, Syn. stabilize
equilibrator(n) เครื่องมือที่ช่วยรักษาความสมดุล
librarianship(n) ตำแหน่งบรรณารักษ์
librarianship(n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. librarian science
mobile library(n) ห้องสมุดเคลื่อนที่
library science(n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. library science
Library of Congress(n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในรัฐวอชิงตัน

Hope Dictionary
calibrate(แคล'ลีเบรท) { calibrated, calibrating, calibrates } vt. ตรวจตา, วัด, หาค่าแบ่งออกเป็นขีด ๆ , ทำให้เป็นมาตรฐาน, See also: calibrator, calibrater n.
librarian(ไลแบร'เรียน) n. บรรณารักษ์., See also: librarianship n. ดูlibrarian
library(ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์
library cardn. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด
library of congressn. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน
private libraryคลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library
program libraryคลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library

Nontri Dictionary
librarian(n) บรรณารักษ์
library(n) หอสมุด, ห้องสมุด

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
private libraryคลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program library; libraryคลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program library; libraryคลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pelecypod; lamellibranchหอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
library; program libraryคลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
library; program libraryคลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
library routineรูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
library subroutineซับรูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
library tapeแถบบันทึกจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
lamellibranch; pelecypodหอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
system libraryคลังโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
subroutine libraryคลังซับรูทีน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
object libraryคลังจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
occlusal equilibrationการปรับดุลการบดเคี้ยว [ ดู occlusal adjustment; occlusal correction ๒ ประกอบ ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
mandibular equilibrationการทำให้ขากรรไกรล่างสมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
macrolibraryคลังแมโคร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
calibrated circuit breakerตัวตัดวงจรปรับพิกัดแล้ว [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
calibrationการเทียบมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
calibrationการเทียบมาตรฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
depository libraryห้องสมุดรับฝาก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
equilibrationการรักษาสมดุล, การปรับสมดุล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
equilibrationการทำให้สมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
equilibratorเครื่องมือทำให้สมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
tape libraryคลังแถบบันทึก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
test libraryคลังโปรแกรมทดสอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Integrated Library Systemsระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Digital libraryห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Academic libraryห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Agricultural libraryห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
American Library Associationสมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Art libraryห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Economics libraryห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Fishery libraryห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Hospital libraryห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Librarianบรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Reference librarianบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
School librarianบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Scientific libraryห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book mobile libraryห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Branch libraryห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library classificationการจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
College librarianบรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Comparative librarianshipบรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Congress of Southeast Asian Librariansการประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Demographic libraryห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Dental libraryห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Digital libraryห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Interlibrary loanการยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Federation of Library Assoสหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Libraries-Professional ethicจรรยาบรรณบรรณารักษ์, Example: <strong>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ พ.ศ.2550</strong> <p>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ประกาศใช้เมื่อพ.ศ.2521 ปรับปรุง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2529 การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับปรุงครั้งที่สอง พ.ศ.2550 เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในวิชาชีพและสังคม จรรยาบรรณนี้ใช้เป็นแนวทางสำหรับบรรณารักษ์และนักสารสนเทศในการประกอบวิชาชีพ มีสาระสำคัญครอบคลุมจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ วิชาชีพ ผู้ร่วมงาน สถาบัน และสังคม ดังนี้ <br> 1. พึงให้บริการอย่างเต็มความสามารถ ด้วยบริการที่มีคุณภาพและด้วยความเสมอภาคแก่ผู้รับบริการ<br> 2. พึงรักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในการรับรู้ของผู้รับบริการ<br> 3. พึงมีความศรัทธาในวิชาชีพและใช้วิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน และมุ่งประโยชน์ ส่วนรวม โดยปราศจากการถูกครอบงำด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์อันมิชอบทุกประการ <br> 4. พึงแสวงหาความรู้และพัฒนาคนทางวิชาการ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องให้ทันความเปลี่ยนแปลงและได้มาตรฐาน ทางวิชาการวิชาชีพระดับสากล <br> 5. พึงเป็นกัลยาณมิตรของผู้ร่วมงาน ร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เปิดโอกาสให้แก่กันและกัน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ <br> 6. พึงพัฒนาสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างบุคคลและสถาบัน และธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบัน <br> 7. ไม่พึงใช้ตำแหน่งหน้าที่ ชื่อสถาบันและทรัพยากรของสถาบันเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือหมู่คณะโดยมิชอบ <br> 8. พึงยืนหยัดในหลักการแห่งเสรีภาพทางปัญญา เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และธำรงไว้ซึ่ง เสรีภาพของห้องสมุดและเกียรติภูมิของวิชาชีพ <br> 9. พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคม อุทิศตนเพื่อประโยชน์และความมั่นคงของสังคม และมีบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย สู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประชาชนและประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Libraryห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library administrationการบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library administratorผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library automationห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library buildingอาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library cooperationความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library editionฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library employeeบุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library hourเวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library instruction serviceบริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library materialทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library of Congress Classification Systemระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library orientationการปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library patronผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library personnelเจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library professionวิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library public relationsการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library scienceบรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library stampตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library standardมาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Library's pageหน้าลับเฉพาะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Military libraryห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
National libraryหอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online library catalogรายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Private libraryห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
interlibrary loanระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด
Library and information science (LIS)(n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
Library of Congress(n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี.
recalibrate[riːˈkæl.ɪ.breɪt] (vt) เปลี่ยนการกระทำ, เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
libraThere is an anteroom adjoining the library.
libraThe air-conditioning in the library is too strong.
libraI have to return this book to the library today.
libraShe is reading a book in the library.
libraThis time tomorrow I'll be studying in the library.
libraThis library has a large collection of Chinese books.
libraFor burglar-proofing. Apparently in this library are precious books that can't be bought for money.
libraEvery town in America has a library.
libraThere is a library at the back of that tall building.
libraI see him in the library now and then.
libraThey have access to the library.
libraHe is studying in the library now.
libraMany a student studies at the library.
libraThose books will make a fine library.
libraI've got to take my library books back before January 25th.
libraThere are a lot of English books in this library.
libraTo own a library is one thing and to use it is another.
libraI read the most interesting book in my library.
libraWe have a lot of children's books in the library.
libraThe library is in the middle of the city.
libraThe library is on the second floor.
libraEvery student has access to the library.
libraI read a most interesting book in my library.
libraThe library was founded in memory of the scholar.
libraSeveral students came to the library.
libraFrom time to time he goes to the library to get new information about books.
libraIt is one thing to own a library; It is quite another to use it wisely.
libraTaking the group of children to the library was no problem.
libraStudents have access to the library.
libraWill you tell me the way to the library?
libraHe would often go to the library.
libraWhere is the library?
libraI returned the books I borrowed from the library, and I borrowed some new ones.
libraThe new library has been under construction since last year.
libraThey were alone in the library.
libraThe children were accorded permission to use the library.
libraHe accumulated his library.
libraThe post office is adjacent to the library.
libraYou must not tear out page from a library book.
libraSenior students have access to the library at weekends.
libraThere are a lot of books in the library.
libraThere are a lot of students in the library.
libraExcuse me, but where is the library?
libraTaking in the library is not allowed.
libraYou are welcome to any book in my library.
libraI went to the library to read some books.
libraI used to go to that library to study.
libraAll the students of the university have access to the university library.
libraThe teacher suggested that we go to the library to study.
libraThe library is on the 4th floor.

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บัตรรายการ(n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด
ห้องสมุดประชาชน(n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน
คลังสมอง(n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่
ผู้ใช้บริการห้องสมุด(n) library user
บัตรห้องสมุด(n) library ticket, See also: borrower's ticket
หอสมุด(n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้
ตุล(n) Libra, See also: seventh sign of the zodiac represented by a pair of scales, Syn. ราศีตุล, ราศีตุลย์, Example: ชาวราศีธนูกับชาวราศีกุมภ์ หรือราศีตุลย์นั้นก็ดี ต่างเป็นเพื่อนที่ดีต่างเป็นผู้นำโชคลาภมาสู่ครอบครัว, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศีหนึ่งในจักรราศี
ดุล(n) libra, See also: the seventh sign of zodiac, Syn. ราศีตุล
ราศีตุล(n) Libra, Syn. ราศีดุล, Example: สีชมพูเป็นสีแห่งโชคลาภของผู้ที่เกิดราศีตุล, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศี 1 ในจักรราศี, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ห้องสมุด(n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง
ห้องสมุด(n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรณารักษ์[bannārak] (n) EN: librarian  FR: bibliothécaire [ m, f ]
บัตรห้องสมุด[bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket  FR: carte de lecteur [ m ]
บุ๊คเซ็นเตอร์[buk-sentoē] (n) EN: book center  FR: librairie
ฉบับห้องสมุด[chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition
ฉบับประจำห้องสมุด[chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition
ห้องสมุด[hǿngsamut] (n) EN: library ; study  FR: bibliothèque [ f ]
ห้องสมุดเคลื่อนที่[hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library  FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ]
ห้องสมุดเสมือนจริง[hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library  FR: bibliothèque virtuelle [ f ]
หอพระสมุด แห่งชาติ[Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok)  FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ]
หอสมุด[høsamut] (n) EN: library   FR: bibliothèque [ f ]
หอสมุดแห่งชาติ[høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library  FR: bibliothèque nationale [ f ]
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ[kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification  FR: classification des ouvrages [ f ]
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ[rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification  FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ]
ร้านขายหนังสือ[rān khāi nangseū] (n) EN: bookseller ; bookshop ; bookstore (Am.)  FR: librairie [ f ]
ร้านหนังสือ[rān nangseū] (n) EN: bookstore ; bookshop  FR: librairie [ f ]
ราศีตุล[rāsī Tun] (n, exp) EN: Libra  FR: signe de la Balance [ m ]
สำนักหอสมุดกลาง[samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library
ศูนย์หนังสือ[sūn nangseū] (n, exp) EN: book center ; bookstore  FR: librairie [ f ]
ยืมหนังสือจากห้องสมุด[yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library  FR: emprunter un livre à la bibliothèque

CMU Pronouncing Dictionary
libra
 /L IY1 B R AA0/
/ลี้ บร่า/
/lˈiːbrɑː/
library
 /L AY1 B R EH0 R IY2/
/ล้าย แบร่ รี/
/lˈaɪbrerˌiː/
alibrandi
 /AE2 L IH0 B R AE1 N D IY0/
/แอ หลิ แบร๊น ดี่/
/ˌælɪbrˈændiː/
calibrate
 /K AE1 L AH0 B R EY2 T/
/แค้ เหลอะ เบร ถึ/
/kˈæləbrˌeɪt/
librarian
 /L AY0 B R EH1 R IY2 AH0 N/
/หล่าย แบร๊ รี เอิ่น/
/laɪbrˈerˌiːən/
libraries
 /L AY1 B R EH0 R IY2 Z/
/ล้าย แบร่ รี สึ/
/lˈaɪbrerˌiːz/
library's
 /L AY1 B R EH0 R IY2 Z/
/ล้าย แบร่ รี สึ/
/lˈaɪbrerˌiːz/
libration
 /L AY2 B R EY1 SH AH0 N/
/ลาย เบร๊ เฉิ่น/
/lˌaɪbrˈeɪʃən/
calibrated
 /K AE1 L AH0 B R EY2 T AH0 D/
/แค้ เหลอะ เบร เถอะ ดึ/
/kˈæləbrˌeɪtəd/
librarians
 /L AY0 B R EH1 R IY2 AH0 N Z/
/หล่าย แบร๊ รี เอิ่น สึ/
/laɪbrˈerˌiːənz/
calibration
 /K AE2 L AH0 B R EY1 SH AH0 N/
/แค เหลอะ เบร๊ เฉิ่น/
/kˌæləbrˈeɪʃən/
stallibrass
 /S T AE1 L IH0 B R AE0 S/
/สึ แต๊ หลิ แบร่ สึ/
/stˈælɪbræs/

Oxford Advanced Learners Dictionary
Libra
 (proper) /l ii1 b r @/ /ลี้ เบรอะ/ /lˈiːbrə/
library
 (n) /l ai1 b r @ r ii/ /ล้าย เบรอะ หรี่/ /lˈaɪbrəriː/
calibrate
 (vt) /k a1 l i b r ei t/ /แค้ หลิ เบร่ ถึ/ /kˈælɪbreɪt/
librarian
 (n) /l ai1 b r e@1 r i@ n/ /ล้าย แบร๊ (ร) เหรี่ย (ร) น/ /lˈaɪbrˈeərɪən/
libraries
 (n) /l ai1 b r @ r i z/ /ล้าย เบรอะ หริ สึ/ /lˈaɪbrərɪz/
calibrated
 (vt, vt) /k a1 l i b r ei t i d/ /แค้ หลิ เบร่ ถิ ดึ/ /kˈælɪbreɪtɪd/
calibrates
 (vt) /k a1 l i b r ei t s/ /แค้ หลิ เบร่ ถึ สึ/ /kˈælɪbreɪts/
librarians
 (n) /l ai1 b r e@1 r i@ n z/ /ล้าย แบร๊ (ร) เหรี่ย (ร) น สึ/ /lˈaɪbrˈeərɪənz/
calibrating
 (vt) /k a1 l i b r ei t i ng/ /แค้ หลิ เบร่ ถิ่ง/ /kˈælɪbreɪtɪŋ/
calibration
 (n) /k a2 l i b r ei1 sh @ n/ /แค หลิ เบร๊ เฉิ่น/ /kˌælɪbrˈeɪʃən/
calibrations
 (n) /k a2 l i b r ei1 sh @ n z/ /แค หลิ เบร๊ เฉิ่น สึ/ /kˌælɪbrˈeɪʃənz/
librarianship
 (n) /l ai1 b r e@1 r ii @ n sh i p/ /ล้าย แบร๊ (ร) หรี่ เอิ่น ฉิ ผึ/ /lˈaɪbrˈeəriːənʃɪp/
lending-library
 (n) /l e1 n d i ng - l ai b r @ r ii/ /เล้น ดิ่ง หล่าย เบรอะ หรี่/ /lˈendɪŋ-laɪbrəriː/
lending-libraries
 (n) /l e1 n d i ng - l ai b r @ r i z/ /เล้น ดิ่ง หล่าย เบรอะ หริ สึ/ /lˈendɪŋ-laɪbrərɪz/

WordNet (3.0)
bachelor of arts in library science(n) a bachelor's degree in library science, Syn. ABLS
calibrate(v) make fine adjustments or divide into marked intervals for optimal measuring, Syn. fine-tune, graduate
calibrate(v) mark (the scale of a measuring instrument) so that it can be read in the desired units
calibrate(v) measure the caliber of
calibration(n) the act of checking or adjusting (by comparison with a standard) the accuracy of a measuring instrument, Syn. standardisation, standardization
equilibrate(v) bring to a chemical stasis or equilibrium
equilibration(n) stabilization by bringing into equilibrium
lamellibranch(adj) bivalve, Syn. pelecypodous, pelecypod
lending library(n) library that provides books for use outside the building, Syn. circulating library
libra(n) (astrology) a person who is born while the sun is in Libra, Syn. Balance
libra(n) a small faint zodiacal constellation in the southern hemisphere; between Virgo and Scorpius
libra(n) the seventh sign of the zodiac; the sun is in this sign from about September 23 to October 22, Syn. Balance, Libra the Scales, Libra the Balance
librarian(n) a professional person trained in library science and engaged in library services, Syn. bibliothec
librarianship(n) the position of librarian
library(n) a room where books are kept
library(n) a collection of literary documents or records kept for reference or borrowing
library(n) a depository built to contain books and other materials for reading and study, Syn. depository library
library(n) (computing) a collection of standard programs and subroutines that are stored and available for immediate use, Syn. program library, subroutine library
library(n) a building that houses a collection of books and other materials
library card(n) a card certifying the bearer's right to use the library, Syn. borrower's card
library catalog(n) an enumeration of all the resources of a library, Syn. library catalogue
library fine(n) fine imposed by a library on books that overdue when returned
library program(n) a program in a program library
library routine(n) a debugged routine that is maintained in a program library
library science(n) the study of the principles and practices of library administration
librate(v) vibrate before coming to a total rest
libration(n) (astronomy) a real or apparent slow oscillation of a moon or satellite
master of arts in library science(n) a master's degree in library science, Syn. MALS
master of library science(n) a master's degree in library science, Syn. MLS
national library of medicine(n) the world's largest medical library, Syn. United States National Library of Medicine, U.S. National Library of Medicine
public library(n) a nonprofit library maintained for public use
balance(v) bring into balance or equilibrium, Syn. equilibrate, equilibrise, equilibrize, Ant. unbalance
bivalve(n) marine or freshwater mollusks having a soft body with platelike gills enclosed within two shells hinged together, Syn. lamellibranch, pelecypod
bivalvia(n) oysters; clams; scallops; mussels, Syn. class Pelecypoda, class Lamellibranchia, class Bivalvia, Lamellibranchia
nag hammadi(n) a collection of 13 ancient papyrus codices translated from Greek into Coptic that were discovered by farmers near the town of Nag Hammadi in 1945; the codices contain 45 distinct works including the chief sources of firsthand knowledge of Gnosticism, Syn. Nag Hammadi Library
paste(n) an adhesive made from water and flour or starch; used on paper and paperboard, Syn. library paste
weigh(v) determine the weight of, Syn. librate

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Antilibration

n. A balancing; equipoise. [ R. ] De Quincey. [ 1913 Webster ]

Calibrate

v. i. To ascertain the caliber of, as of a thermometer tube; also, more generally, to determine or rectify the graduation of, as of the various standards or graduated instruments. [ 1913 Webster ]

Calibration

n. The process of estimating the caliber a tube, as of a thermometer tube, in order to graduate it to a scale of degrees; also, more generally, the determination of the true value of the spaces in any graduated instrument. [ 1913 Webster ]

Delibrate

v. t. [ imp. & p. p. Delibrated; p. pr. & vb. n. Delibrating. ] [ L. delibratus, p. p. of delibrare to delibrate; de from + liber bark. ] To strip off the bark; to peel. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ]

Delibration

n. The act of stripping off the bark. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ]

Equilibrate

v. t. [ imp. & p. p. Equilibrated p. pr. & vb. n. Equilibrating ] [ L. aequilibratus in equilibrium; aequus equal + libra balance. See Equilibrium. ] To balance two scales, sides, or ends; to keep even with equal weight on each side; to keep in equipoise. H. Spenser. [ 1913 Webster ]

Equilibration

n. 1. Act of keeping a balance, or state of being balanced; equipoise. [ 1913 Webster ]

In . . . running, leaping, and dancing, nature's laws of equilibration are observed. J. Denham. [ 1913 Webster ]

2. (Biol.) The process by which animal and vegetable organisms preserve a physiological balance. H. Spenser. [ 1913 Webster ]

Lamellibranch

n. (Zool.) One of the Lamellibranchia (also called Pelecypoda). Also used adjectively. [ 1913 Webster ]

Lamellibranchiata

{ ‖‖ } n. pl. [ NL. See lamella, and Branchia, Branchiate. ] (Zool.) An earlier name for the class of Mollusca including all those that have bivalve shells, as the clams, oysters, mussels, etc., now called Pelecypoda or Bivalvia. [ 1913 Webster +PJC ]

☞ They usually have two (rarely but one) flat, lamelliform gills on each side of the body. They have an imperfectly developed head, concealed within the shell, whence they are called Acephala. Called also Conchifera, and Pelecypoda. See Bivalve. [ 1913 Webster ]

Variants: Lamellibranchia
Lamellibranchiate

a. (Zool.) Having lamellar gills; belonging to the Lamellibranchia (also called Pelecypoda). -- n. One of the Lamellibranchia (also called Pelecypoda). [ 1913 Webster ]

Libra

‖n.; pl. Libræ [ L., a balance. ] (Astron.) (a) The Balance; the seventh sign in the zodiac, which the sun enters at the autumnal equinox in September, marked thus &libra_; in almanacs, etc. (b ) A southern constellation between Virgo and Scorpio. [ 1913 Webster ]

Variants: Librae
Libral

a. [ L. libralis, fr. libra the Roman pound. ] Of a pound weight. [ Obs. ] Johnson. [ 1913 Webster ]

Librarian

n. [ See Library. ] 1. One who has the care or charge of a library. [ 1913 Webster ]

2. One who copies manuscript books. [ Obs. ] Broome. [ 1913 Webster ]

Librarianship

n. The office of a librarian. [ 1913 Webster ]

Library

n.; pl. Libraries [ OE. librairie, F. librairie bookseller's shop, book trade, formerly, a library, fr. libraire bookseller, L. librarius, from liber book; cf. libraria bookseller's shop, librarium bookcase, It. libreria. See Libel. ] 1. A considerable collection of books kept for use, and not as merchandise; as, a private library; a public library. [ 1913 Webster ]

2. A building or apartment appropriated for holding such a collection of books. Holland. [ 1913 Webster ]

Librate

v. i. [ imp. & p. p. Librated p. pr. & vb. n. Librating. ] [ L. libratus, p. p. of librare to balance, to make even, fr. libra. Cf. Level, Deliberate, Equilibrium. ] To vibrate as a balance does before resting in equilibrium; hence, to be poised. [ 1913 Webster ]

Their parts all librate on too nice a beam. Clifton. [ 1913 Webster ]

Librate

v. t. To poise; to balance. [ 1913 Webster ]

Libration

n. [ L. libratio: cf. F. libration. ] 1. The act or state of librating. Jer. Taylor. [ 1913 Webster ]

2. (Astron.) A real or apparent libratory motion, like that of a balance before coming to rest. [ 1913 Webster ]


Libration of the moon, any one of those small periodical changes in the position of the moon's surface relatively to the earth, in consequence of which narrow portions at opposite limbs become visible or invisible alternately. It receives different names according to the manner in which it takes place; as: (a) Libration in longitude, that which, depending on the place of the moon in its elliptic orbit, causes small portions near the eastern and western borders alternately to appear and disappear each month. (b) Libration in latitude, that which depends on the varying position of the moon's axis in respect to the spectator, causing the alternate appearance and disappearance of either pole. (c) Diurnal or parallactic libration, that which brings into view on the upper limb, at rising and setting, some parts not in the average visible hemisphere.
[ 1913 Webster ]

Libration point

n. any one of five points in the plane of a system of two large astronomical bodies orbiting each other, as the Earth-moon system, where the gravitational pull of the two bodies on an object are approximately equal, and in opposite directions. A solid object moving in the same velocity and direction as such a libration point will remain in gravitational equilibrium with the two bodies of the system and not fall toward either body. [ 1913 Webster ]

Libratory

a. Balancing; moving like a balance, as it tends to an equipoise or level. [ 1913 Webster ]

Pellibranchiata

‖n. pl. [ NL., fr. pellis garment + branchia a gill. ] (Zool.) A division of Nudibranchiata, in which the mantle itself serves as a gill. [ 1913 Webster ]

Sublibrarian

n. An under or assistant librarian. [ 1913 Webster ]

Tubulibranchian

n. (Zool.) One of the Tubulibranchiata. [ 1913 Webster ]

Tubulibranchiata

‖n. pl. [ NL., from L. tubulus a little tube + branchia a gill. ] (Zool.) A group of gastropod mollusks having a tubular shell. Vermetus is an example. [ 1913 Webster ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
天秤座[Tiān chèng zuò, ㄊㄧㄢ ㄔㄥˋ ㄗㄨㄛˋ,   ] Libra (constellation and sign of the zodiac) #4,585 [Add to Longdo]
图书[tú shū, ㄊㄨˊ ㄕㄨ,   /  ] books (in a library or bookstore) #4,677 [Add to Longdo]
图书馆[tú shū guǎn, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ,    /   ] library #4,742 [Add to Longdo]
校准[jiào zhǔn, ㄐㄧㄠˋ ㄓㄨㄣˇ,   /  ] calibrate #37,952 [Add to Longdo]
定标[dìng biāo, ㄉㄧㄥˋ ㄅㄧㄠ,   /  ] to calibrate (measure or apparatus); fixed coefficient #60,204 [Add to Longdo]
浩如烟海[hào rú yān hǎi, ㄏㄠˋ ㄖㄨˊ ㄧㄢ ㄏㄞˇ,     /    ] vast as the open sea (成语 saw); fig. extensive (library) #62,818 [Add to Longdo]
书馆[shū guǎn, ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ,   /  ] teashop with performance by 評書|评书 story tellers; (attached to name of publishing houses); (in former times) private school; library (of classic texts) #65,429 [Add to Longdo]
借书证[jiè shū zhèng, ㄐㄧㄝˋ ㄕㄨ ㄓㄥˋ,    /   ] library card #85,718 [Add to Longdo]
续借[xù jiè, ㄒㄩˋ ㄐㄧㄝˋ,   /  ] extended borrowing (e.g. library renewal) #113,653 [Add to Longdo]
黄道十二宫[huáng dào shí èr gōng, ㄏㄨㄤˊ ㄉㄠˋ ㄕˊ ㄦˋ ㄍㄨㄥ,      /     ] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 #137,126 [Add to Longdo]
[chéng, ㄔㄥˊ, ] library stack; storage #207,855 [Add to Longdo]
伯德雷恩图书馆[bó dé léi ēn tú shū guǎn, ㄅㄛˊ ㄉㄜˊ ㄌㄟˊ ㄣ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ,        /       ] Bodleian Library (Oxford) [Add to Longdo]
函式库[hán shì kù, ㄏㄢˊ ㄕˋ ㄎㄨˋ,    /   ] library (partition on computer hard disk) [Add to Longdo]
功能集[gōng néng jí, ㄍㄨㄥ ㄋㄥˊ ㄐㄧˊ,   ] function library [Add to Longdo]
十二宫[shí èr gōng, ㄕˊ ㄦˋ ㄍㄨㄥ,    /   ] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 [Add to Longdo]
同文馆[Tóng wén guǎn, ㄊㄨㄥˊ ㄨㄣˊ ㄍㄨㄢˇ,    /   ] the first modern Chinese library established in 1898 by William A.P. Martin 丁韙良|丁韪良, becoming the foundation for Beijing University library [Add to Longdo]
固定点[gù dìng diǎn, ㄍㄨˋ ㄉㄧㄥˋ ㄉㄧㄢˇ,    /   ] fixed point; calibration point [Add to Longdo]
国家图书馆[guó jiā tú shū guǎn, ㄍㄨㄛˊ ㄐㄧㄚ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ,      /     ] national library [Add to Longdo]
图书管理员[tú shū guǎn lǐ yuán, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ ㄌㄧˇ ㄩㄢˊ,      /     ] librarian [Add to Longdo]
图书馆员[tú shū guǎn yuán, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ ㄩㄢˊ,     /    ] librarian [Add to Longdo]
天枰座[Tiān píng zuò, ㄊㄧㄢ ㄆㄧㄥˊ ㄗㄨㄛˋ,   ] Libra (constellation and sign of the zodiac); erroneous variant of 天秤座 [Add to Longdo]
档案馆[dàng àn guǎn, ㄉㄤˋ ㄢˋ ㄍㄨㄢˇ,    /   ] archive library [Add to Longdo]
银点[yín diǎn, ㄧㄣˊ ㄉㄧㄢˇ,   /  ] the silver point; the melting point of silver 962°C used as a calibration point in some temperature scales [Add to Longdo]

DING DE-EN Dictionary
Äquilibrierung { f } [ math. ]equilibration [Add to Longdo]
Artothek { f }picture lending library; art lending library [Add to Longdo]
Ausbildung { f } von Bibliothekaren / Bibliothekarinneneducation of librarians [Add to Longdo]
Ausbildungsbibliothek { f }training library [Add to Longdo]
Auskunftsbibliothekarin { f }reference librarian [Add to Longdo]
Ausleihbibliothek { f }lending library [Add to Longdo]
Autobücherei { f }mobile library [Add to Longdo]
Benutzerbibliothek { f }user library [Add to Longdo]
Bibliothek { f } | Bibliotheken { pl } | öffentliche Bibliothek { f } | wissenschaftliche Bibliothek { f }library | libraries | public library | academic library; research library; scientific library [Add to Longdo]
Bibliothekar { m }; Bibliothekarin { f } | Bibliothekare { pl }librarian | librarians [Add to Longdo]
Bibliotheksausbildung { f }library education [Add to Longdo]
Bibliotheksführung { f }library tour [Add to Longdo]
Bibliotheksgebäude { n }library building [Add to Longdo]
Bibliotheksgrundriss { m }library's outline [Add to Longdo]
Bibliothekspersonal { n }library personnel; library staff [Add to Longdo]
Bibliotheksschule { f }library school [Add to Longdo]
Bibliotheksschulen-Ausbildung { f }library school education [Add to Longdo]
Bibliothekstechniker { m }library technician [Add to Longdo]
Bibliotheksverwaltung { f }library maintenance [Add to Longdo]
Bibliothekswesen { n }librarianship [Add to Longdo]
Buch { n }; Heft { n } | Bücher { pl } | lieferbare Bücher | Buch aufnehmen | Buch einordnen | Buch absignieren | (Buch) durchblättern | in ein Buch vertieft sein | wie es im Buche steht | vorhandene Bücher in der Bibliothek | ein Buch mit sieben Siegeln [ übtr. ]book | books | books in print | to catalogue a book; to list a book | to put the book in order; to shelve a book | to check books against readers' requests | to flip through | to be sunk in a book | a textbook example | books available in the library | a sealed book [Add to Longdo]
Bücherei { f }; Bibliothek { f }library [Add to Longdo]
Bücherschrank { m }bookcase; library cupboard [Add to Longdo]
Datenbibliothek { f }library of data [Add to Longdo]
Druckkalibrator { m }pressure calibrator [Add to Longdo]
Eichmeister { m }calibrator [Add to Longdo]
Eichung { f }calibration [Add to Longdo]
Fachbibliothek { f }technical library [Add to Longdo]
Fahrbibliothek { f }mobile library; traveling library [Add to Longdo]
Fernleihbestellung { f }interlibrary loan request [Add to Longdo]
Fernleihe { f }inter-library loan [Add to Longdo]
Fernleihverkehr { m }inter-library lending [Add to Longdo]
Filmarchiv { n } | Filmarchive { pl }filmlibrary | filmlibraries [Add to Longdo]
Freihandbibliothek { f }open access library [Add to Longdo]
Gleichgewicht { n }equilibration [Add to Longdo]
Handbibliothek { f }reference library [Add to Longdo]
Institutsbibliothek { f }faculty library [Add to Longdo]
Kalibriereinrichtung { f }calibration device [Add to Longdo]
Kalibrierleck { n }calibration leak [Add to Longdo]
Kalibrierung { f }; Justierung { f } | Kalibrierung der Gerätecalibration | instrument calibration [Add to Longdo]
Kinderbibliothekar { m }children's librarian [Add to Longdo]
Kinder- (und Jugend-) Bibliothek { f }children's library [Add to Longdo]
Landesbibliothek { f }regional library [Add to Longdo]
Landesbibliothek { f }state library [Add to Longdo]
Leihbibliothek { f } | Leihbibliotheken { pl }lending library | lending libraries [Add to Longdo]
aktiver Leihverkehrinter-library loan [Add to Longdo]
Magazinbibliothek { f }storage library [Add to Longdo]
Modelleichung { f }model calibration [Add to Longdo]
Modulbibliothek { f }module library [Add to Longdo]
Nationalbibliothek { f }national library [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
文庫[ぶんこ, bunko] (n) (1) library; book collection; (2) (abbr. of 文庫本) paperback book; (P) #756 [Add to Longdo]
図書館(P);圕(oK)[としょかん(P);ずしょかん(図書館)(ok), toshokan (P); zushokan ( toshokan )(ok)] (n) library; (P) #1,098 [Add to Longdo]
書房[しょぼう, shobou] (n) library; bookstore; bookshop; (P) #1,819 [Add to Longdo]
叢書;双書;総書[そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo]
国会図書館[こっかいとしょかん, kokkaitoshokan] (n) (See 国立国会図書館) National Diet Library; Library of Congress #3,396 [Add to Longdo]
開館[かいかん, kaikan] (n, vs) (1) opening a hall for that day's business (museum, library, such like buildings); (2) opening of new hall (museum, etc.); (P) #3,941 [Add to Longdo]
ライブラリー(P);ライブラリ[raiburari-(P); raiburari] (n) library; (P) #7,944 [Add to Longdo]
館長[かんちょう, kanchou] (n) superintendent; director; curator; chief librarian; (P) #9,299 [Add to Longdo]
蔵書[ぞうしょ, zousho] (n, vs) book collection; library; (P) #10,173 [Add to Longdo]
休館[きゅうかん, kyuukan] (n, vs, adj-no) closure (of a library, museum, etc.); (P) #12,965 [Add to Longdo]
来館[らいかん, raikan] (n, vs) coming to an embassy, theatre, library, etc. #15,066 [Add to Longdo]
校正(P);較正[こうせい, kousei] (n, vs) (1) (校正 only) proofreading; correction of press; (2) calibration; (P) #18,379 [Add to Longdo]
入館[にゅうかん, nyuukan] (n, vs) entry (e.g. library, school, museum); entering #19,958 [Add to Longdo]
アーカイブライブラリ[a-kaiburaiburari] (n) { comp } archive library [Add to Longdo]
オブジェクトライブラリ[obujiekutoraiburari] (n) { comp } object library [Add to Longdo]
キャリブレーション[kyaribure-shon] (n) calibration [Add to Longdo]
キャリブレート[kyaribure-to] (n, vs) { comp } calibration [Add to Longdo]
クラスライブラリ[kurasuraiburari] (n) { comp } class library (as in C++) [Add to Longdo]
コンテンツライブラリ[kontentsuraiburari] (n) { comp } content library [Add to Longdo]
シェアードライブラリ[shiea-doraiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo]
システムライブラリ[shisutemuraiburari] (n) { comp } system library [Add to Longdo]
スタンダードライブラリー;スタンダードライブラリ[sutanda-doraiburari-; sutanda-doraiburari] (n) standard library (programming) [Add to Longdo]
スライドライブラリ[suraidoraiburari] (n) { comp } slide library [Add to Longdo]
タイプライブラリ[taipuraiburari] (n) { comp } type library [Add to Longdo]
ダイナミックリンクライブラリ[dainamikkurinkuraiburari] (n) { comp } dynamic linking library; DLL [Add to Longdo]
ダイナミックリンクライブラリファイル[dainamikkurinkuraiburarifairu] (n) { comp } dynamic-link library file [Add to Longdo]
テープライブラリ[te-puraiburari] (n) { comp } tape library [Add to Longdo]
テープライブラリー[te-puraiburari-] (n) tape library [Add to Longdo]
ドキュメントライブラリ[dokyumentoraiburari] (n) { comp } document library [Add to Longdo]
ビデオライブラリ[bideoraiburari] (n) { comp } video library [Add to Longdo]
フィルムライブラリ[firumuraiburari] (n) { comp } film library [Add to Longdo]
フィルムライブラリー[firumuraiburari-] (n) film library [Add to Longdo]
フォトライブラリー[fotoraiburari-] (n) photo library [Add to Longdo]
ブックモビル[bukkumobiru] (n) { comp } mobile library; bookmobile (USA) [Add to Longdo]
プログラムライブラリ[puroguramuraiburari] (n) { comp } program library [Add to Longdo]
ライブラリー関数[ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] (n) { comp } library function [Add to Longdo]
ライブラリアン[raiburarian] (n) librarian [Add to Longdo]
ライブラリケース[raiburarike-su] (n) { comp } library case [Add to Longdo]
ライブラリディレクトリ[raiburarideirekutori] (n) { comp } library directory [Add to Longdo]
ライブラリファイル[raiburarifairu] (n) { comp } library file [Add to Longdo]
ライブラリルーチン[raiburariru-chin] (n) { comp } library routine [Add to Longdo]
ランタイムライブラリ[rantaimuraiburari] (n) { comp } run-time library [Add to Longdo]
レコードライブラリ[reko-doraiburari] (n) { comp } sound recordings library; record library [Add to Longdo]
移動図書館[いどうとしょかん, idoutoshokan] (n) mobile library; bookmobile [Add to Longdo]
遺伝子ライブラリー[いでんしライブラリー, idenshi raiburari-] (n) gene library [Add to Longdo]
飲食禁止[いんしょくきんし, inshokukinshi] (n) no food or drink (e.g. as a sign in a library, etc.); no eating or drinking [Add to Longdo]
音楽図書館[おんがくとしょかん, ongakutoshokan] (n) music library [Add to Longdo]
開架[かいか, kaika] (n, adj-no) open access (in a library); open shelves [Add to Longdo]
開架式[かいかしき, kaikashiki] (n) making materials in a library available in open stacks [Add to Longdo]
学校図書館[がっこうとしょかん, gakkoutoshokan] (n) school library [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
キャリブレート[きゃりぶれーと, kyaribure-to] calibration (vs) [Add to Longdo]
システムライブラリ[しすてむらいぶらり, shisutemuraiburari] system library [Add to Longdo]
テープライブラリ[てーぷらいぶらり, te-puraiburari] tape library [Add to Longdo]
ビデオライブラリ[びでおらいぶらり, bideoraiburari] video library [Add to Longdo]
フィルムライブラリ[ふぃるむらいぶらり, firumuraiburari] film library [Add to Longdo]
ブックモビル[ぶっくもびる, bukkumobiru] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo]
プログラムライブラリ[ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo]
ライブラリ[らいぶらり, raiburari] library [Add to Longdo]
ライブラリー関数[ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] library function [Add to Longdo]
ライブラリアン[らいぶらりあん, raiburarian] librarian [Add to Longdo]
ライブラリケース[らいぶらりけーす, raiburarike-su] library case [Add to Longdo]
ライブラリディレクトリ[らいぶらりでいれくとり, raiburarideirekutori] library directory [Add to Longdo]
ライブラリファイル[らいぶらりふぁいる, raiburarifairu] library file [Add to Longdo]
ライブラリルーチン[らいぶらりるーちん, raiburariru-chin] library routine [Add to Longdo]
レコードライブラリ[れこーどらいぶらり, reko-doraiburari] sound recordings library, record library [Add to Longdo]
移動図書館[いどうとしょかん, idoutoshokan] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo]
寄託図書館[きたくとしょかん, kitakutoshokan] deposit library [Add to Longdo]
研究図書館[けんきゅうとしょかん, kenkyuutoshokan] research library [Add to Longdo]
公共図書館[こうきょうとしょかん, koukyoutoshokan] public library [Add to Longdo]
国立図書館[こくりつとしょかん, kokuritsutoshokan] national library [Add to Longdo]
参考図書館[さんこうとしょかん, sankoutoshokan] reference library [Add to Longdo]
実行形式ライブラリ[じっこうけいしきライブラリ, jikkoukeishiki raiburari] execution image library [Add to Longdo]
写真図書館[しゃしんとしょかん, shashintoshokan] photographic library [Add to Longdo]
図書館[としょかん, toshokan] library [Add to Longdo]
図書館システム[としょかんシステム, toshokan shisutemu] library system [Add to Longdo]
図書館ネットワーク[としょかんネットワーク, toshokan nettowa-ku] library network [Add to Longdo]
図書館学[としょかんがく, toshokangaku] library science [Add to Longdo]
専門図書館[せんもんとしょかん, senmontoshokan] special library [Add to Longdo]
総合図書館[そうごうとしょかん, sougoutoshokan] general library [Add to Longdo]
著作権図書館[ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo]
著作権登録図書館[ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo]
電子図書館[でんしとしょかん, denshitoshokan] electronic library [Add to Longdo]
登録集原文[とうろくしゅうげんぶん, tourokushuugenbun] library text [Add to Longdo]
登録集名[とうろくしゅうめい, tourokushuumei] library-name [Add to Longdo]
納本図書館[のうほんとしょかん, nouhontoshokan] deposit library [Add to Longdo]
標準ライブラリ[ひょうじゅんライブラリ, hyoujun raiburari] standard library [Add to Longdo]
文庫[ぶんこ, bunko] library [Add to Longdo]

Time: 0.053 seconds, cache age: 0.832 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/