geography | (n) ภูมิศาสตร์ |
bush telegraph | (slang) พูดกันให้แซ่ด(มักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของตำรวจที่จะจับผู้ต้องสงสัยที่ซ่อนตัวอยู่(เปรียบเปรยดังเช่น ซ่อนอยู่หลังพุ่มไม้)) เช่น The police are baffled by the number and activity of the bush telegraphs. |
spectrograph | (n) กล้องโทรทัศน์/กล้องดูดาว ที่มีความสามารถในการบันทึกภาพจากสิ่งที่ส่องอยู่ เช่น The solar-stellar spectrograph is located 5 meters south of the main solar spectrograph on the ground floor of the McMath Telescope complex., See also: Spectoscope, telescope |
telegraphic transfer | (n) การโอนเงินโดยทางโทรเลข เช่น When you wish to make a payment from your account whether by Telegraphic Transfer or by Currency Draft you will need to visit an Abbey branch., Syn. wire transfer |
graph | (n) เส้นกราฟ, Syn. chart, diagram |
graph | (suf) เกี่ยวกับสิ่งที่วาดหรือเขียน |
graphy | (suf) เกี่ยวกับรูปแบบหรือกระบวนการทางศิลปะการเขียน การวาด การนำเสนอหรืออื่นๆ |
graphic | (adj) แสดงชัดเจน, See also: แสดงด้วยภาพ, Syn. descriptive, visible, illustrated, Ant. ambiguous, abstract |
graphic | (adj) เกี่ยวกับภาพ, See also: เกี่ยวกับเส้นกราฟ, เกี่ยวกับการเขียน |
diagraph | (n) เครื่องวัดมุมและเส้นแบ่งองศา, See also: ไม้โปรแทรกเตอร์ |
epigraph | (n) คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, บท, ตอน ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับแก่นของเรื่อง |
epigraph | (n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้บนรูปปั้นอนุเสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้าง, Syn. inscription |
graphics | (n) ภาพพิมพ์, See also: ภาพกราฟฟิก |
graphite | (n) ตะกั่วดำ, See also: แกรไฟต์ |
autograph | (n) ลายเซ็น, Syn. signature |
bar graph | (n) กราฟแท่ง, Syn. bar chart |
biography | (n) อัตชีวประวัติ, See also: ประวัติชีวิต, ประวัติส่วนตัว, ชีวประวัติ, Syn. autobiography, profile |
epigraphy | (n) การศึกษาและถอดความหมายของตัวหนังสือโบราณที่แกะสลักไว้ |
epigraphy | (n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้, See also: คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, Syn. inscription |
geography | (n) ภูมิศาสตร์, Syn. geology, earth science |
graph out | (phrv) แสดง (ข้อมูล) ด้วยกราฟ |
homograph | (n) คำพ้องรูป |
ideograph | (n) ตัวเขียนแทนความหมาย / ความคิด (เช่นของจีนและญี่ปุ่น), See also: สัญลักษณ์แทนความหมาย / ความคิด, Syn. ideogram |
monograph | (n) บทความเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ, See also: เอกสาร, ข้อเขียน, หนังสือ, Syn. treatise, dissertation, essay, report |
orography | (n) การศึกษาเกี่ยวกับภูเขา, Syn. orology |
paragraph | (n) ย่อหน้า, See also: ตอนหนึ่งของข้อความ, Syn. passage, section, article |
paragraph | (vi) แบ่งเป็นย่อหน้า, Syn. group, section, divide |
paragraph | (vt) เขียนข่าวหรือบทความย่อหน้าสั้นๆ |
polygraph | (n) อุปกรณ์ทำสำเนาภาพ, Syn. detector |
serigraph | (n) สิ่งตีพิมพ์ซิลค์สกรีน |
telegraph | (n) ระบบการส่งโทรเลข, Syn. electric telegraph, wireless, radio telegraph |
telegraph | (vi) ส่งโทรเลข, See also: ส่งสัญญาณทางไกล, Syn. wire, flash |
telegraph | (vt) ส่งโทรเลข, See also: ส่งสัญญาณทางไกล, Syn. wire, flash |
telegraph | (vt) สื่อสารแบบไม่ใช้คำพูด |
xylograph | (n) การแกะสลักไม้ |
zoography | (n) สาขาสัตวแพทย์วิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปพรรณของสัตว์ |
aerography | (n) การศึกษาสภาพอากาศหรือบรรยากาศ |
anemograph | (n) เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วและทิศทางของลม |
biographer | (n) ผู้เขียนชีวประวัติของผู้อื่น |
demography | (n) การศึกษาเรื่องประชากร, See also: ประชากรศาสตร์ |
geographer | (n) นักภูมิศาสตร์ |
hectograph | (n) เครื่องพิมพ์อัดสำเนา |
hectograph | (vt) พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์จากเครื่องพิมพ์อัดสำเนา |
heliograph | (n) เครื่องมือถ่ายภาพดวงอาทิตย์ (ทางดาราศาสตร์), Syn. photoheliograph |
heliograph | (n) เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ |
heliograph | (vi) ส่งสัณญาณโดยใช้เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ |
heliograph | (vt) ส่งสัณญาณโดยใช้เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ |
hydrograph | (n) กราฟแสดงระดับน้ำและอัตราการไหลของน้ำเทียบกับเวลา |
mimeograph | (n) เครื่องโรเนียว, See also: เครื่องอัดสำเนาด้วยกระดาษไข |
mimeograph | (vt) อัดสำเนาจากกระดาษไข, Syn. copy, simulate |
pantograph | (n) อุปกรณ์คัดลอก |
phonograph | (n) เครื่องเล่นจานเสียง, See also: หีบเสียง, Syn. record player |
photograph | (n) ภาพถ่าย, See also: รูปถ่าย, รูปภาพ, ภาพเหมือน, Syn. photo, picture, portrait, painting, snapshot |
photograph | (vt) บันทึกภาพ, See also: ถ่ายภาพ, ถ่ายรูป, Syn. snap, shoot |
accelerograph | (แอคเซล' เลอโรกราฟ) n. เครื่องเร่งบันทึกอัตโนมัติ |
actinograph | (แอคทิน' โนกราฟ) n. บันทึกจากเครื่อง actinometer. -actinographic adj., -actinography n. |
addressograph | (อะเดรส' โซกราฟ) เครื่องจ่าหน้าซองจดหมายจำนวนมากและรวดเร็ว |
aerograph | (แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา |
aerography | (แอรอก' กระฟี) n การเขียนบรรยากาศเกี่ยวกับอากาศหรือบรรยากาศ. -aerographer n., -aerographic adj. |
aerometeorograph | (แอโรมีทิโอโรกราฟ) n. =aerograph (a meteorograph) |
agrapha | (แอก' ราฟา) n. คำสอนของพระเยซูคริสต์ที่บันทึกโดยชาวคริสเตียนใน New Testament เล่มอื่นที่ไม่ใช่ Gospels |
allograph | (แอล' โลกราฟ) n. การเขียนหรือการเซ็นชื่อดดยคนหนึ่งเพื่ออีกคนหนึ่ง |
anemograph | (อะเนม' โมกราฟ) n. เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วของลม -anemographic adj. (a recording aanemometer) |
anepigraphic | (แอนเอพ' พะกราฟ' ฟิค) adj. ไร้ประวัติ, ไม่ได้ปรากฏในตำนาน., Syn. anepigraphous |
angiocardiography | (แอนจิโอคาดิออก' กระพี) n. การถ่ายเอ็กซเรย์หัวใจ และหลอดเลือดหัวใจหลังฉีดสารทึบแสง |
ansi graphics | การสร้างภาพกราฟิกของแอนซีหมายถึงสัญลักษณ์พิเศษที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟิกธรรมดา เช่น เส้นตรง, เส้นเฉียง, สี่เหลื่ยม, วงกลม ฯ) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ดู ANSI ประกอบ |
arcograph | (อาร์ค'โคกราฟ) n. เครื่องมือวาดรูปโค้ง, วงเวียน, Syn. cyclograph |
astrophotography | (แอสโทรโฟทอก'กระฟี) n. การถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศ. -astrophotographic adj. |
audiographic conference | การประชุมทางไกลด้วยเสียงและภาพหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก นอกจากจะได้ยินเสียงของกันและกันแล้ว ยังสามารถเห็นภาพประกอบการประชุมได้ด้วย ภาพดังกล่าวน่าจะเป็นภาพกราฟิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
autobiographic | (al) (ออโทไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับประสบการณ์หรือชีวประวัติของตัวเอง, เกี่ยวกับอัตชีวประวัติ |
autobiography | (ออโทไบออก'กระฟี) n. ชีวประวัติของตัวเอง, อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ. |
autograph | (ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n. |
autoradiograph | (ออโทรเร'ดีโอกราฟ) n. ภาพถ่ายแสดงการมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมอยู่., Syn. radioautograph -autoradiography n. |
bibliographer | (บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม |
bibliography | (บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม |
biographer | (ไบออก'กระเฟอะ) n. ผู้เขียนชีวประวัติ' |
biographial | (ไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj., n. เกี่ยวกับชีวิตของบุคคล, วรรณคดีชีวประวัติ' |
biographic | (ไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj., n. เกี่ยวกับชีวิตของบุคคล, วรรณคดีชีวประวัติ' |
bitmapped graphic | (กราฟิกบิตแมป) หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped image |
bush telegraph | n. ข่าวที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว |
calligraphy | (คะลิก'กระพี) n. ลายมือดี, ลายมือสวย, การคัดลายมือ, ศิลปะการคัดลายมือ., See also: calligrapher n. ผู้มีลายมือดี calligraphist n. ผู้มีลายมือดี calligraphic adj. ลายมือดี calligraphical adj. ลายมือดี |
cardiograph | ดูelectrocardiograph., See also: cardiographic adj. |
cartography | n. การสร้างแผนที่, วิชาการทำแผนที่หรือแผนภาพ., See also: cartographer n. ดูcartography cartographic adj. ดูcartography cartographical adj. ดูcartography, Syn. chartography |
character graphics | อักขระภาพหมายถึง สัญลักษณ์หรือภาพต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นโดยการกดแป้นพิมพ์ ถือว่าเป็นแบบอักษร (font) แบบหนึ่ง (สำหรับเครื่องพีซี อาจใช้วิธีกดแป้น ALT+ เลขต่าง ๆ ตาม รหัสที่กำหนดไว้ก็ได้) เช่น แบบตัวอักขระภาพที่มากับระบบวินโดว์ของพีซี มีชื่อว่า Wingdings ส่วนของแมคอินทอช ชื่อ Zapf การขยายหรือลดขนาดภาพเหล่านี้ ใช้วิธีเดียวกับที่ทำกับแบบอักษรอื่น ๆ ไม่ใช่วิธีที่ทำกับภาพ |
chirograph | n. เอกสารหนังสือลงลายมือ |
chronograph | n. นาฬิกาที่เที่ยงตรงมาก., See also: chronographer n. ดูchronograph -chronographic adj. ดูchronograph |
cinematograph | n. เครื่องฉายภาพยนตร์, กล้องถ่ายภาพยนตร์. |
color graphic adapter | ตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA |
computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm |
cryptograph | (คริพ'ทะกราฟ) n. = cryptogram, ระบบการเขียนอักษรลับหรือรหัสลับ, เครื่องเขียนรหัสหรืออักษรลับ |
cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้ |
demographics | (ดีมะแกรฟ'ฟิคสฺ) n.สถิติประชากร |
demography | (ดิมอก'กระพี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสถิติประชากร, See also: demographer n. ดูdemography demographic adj. ดูdemography demographist n. ดูdemography |
demonography | n. เรื่องเขียนเกี่ยวกับภูต |
diagraph | n. เครื่องมือวาดแผนภาพ |
digraph | (ได'กราฟ) n. อักษรคู่ที่ออกเสียงเดี่ยว |
discographer | (ดิสคอก'ระเฟอะ) n. ผู้สะสมรายชื่อจานเสียง |
discography | n. การสะสมรายชื่อจานเสียง |
dittograph | n. คำที่ซ้ำ (เพราะเขียนหรือพิมพ์ผิด) ., See also: dittography n. ดูdittograph |
eidograph | (ไอ'โดกราฟ) n. เครื่องมือขยายภาพวาด |
electrocardiograph | n. เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ cardiograph |
electrograph | n. บันทึกเป็นกราฟที่ได้จากวิธีการทางไฟฟ้า |
encephalography | n. การตรวจสมองด้วยการดูจากภาพเอกซเรย์., See also: encephalographic adj. |
enhanced graphic adaptor | enhanced graphics adapterตัวปรับภาพเพิ่มความคมใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ |
autobiographer | (n) ผู้เขียนอัตชีวประวัติ |
autobiographic | (adj) เกี่ยวกับอัตชีวประวัติ |
autobiography | (n) อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ |
autograph | (n) ลายเซ็น, ลายมือ, ต้นฉบับ |
autograph | (vt) ลงชื่อ, เซ็นชื่อ |
bibliographer | (n) บรรณารักษ์ |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง |
biographer | (n) คนเขียนชีวประวัติ |
biographical | (adj) เกี่ยวกับชีวประวัติ |
biography | (n) ชีวประวัติ, อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ |
ethnography | (n) ชาติพันธุ์วรรณนา, ชาติวงศ์วรรณนา |
geographer | (n) นักภูมิศาสตร์ |
geographic | (adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์ |
geographical | (adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์ |
geography | (n) ภูมิศาสตร์, ภูมิประเทศ, ภูมิศาสตร์ธรรมชาติ |
graph | (n) กราฟ, เส้นกราฟ |
graph | (vi) เขียนกราฟ |
graphic | (adj) โดยกราฟ, เกี่ยวกับภาพวาด, เกี่ยวกับการขีดเขียน |
graphically | (adv) โดยกราฟ, แจ่มแจ้ง, ชัดเจน |
graphite | (n) ถ่านดำใช้ทำดินสอ, กราไฟท์ |
hydrography | (n) อุทกศาสตร์ |
lexicographer | (n) ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม |
lithograph | (n) รูปพิมพ์หิน, สิ่งพิมพ์เรียบ |
lithograph | (vt) พิมพ์หิน |
mimeograph | (n) เครื่องอัดสำเนา, เครื่องโรเนียว |
mimeograph | (vt) อัดสำเนา, ทำสำเนา, โรเนียว |
orthography | (n) การสะกดคำ |
paragraph | (n) ย่อหน้า |
phonograph | (n) หีบเสียง, เครื่องเล่นจานเสียง |
photograph | (vt) ถ่ายรูป, ถ่ายภาพ |
photographer | (n) ช่างถ่ายรูป, ตากล้อง, ช่างภาพ |
photographic | (adj) เกี่ยวกับการถ่ายรูป, เกี่ยวกับการถ่ายภาพ, เหมือนจริง |
photography | (n) การถ่ายรูป, การถ่ายภาพ, เทคนิคการถ่ายภาพ |
stenograph | (n) ชวเลข |
stenograph | (vi) จดชวเลข |
stenographer | (n) คนจดชวเลข, นักชวเลข |
stenographic | (adj) เกี่ยวกับชวเลข |
stenography | (n) การจดชวเลข |
stereograph | (n) ภาพสามมิติ |
telegraph | (n) เครื่องส่งโทรเลข, เครื่องส่งสัญญาณทางไกล |
telegraph | (vi) ส่งโทรเลข, ส่งสัญญาณทางไกล |
topographical | (adj) เกี่ยวกับภูมิประเทศ, ว่าด้วยภูมิประเทศ |
topography | (n) สภาพของท้องที่, ภูมิประเทศ |
xylography | (n) การแกะสลักไม้ |
Pneumoencephalography | การถ่ายภาพรังสีโพรงสมองหลังฉีดอากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pathology, geographical | ภูมิศาสตร์พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
petrography | ศิลาวรรณนา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
phonocardiograph | เครื่องบันทึกเสียงหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phonocardiography | การบันทึกเสียงหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phonograph | เครื่องบันทึกเสียง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poruegraphic | เกี่ยวกับสิ่งลามกอนาจาร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pyelography | การทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, excretion | การทำไพอีโลแกรมขับถ่าย [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, intravenous ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, intravenous | การทำไพอีโลแกรมวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, excretion ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, retrograde | การทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviography; pelvioradiography; pelviradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelvioradiography; pelviography; pelviradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
planigraphy; laminagraphy; laminography; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviradiography; pelviography; pelvioradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviroentgenography; pelviography; pelvioradiography; pelviradiography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pornography | เรื่องเร้ากามารมณ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pornography | งานลามก [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pathography | ๑. ประวัติโรค๒. โรคาวรรณนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
political geography | ภูมิศาสตร์การเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pantograph | เครื่องวาดเขียนย่อขยาย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pantograph | แพนโทกราฟ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
photomicrograph | ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
photomicrography | การถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plane graph | กราฟบนระนาบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
planar graph | กราฟเชิงระนาบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
pharmacography | เภสัชพรรณนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paragraph | อนุเฉท, ย่อหน้า [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paragraph | วรรค [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paleo-demography | ประชากรศาสตร์สมัยดึกดำบรรพ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
planography; laminagraphy; laminography; planigraphy; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
planography | กลวิธีพิมพ์พื้นราบ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phlebography; venography | ๑. กระบวนการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. การบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pure demography | ประชากรศาสตร์บริสุทธิ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lithography | กลวิธีพิมพ์หิน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lexico-graphic order | ลำดับอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lexico-graphic order | อันดับอักษร [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
lithostratigraphic horizon | แนวชั้นลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
lithostratigraphic unit | หน่วยลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
lithostratigraphic zone | ส่วนชั้นลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
lithostratigraphy | ๑. วิชาลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๒. การลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๓. ลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
laminography; laminagraphy; planigraphy; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laminagraphy; laminography; planigraphy; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lymphangiography | การถ่ายภาพรังสีหลอดน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lymphography | การถ่ายภาพรังสีระบบน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
logarithmic graph | กราฟลอการิทึม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
laryngograph; glottograph | เครื่องวัดเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lithostratigraphic classification | การจำแนกลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
radiophotography | การถ่ายภาพรังสีวาวแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retrograde pyelography | การทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliography | บรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Author bibliography | บรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Biographical dictionary | อักขรานุกรมชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Autobiography | อัตชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Biography | ชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Author bibliographies | บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Autobiography | อัตชีวประวัติ, อัตชีวประวัติ, Example: Autobiography หมายถึง อัตชีวประวัติ เป็นเรื่องราวชีวิตของบุคคลที่เขียนขึ้นโดยบุคคลคนนั้นเอง เนื้อหาของอัตชีวประวัติ อาจเล่าถึงชีวิตส่วนตัวที่ไม่มีใครเคยรู้มาก่อน หรือ ไม่เคยถูกเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน โดยทั่วไปอยู่ในรูปของการเล่าเหตุการณ์ที่ผู้เขียนเห็นว่าสำคัญหรือน่าสนใจมากที่สุดที่คัดเลือกจากผู้ที่เต็มใจจะเปิดเผย คำว่า “อัตชีวประวัติ” ใช้เป็นครั้งแรกโดย โรเบิร์ต ซัทธีย์ (Robert Southey) ในปี ค.ศ. 1809 ส่วนอัตชีวประวัติที่เขียนอย่างสมบูรณ์เป็นครั้งแรกในศตวรรษที่ 4 มีชื่อว่า The Confessions เขียนโดยเซนต์ออกัสติน (Saint Augustine) อัตชีวประวัติบางเรื่องเจ้าของชีวประวัติเขียนให้เป็นนวนิยาย เช่น เรื่อง David Copperfield ของ ชาร์ลส์ ดิคเกนส์ (Charles Dickens) ในปัจจุบันอัตชีวประวัติของคนที่มีชื่อเสียงมักเขียนโดยเจ้าของชีวประวัติร่วมกับนักประพันธ์อาชีพในลักษณะบอกให้เขียน ซึ่งลักษณะการเขียนแบบนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งนี้นักเขียนชีวประวัติมักจะเขียนชีวประวัติจากเอกสารอ้างอิงต่างๆ และจากความคิดเห็นของตนเอง แต่นักเขียนอัตชีวประวัติเขียนชีวประวัติจากความทรงจำของตนเองทั้งหมด ซึ่งใกล้เคียงกับบันทึกความทรงจำ (Memoir) ที่บางครั้งแยกออกจากกันได้ยาก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography | บรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic control | การควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical information | รายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Biographical dictionary | อักขรานุกรมชีวประวัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Biography | ชีวประวัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic service | บริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Critical bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Descriptive bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Holograph | ต้นฉบับลายมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Monograph | หนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Selective bibliography | บรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Trade bibliography | บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal Bibliographical Control | การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal bibliography | บรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Searching, Bibliographical | การค้นทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer graphic | คอมพิวเตอร์กราฟิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject bibliography | บรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Quantum cryptography | ระบบวิทยาการรหัสลับเชิงควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Public key cryptography | การเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical photography | การถ่ายภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Photographic interpretation | การแปลภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Flexography | การพิมพ์เฟล็กโซกราฟี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Metallography | โลหศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Spectrograph | สเปกโทรกราฟ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Internet in cartography | อินเทอร์เน็ตในการทำแผนที่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Demographic indicator | สิ่งชี้ประชากร [เศรษฐศาสตร์] |
Economic geography | ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ |
chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม |
chromatography | (n) การแยกสี |
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี |
ideographic | [ไอดีออแกรฟ'ฟิค] (adj) ภาพแสดงความหมาย ตัวอักษรแสดงความหมาย เช่น ตัวอักษรภาษาจีน |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
lexicographic order | (n) การเรียงลำดับแบบพจนานุกรม |
Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่ |
Oceanographer | [โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล |
Oceanographer | [โอ๊เชี่ยนโนกราฟเฟอ] (n) นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล, นักประดาน้ำ, Syn. Frogman |
oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
Pantograph | (jargon) แหนบรับไฟ |
pneumograph | (n) อุปกรณ์บันทึกกำลังแรงความเร็วของการขยับหน้าอกระหว่างการหายใจเข้า-ออกรัดรอบหน้าอก |
polygraph | (n) เครื่องจับเท็จ, Syn. lie detector |
royal geographical society | (n) ราชสมาคมภูมิศาสตร์ |
tomography | (n) ภาพตัดขวาง |
tomography | (n) การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
รูปถ่าย | (n) photograph, See also: picture, photo, shot, snap, snapshot, Syn. ภาพถ่าย, Example: รูปถ่ายของข้าพเจ้าที่ติดอยู่ข้างฝาห้องรับแขกนั่นเป็นของใหม่, Count Unit: ใบ, รูป, Thai Definition: ภาพที่ทำโดยให้แสงผ่านเลนส์ |
การถ่ายภาพ | (n) photography |
หนังลามก | (n) pornographic film/movie, Syn. ภาพยนตร์ลามก, Example: รัฐบาลห้ามมิให้นำหนังลามกเข้ามาฉายในประเทศ, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: ภาพยนตร์ที่มีเรื่องส่อไปในทางน่ารังเกียจ (มักใช้ในเรื่องเพศ) |
หนังสือโป๊ | (n) pornographic book, See also: porno book, obscene book, Syn. หนังสือลามก, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือโป๊, Count Unit: เล่ม |
ภาพลามก | (n) pornography, Syn. ภาพอนาจาร, ภาพถ่ายลามก, ภาพลามกอนาจาร, Example: เดี๋ยวนี้ภาพลามกมีให้เห็นอย่างเปิดเผยใน อินเทอร์เน็ต, Count Unit: ภาพ, Thai Definition: ภาพน่าบัดสีเป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้พบเห็นในด้านความดีงาม |
ภูมิศาสตร์ | (n) geography |
ข้อมูลรูปภาพ | (n) pictorial information, See also: graphic, Syn. ข้อมูลภาพ, Example: เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปมาก จนสามารถที่จะประมวลผล และเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรูปภาพ |
โทรสาร | (n) facsimile, See also: fax, telegraph, teletext, Syn. แฟกซ์, โทรภาพ, Example: โต๊ะพนันบอลสามารถใช้สถานที่ไม่เปิดเผยได้ เพราะใช้การสื่อสารที่ทันสมัยในการติดต่อ หรือต่อรองกัน เช่น โทรศัพท์ โทรสาร และอินเตอร์เน็ต, Thai Definition: กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารตีพิมพ์หรือรูปภาพ โดยทางคลื่นวิทยุหรือทางสาย |
ภาพถ่าย | (n) photograph, See also: picture, photo, snap, shot, Syn. รูปถ่าย, รูป, Example: หล่อนรักการถ่ายภาพ จึงใช้ภาพถ่ายสะท้อนอารมณ์และความรู้สึก, Count Unit: ภาพ, รูป, ใบ, Thai Definition: ภาพบนกระดาษอัดรูป เกิดจากการนำแผ่นฟิล์มภาพเนกาทิฟ หรือแผ่นกระจกภาพเนกทิฟไปอัดถ่ายทอดภาพลงบนกระดาษอัดรูปนั้น |
สมุดภาพ | (n) picture album, See also: photograph album, Syn. อัลบั้ม, Example: รูปนางในวรรณคดีในสมุดภาพเล่มนั้นสวยงามมาก, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่เก็บรวบรวมภาพ |
อัตชีวประวัติ | (n) autobiography, Example: นายไอเอค็อกกาได้เขียนอัตชีวประวัติไว้เล่มหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยมสูงมาก, Thai Definition: ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง, Notes: (บาลี) |
ล้างฟิล์ม | (v) develop a photographic film, Syn. ล้างรูป, Example: ช่างภาพล้างฟิล์มที่ร้านนี้เป็นประจำ |
ล้างรูป | (v) process photographs, Syn. ล้างฟิล์ม, Example: ร้านถ่ายรูปนี้ล้างรูปให้ผมเป็นประจำ |
พระรูป | (n) picture, See also: photo, photograph, Syn. รูปภาพ, รูปถ่าย, Example: แสตมป์พระรูป ร.9 ชุด 8 ทั้งชุดมีทั้งหมด 43 ดวง, Thai Definition: รูปภาพหรือรูปถ่ายของพระมหากษัตริย์และเจ้านาย, Notes: (ราชา) |
โทรเลข | (n) telegraph, See also: wire, cable, cablegram, telegram, Example: การสื่อสารด้วยโทรเลขและเทเล็กซ์สามารถเปลี่ยนขึ้นมาใช้ดำเนินการด้วยคอมพิวเตอร์ได้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ |
นักถ่ายรูป | (n) photographer, Syn. ตากล้อง, ช่างกล้อง, Example: เขาเป็นนักถ่ายรูปที่เข้าขั้นมาตรฐานคนหนึ่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชื่นชอบการถ่ายรูป |
ภูมิศาสตร์ | (n) geography, Syn. วิชาภูมิศาสตร์, Example: พื้นฐานทางด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม มีส่วนสร้างเสริมระเบียบวินัยให้แก่คนญี่ปุ่นมาก่อน, Thai Definition: วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่างๆ ของโลก |
ย่อหน้า | (v) indent, See also: begin a new paragraph, Example: นักเขียนบางคนไม่ยอมย่อหน้าด้วยคำว่าแต่, Thai Definition: เขียนหรือพิมพ์หนังสือขึ้นบรรทัดใหม่และร่นจากแนวซ้ายสุดเข้าไปพอสมควร เพื่อแสดงว่าขึ้นความตอนใหม่ |
ย่อหน้า | (n) indentation, See also: new paragraph, Syn. ตอน, ข้อความย่อย, บท, ตอนย่อย, Example: ผู้เขียนกล่าวคำขอบคุณถึงผู้อ่านในย่อหน้าแรก, Thai Definition: ข้อความตอนย่อยๆ ที่แยกออกจากกันด้วยวิธีเขียนย่อหน้า |
โรเนียว | (n) duplicator, See also: mimeograph, Example: คำบรรยายของผมยังไม่ได้พิมพ์โรเนียว, Thai Definition: เครื่องพิมพ์สำเนาที่ใช้กระดาษไขเป็นแม่พิมพ์ |
วิทยุโทรเลข | (n) radio telegraph, See also: radiogram, wireless telegraph, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: โทรเลขไม่มีสาย |
อนาจาร | (v) be lewd, See also: be pornographic, be obscene, be immoral, Syn. ลามก, ลามกอนาจาร, Example: พลเมืองดีช่วยเหลือเนตรนารีให้รอดพ้นอันตรายจากการถูกคนร้ายทำร้ายร่างกาย และกระทำอนาจาร, Thai Definition: น่าบัดสี, ทำให้เป็นที่อับอาย, เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อื่นในด้านความดีงาม, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
อัตประวัติ | (n) autobiography, Syn. อัตชีวประวัติ, ชีวประวัติ, ประวัติบุคคล, Example: จากอัตประวัติของท่านทำให้ผู้อ่านได้ทราบแหล่งที่ตั้งบ้านเรือนของท่าน เมื่อท่านยังเด็ก, Thai Definition: ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง |
รูป | (n) photograph, See also: picture, drawing, painting, illustration, image, portrait, Syn. รูปภาพ, Example: ี่ไปเที่ยวภูเก็ตกลับมา มีรูปให้พวกเราดูหรือเปล่า, Count Unit: รูป, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
รูปภาพ | (n) picture, See also: photograph, drawing, painting, illustration, image, portrait, Example: ไม่มีข้อความใดที่จะบรรยายรายละเอียดได้ดีเท่ารูปภาพ, Count Unit: รูป |
ลามก | (adj) pornographic, See also: filthy, lewd, obscene, indecent, dirty, smutty, Syn. อุจาด, ลามกจกเปรต, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือลามก, Notes: (บาลี) |
ภูมิศาสตร์กายภาพ | (n) physical geography, See also: geophysics, Example: วิชาภูมิศาสตร์แบ่งเป็นหลายแขนง เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์การเกษตร ภูมิศาสตร์การเมือง, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่แวดล้อมตัวมนุษย์ |
ภูมิศาสตร์การเกษตร | (n) agricultural geography, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับการกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ การป่าไม้ และการประมง |
ภูมิศาสตร์การเมือง | (n) political geography, See also: geopolitics, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองของรัฐต่างๆ ในโลก |
ภูมิศาสตร์ประชากร | (n) demographic geography, See also: population geography, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับประชากรในถิ่นต่างๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรนั้นๆ |
ภูมิศาสตร์ประวัติ | (n) historical geography, Syn. ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงประวัติการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ของดินแดนใดดินแดนหนึ่ง ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน |
ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ | (n) economic geography, Example: เขาศึกษาเกี่ยวกับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศจีน, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์ |
เอกสารอ้างอิง | (n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย |
นางรำ | (n) species of plant, See also: telegraph plant, Syn. กระช้อยนางรำ, ช้อยนางรำ, ช้อยช่างรำ, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้พุ่มชนิด Codariocalyx motorius Ohashi ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ ใบคู่ล่างเล็กกว่าและกระดิกไหวไปมาได้ |
ช่างถ่ายรูป | (n) photographer, Syn. ช่างภาพ, Example: เขาเป็นช่างถ่ายรูปประจำร้านที่อยู่ตรงหัวมุมถนน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำหน้าที่ถ่ายรูปหรือภาพนิ่ง |
แผ่นเสียง | (n) gramophone record, See also: phonograph disk, Syn. จานเสียง, Example: พ่อสะสมแผ่นเสียงเก่าๆ เอาไว้เป็นร้อยๆ แผ่น ส่วนใหญ่เป็นเพลงฝรั่งทั้งนั้น, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: แผ่นกลมซึ่งบันทึกเสียงหรือคำพูดไว้ในลักษณะเป็นร่องบนผิวพื้น เมื่อใส่บนหีบเสียงและให้เดินตามร่องก็จะเกิดเสียงตามที่บันทึกไว้ |
ภูมิประเทศ | (n) topography, See also: landscape, scenery, Syn. ตำแหน่งที่ตั้ง, ทำเลที่ตั้ง, พื้นที่, Example: ผู้สร้างออกแบบฐานเป็นสกีเพื่อใช้ลงในภูมิประเทศที่ปกคลุมไปด้วยหิมะได้สะดวกขึ้น, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: ลักษณะทางกายภาพและทางธรรมชาติของแผ่นดิน รวมถึงความสูงต่ำของผิวโลก ทะเลสาบ ถนนหนทาง และเมืองต่างๆ |
เกียรติประวัติ | (n) glorious biography, See also: prestige, renowned deed, Syn. ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติ, Example: ทุกคนจักต้องรักษาเกียรติประวัติของผู้กล้าหาญเหล่านี้ไว้ และถือเอาเป็นแบบฉบับในการปฏิบัติงานเพื่อประเทศ, Thai Definition: ประวัติที่ได้รับความสรรเสริญ, ประวัติที่เลื่องลือ |
คำจารึก | (n) epigraph, See also: inscription |
คำพ้อง | (n) homonym, See also: homophone, homograph |
คำพ้องรูป | (n) homograph |
เครื่องเล่นจานเสียง | (n) record player, See also: phonograph, gramophone, pick-up, Example: เครื่องที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็กมีหลักการทำงานคล้ายเครื่องเล่นจานเสียงธรรมดาทั่วๆ ไป, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องสำหรับใส่จานเสียง |
แผนภาพ | (n) diagram, See also: chart, drawing, figure, graph, Example: ตรงนี้ผู้สอนอธิบายให้ได้ใจความอย่างสั้นๆ ด้วยแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลสำหรับขั้นตอนที่ซับซ้อน, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: ภาพหรือเค้าโครงที่เขียนขึ้นเพื่อช่วยในการอธิบายเรื่องราว |
พระประวัติ | (n) biography, Syn. ประวัติ, พระราชประวัติ, Example: พระประวัติของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งที่ทุกคนได้เรียนมาจากโรงเรียน, Notes: (ราชา) |
พุทธประวัติ | (n) biography of Lord Buddha, Example: วัดไชยวัฒนารามมีประติมากรรมผนังเป็นเรื่องพุทธประวัติรอบพระวิหาร, Thai Definition: เรื่องราวของพระพุทธเจ้า |
ฟองมัน | (n) a sign indicating the beginning of a paragraph, Syn. ตาไก่, Example: ถ้อยคำที่ยกมาอ้างในหนังสือเล่มนี้จะใช้ฟองมันสกัดหัวท้าย, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายชนิดหนึ่งใช้ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด |
ฟิล์ม | (n) film, See also: photographic film, Syn. ฟิล์มถ่ายรูป, Example: อย่าปล่อยให้ฟิล์มที่ยังไม่ได้ล้างถูกแสงแดด เพราะอาจเกิดเสียหายได้, Count Unit: แผ่น, ม้วน, Thai Definition: แผ่นวัตถุบาง ประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สำหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์, Notes: (อังกฤษ) |
ภาพถ่ายทางอากาศ | (n) aerial photograph, Example: เขาชี้ให้ทุกคนเห็นการก่อตัวของพายุจากภาพถ่ายทางอากาศ, Thai Definition: รูปที่ปรากฏขึ้นจากการที่ตั้งกล้องถ่ายภาพอยู่บนท้องฟ้า |
ไปรษณีย์โทรเลข | (n) telegraph, See also: posts and telegraph, Syn. โทรเลข, Example: งานไปรษณีย์โทรเลข รับ - จ่าย จดหมาย ธนาณัติ สิ่ง ตีพิมพ์ โทรเลข และ ไปรษณีย์ภัณฑ์อื่นๆ, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ |
ลงชื่อ | (v) sign, See also: autograph, put down one's name, Syn. ลงนาม, เซ็นชื่อ, เซ็น, เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, Example: ชาวบ้านลงชื่อผ่านกำนันว่า จะเข้ามานั่งรับการฝึกอบรมจำนวน 25 คน |
อักขระ | [akkhara] (n) EN: character ; letter ; alphabet ; ideograph ; hieroglyph ; script FR: lettre [ f ] ; caractère [ m ] ; idéogramme [ m ] |
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ | [akkharānukrom phūmisāt] (n, exp) EN: gazetteer ; geographical dictionary |
อักขระสมัย | [akkhara samai] (n, exp) EN: orthography rule |
อักขรวิธี | [akkharawithī] (n) EN: treatise on spelling and phonetics ; orthography |
อักษรโบราณ | [aksøn bōrān] (n, exp) EN: paleography |
อนาจาร | [anājān] (adj) EN: obscene ; lewd ; pornographic ; indecent ; immoral FR: obscène ; pornographique ; porno (fam.) ; indécent ; immoral |
อัตชีวประวัติ | [attachīwaprawat] (n) EN: autobiography |
บรรณานุกรม | [bannānukrom] (n) EN: bibliography FR: bibliographie [ f ] |
บทบาท | [botbāt] (n) EN: role ; part ; part in a play/movie/choreography FR: rôle [ m ] ; texte [ m ] ; part [ f ] |
บทเรศ | [botharēt] (n) EN: paragraph ; stanza ; chapter FR: paragraphe ; chapitre |
ชักรูป | [chak rūp] (v, exp) EN: take a photograph FR: prendre une photo |
ช่างภาพ | [changphāp] (n) EN: photographer ; press photographer ; cameraman ; lensman FR: photographe [ m, f ] |
ช่างพิมพ์หิน | [chang phim hin] (n, exp) EN: lithographe [ m ] |
ช่างเรียง | [chang rīeng] (n) EN: composer ; typesetter FR: typographe [ m ] ; typo (fam.) [ m ] |
ช่างถ่ายภาพแฟชั่น | [chang thāiphāp faēchan] (n, exp) EN: fashion photographer FR: photographe de mode [ m ] |
ช่างถ่ายรูป | [chang thāirūp] (n) EN: photographer ; cameraman FR: photographe [ m ] |
ชวเลข | [chawalēk] (n) EN: shorthand ; stenography FR: sténographie [ f ] |
ชีวประวัติ | [chīwaprawat] (n) EN: biography ; life story FR: biographie [ f ] |
ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] |
เอกสารอ้างอิง | [ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography |
เอ็กซเรย์ = เอ๊กซเรย์ | [eksaraē] (n) EN: X-ray FR: radiographie [ f ] |
ฟิล์มเอ็กซเรย์ | [fīm eksaraē] (n, exp) EN: X-ray film FR: film radiographique [ m ] |
ฟองมัน (๏) | [føngman] (n) EN: [ sign formerly used to indicate the beginning of a paragraph ] |
หีบเสียง | [hīpsīeng] (n) EN: gramophone ; phonograph ; record player FR: électrophone [ m ] ; gramophone [ m ] ; phonographe [ m ] ; tourne-disque [ m ] |
จอภาพ | [jø phāp] (x) EN: screen ; monitor FR: viseur (d'un appareil photographique) [ m ] ; moniteur [ m ] |
การถ่ายภาพ | [kān thāiphāp] (n) EN: photography FR: photographie [ f ] |
การถ่ายรูป | [kān thāirūp] (n) EN: photography FR: photographie [ f ] ; photo [ f ] |
การ์ดจอ | [kāt jø] (n, exp) FR: carte graphique [ f ] |
เขียนพู่กันจีน | [khīen phūkan jīn] (n) EN: calligraphy FR: calligraphie [ f ] |
ข้อ | [khø] (n) EN: clause ; article ; section ; point ; item ; provision FR: article [ m ] ; clause [ f ] ; disposition [ f ] ; point [ m ] ; paragraphe [ m ] |
ค้นคว้าเพิ่มเติม | [khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ] |
เกียรติประวัติ | [kīettiprawat] (n) EN: glorious biography |
กล้อง | [klǿng] (n) EN: camera FR: caméra [ f ] ; appareil photographique [ m ] ; appareil photo [ m ] |
กล้อง | [klǿng] (n) EN: [ classifier : cameras ; binoculars ; telescopes ; microscopes ] FR: [ classificateur : appareils photographiques ; jumelles ; télescopes ; microscopes ] |
กล้องถ่ายรูป | [klǿng thāirūp] (n) EN: camera FR: appareil photographique [ m ] ; appareil photo [ m ] |
กระดาษอัดรูป | [kradāt at rūp] (n, exp) EN: printing paper ; photographic paper FR: papier photographique [ m ] |
กราฟ | [krāp] (n) EN: graph FR: graphe [ m ] |
กราฟฟิก | [krāpfik] (n) EN: graphic FR: graphique [ m ] |
กราฟเส้น | [krāp sen] (n, exp) EN: line graph |
กรมไปรษณีย์โทรเลข | [Krom Praisanī Thōralėk] (org) EN: Post and Telegraph Department |
ลักษณะของภูมิประเทศ | [laksana khøng phūmīprathēt] (n, exp) EN: topography FR: topographie [ f ] |
ลักษณะภูมิประเทศ | [laksana phūmīprathēt] (n, exp) EN: geographical features ; topography FR: caractéristiques topographiques [ fpl ] |
ลามก | [lāmok] (adj) EN: obscene ; filthy ; lewd ; indecent ; pornographic ; porn ; smutty FR: obscène ; indécent ; dégoûtant ; pornographique ; porno (fam.) ; cochon (fam.) |
ล้างฟิล์ม | [lāng fīm] (v, exp) EN: develop a photographic film FR: développer un film (photographique) |
ล้างรูป | [lāng rūp] (v, exp) EN: process photographs FR: développer un film (photographique) |
เลขา | [lēkhā] (n) EN: writing ; drawing ; graph ; graphics ; design ; pattern FR: écriture [ f ] |
ลงชื่อ | [longcheū] (v) EN: sign ; autograph ; put down one's name ; enter one's name FR: signer ; apposer sa signature ; parapher = parafer ; indiquer son nom |
ลงนาม | [longnām] (v) EN: sign ; autograph ; put down one's name FR: signer ; apposer sa signature |
มหรรถสัญญา | [mahora rot sanyā] (n, exp) EN: indentation ; new paragraph FR: alinéa [ m ] |
มาตราส่วน | [māttrāsuan = māttrāsūan] (n) EN: scale FR: échelle (graphique) [ f ] ; rapport [ m ] |
adoxography | (n) fine writing in praise of trivial or base subjects |
agrapha | (n) sayings of Jesus not recorded in the canonical Gospels |
agraphia | (n) a loss of the ability to write or to express thoughts in writing because of a brain lesion, Syn. anorthography, logagraphia |
agraphic | (adj) relating to or having agraphia |
allograph | (n) a variant form of a grapheme, as `m' or `M' or a handwritten version of that grapheme |
allograph | (n) a signature written by one person for another |
allographic | (adj) of or relating to an allograph |
anemographic | (adj) pertaining to the recording of wind measurements |
anemography | (n) recording anemometrical measurements |
angiography | (n) roentgenographic examination of blood vessels after injection of a radiopaque contrast medium; produces an angiogram |
arteriography | (n) roentgenographic examination of arteries |
arthrography | (n) roentgenographic examination of a joint after injection of radiopaque contrast medium; produces an arthrogram |
a-scan ultrasonography | (n) the use of ultrasonography to measure the length of the eyeball |
autobiographer | (n) someone who writes their own biography |
autobiographical | (adj) of or relating to or characteristic of an autobiographer, Syn. autobiographic |
autobiographical | (adj) relating to or in the style of an autobiography, Syn. autobiographic |
autobiography | (n) a biography of yourself |
autograph | (n) something written by one's own hand |
autograph | (n) a person's own signature, Syn. John Hancock |
autograph | (v) mark with one's signature, Syn. inscribe |
autograph album | (n) an album for autographs |
autographic | (adj) written in the author's own handwriting |
autoradiograph | (n) a radiogram produced by radiation emitted by the specimen being photographed |
autoradiographic | (adj) of or relating to or produced by autoradiography |
autoradiography | (n) producing a radiograph by means of the radiation emitted from the specimen being photographed |
ballistocardiograph | (n) a medical instrument that measures the mechanical force of cardiac contractions and the amount of blood passing through the heart during a specified period by measuring the recoil of the body as blood is pumped from the ventricles, Syn. cardiograph |
barograph | (n) a recording barometer; automatically records on paper the variations in atmospheric pressure |
barographic | (adj) relating to or registered by a barograph |
bibliographer | (n) someone trained in compiling bibliographies |
bibliographic | (adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical |
bibliography | (n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.) |
biogeographic | (adj) of or relating to or involved with biogeography, Syn. biogeographical |
biogeographical region | (n) an area of the Earth determined by distribution of flora and fauna |
biogeography | (n) dealing with the geographical distribution of animals and plants |
biographer | (n) someone who writes an account of a person's life |
biographic | (adj) of or relating to or being biography, Syn. biographical |
biography | (n) an account of the series of events making up a person's life, Syn. life history, life story, life |
body plethysmograph | (n) plethysmograph consisting of a chamber surrounding the entire body; used in studies of respiration |
bolographic | (adj) of or relating to a bolograph |
b-scan ultrasonography | (n) the use of ultrasonography to view structure in the back of the eye |
calligraph | (v) write beautifully and ornamentally |
calligrapher | (n) someone skilled in penmanship, Syn. calligraphist |
calligraphic | (adj) of or relating to or expressed in calligraphy, Syn. calligraphical |
calligraphy | (n) beautiful handwriting, Syn. chirography, penmanship |
cardiograph | (n) medical instrument that records electric currents associated with contractions of the heart, Syn. electrocardiograph |
cardiographic | (adj) of or relating to a cardiograph |
cardiography | (n) diagnostic procedure consisting of recording the activity of the heart electronically with a cardiograph (and producing a cardiogram), Syn. electrocardiography |
cartographer | (n) a person who makes maps, Syn. map maker |
cartographic | (adj) of or relating to the making of maps or charts, Syn. cartographical |
child pornography | (n) the illegal use of children in pornographic pictures or films, Syn. kiddy porn, kiddie porn |
Accelerograph | n. [ Accelerate + -graph. ] (Mil.) An apparatus for studying the combustion of powder in guns, etc. [ 1913 Webster ] |
Actinograph | n. [ Gr. &unr_;, &unr_;, ray + -graph. ] An instrument for measuring and recording the variations in the actinic or chemical force of rays of light. Nichol. [ 1913 Webster ] |
Addressograph | n. |
Adenographic | a. Pertaining to adenography. [ 1913 Webster ] |
Adenography | n. [ Adeno- + -graphy. ] That part of anatomy which describes the glands. [ 1913 Webster ] |
Aerographer | n. One versed in aëography: an aërologist. [ 1913 Webster ] |
Aerographical | |
Aerography | n. [ Aëro- + -graphy: cf. F. aérographie. ] A description of the air or atmosphere; aërology. [ 1913 Webster ] |
Agraphia | ‖n. [ Gr. |
Agraphic | a. Characterized by agraphia. [ 1913 Webster ] |
Agrostographical | |
Agrostography | n. [ Gr. &unr_; + -graphy. ] A description of the grasses. [ 1913 Webster ] |
Allograph | n. [ Gr. &unr_; another + -graph. ] A writing or signature made by some person other than any of the parties thereto; -- opposed to |
allographic | adj. |
Aluminography | n. [ Alumin-ium + -graphy. ] Art or process of producing, and printing from, aluminium plates, after the manner of ordinary lithography. -- |
Anaglyptograph | n. [ Gr. &unr_; + -graph. ] An instrument by which a correct engraving of any embossed object, such as a medal or cameo, can be executed. Brande & C. [ 1913 Webster ] |
Anaglyptographic | a. Of or pertaining to anaglyptography; |
Anaglyptography | n. [ Gr. &unr_; embossed + -graphy. ] The art of copying works in relief, or of engraving as to give the subject an embossed or raised appearance; -- used in representing coins, bas-reliefs, etc. [ 1913 Webster ] |
Anagraph | n. [ Gr. |
Anapnograph | n. [ Gr. |
Anemograph | n. [ Gr. &unr_; wind + -graph. ] An instrument for measuring and recording the direction and force of the wind. Knight. [ 1913 Webster ] |
Anemographic | a. Produced by an anemograph; of or pertaining to anemography. [ 1913 Webster ] |
Anemography | n. [ Gr. |
Anemometrograph | n. [ Anemometer + -graph. ] An anemograph. Knight. [ 1913 Webster ] |
Angiography | n. [ Angio- + -graphy: cf. F. angiographie. ] |
Anthography | n. [ Gr. |
Anthropogeography | n. [ Gr. |
Anthropography | n. [ Gr. |
Antigraph | n. [ Gr. &unr_; a transcribing: cf. F. antigraphe. ] A copy or transcript. [ 1913 Webster ] |
Apograph | n. [ Gr. &unr_;; &unr_; from + &unr_; to write: cf. F. apographe. ] A copy or transcript. Blount. [ 1913 Webster ] |
Archaeography | n. [ Gr. |
Arcograph | n. [ L. arcus (E. arc) + -graph. ] An instrument for drawing a circular arc without the use of a central point; a cyclograph. [ 1913 Webster ] |
Arteriography | n. [ Gr. &unr_; + -graphy. ] A systematic description of the arteries. [ 1913 Webster ] |
Arthrography | n. [ Gr. |
Astrography | n. [ Astro'cf + -graphy. ] The art of describing or delineating the stars; a description or mapping of the heavens. [ 1913 Webster ] |
Astrophotography | n. [ Astro- + photography. ] The application of photography to the delineation of the sun, moon, and stars. [ 1913 Webster ] |
Aurigraphy | n. [ L. aurum gold + -graphy. ] The art of writing with or in gold. [ 1913 Webster ] |
Autobiographer | n. [ Auto- + biographer. ] One who writes his own life or biography. [ 1913 Webster ] |
Autobiographical | |
Autobiographist | n. One who writes his own life; an autobiographer. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Autobiography | n.; |
Autochronograph | n. [ Auto- + chronograph. ] An instrument for the instantaneous self-recording or printing of time. Knight. [ 1913 Webster ] |
Autogenetic topography | . (Phys. Geog.) A system of land forms produced by the free action of rain and streams on rocks of uniform texture. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Autograph | n. [ F. autographe, fr. Gr. &unr_; autographic; &unr_; self + &unr_; to write. ] That which is written with one's own hand; an original manuscript; a person's own signature or handwriting. [ 1913 Webster ] |
Autograph | a. In one's own handwriting; |
Autographal | a. Autographic. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Autographical | |
Autography | n. [ Cf. F. autographie. ] |
Autoradiograph | n. same as autoradiogram. [ PJC ] |
Autoradiography | n. the process of producing an autoradiogram by exposing photographic film to a radioactive substance in close proximity to the film. [ PJC ] |
款 | [款] section; paragraph; funds #339 [Add to Longdo] |
段 | [段] surname Duan; paragraph; section; segment #774 [Add to Longdo] |
极 | [极 / 極] extremely; pole (geography, physics); utmost; top #959 [Add to Longdo] |
照片 | [照 片] photo; photograph; picture #1,138 [Add to Longdo] |
传 | [传 / 傳] biography #1,254 [Add to Longdo] |
照 | [照] according to; in accordance with; to shine; to illuminate; to reflect; photograph #1,471 [Add to Longdo] |
图片 | [图 片 / 圖 片] image; picture; photograph #1,551 [Add to Longdo] |
朝鲜 | [朝 鲜 / 朝 鮮] Korea; North Korea; geographic term for Korea #1,919 [Add to Longdo] |
摄影 | [摄 影 / 攝 影] to take a photograph #2,542 [Add to Longdo] |
签名 | [签 名 / 簽 名] to sign (one's name with a pen etc); to autograph #4,151 [Add to Longdo] |
地理 | [地 理] geography #4,275 [Add to Longdo] |
黄色 | [黄 色 / 黃 色] yellow; pornographic #5,203 [Add to Longdo] |
图像 | [图 像 / 圖 像] image; picture; graphic #5,474 [Add to Longdo] |
摄像 | [摄 像 / 攝 像] photograph #6,210 [Add to Longdo] |
摄影师 | [摄 影 师 / 攝 影 師] photographer #7,555 [Add to Longdo] |
军区 | [军 区 / 軍 區] a military region; a geographical area of command #7,789 [Add to Longdo] |
图形 | [图 形 / 圖 形] picture; figure; diagram; graph; depiction; graphical #7,995 [Add to Longdo] |
书法 | [书 法 / 書 法] calligraphy; penmanship #8,083 [Add to Longdo] |
曹操 | [曹 操] Cao Cao (155-220), famous statesman and general at the end of Han, noted poet and calligrapher, later warlord, founder and first king of Cao Wei 曹魏, father of Emperor Cao Pi 曹丕; the main villain of novel the Romance of Three Kingdoms 三國演義|三国演义 #8,281 [Add to Longdo] |
武术 | [武 术 / 武 術] military skill or technique (in former times); all kinds of martial art sports (some claiming spiritual development); self-defense; tradition of choreographed fights from opera and film (recent usage); also called kungfu 功夫 #8,387 [Add to Longdo] |
光线 | [光 线 / 光 線] light ray; optical line; optical cable; lighting (for a photograph) #8,530 [Add to Longdo] |
简历 | [简 历 / 簡 歷] Curriculum Vitae (CV); résumé (resume); biographical notes #9,667 [Add to Longdo] |
地形 | [地 形] topography; terrain; landform #10,144 [Add to Longdo] |
书画 | [书 画 / 書 畫] calligraphy #10,684 [Add to Longdo] |
色情 | [色 情] erotic; pornographic #10,841 [Add to Longdo] |
照相 | [照 相] take a photograph #12,095 [Add to Longdo] |
渲染 | [渲 染] rendering (computer graphics) #12,406 [Add to Longdo] |
相片 | [相 片] image; photograph #12,783 [Add to Longdo] |
电报 | [电 报 / 電 報] telegram; cable; telegraph #13,429 [Add to Longdo] |
图纸 | [图 纸 / 圖 紙] blueprint; drawing; design plans; graph paper #13,537 [Add to Longdo] |
盆地 | [盆 地] basin (low-lying geographical feature); depression #14,018 [Add to Longdo] |
字体 | [字 体 / 字 體] calligraphic style; typeface; font #15,632 [Add to Longdo] |
苍老 | [苍 老 / 蒼 老] old; aged; vigorous; forceful (of calligraphy or painting) #16,174 [Add to Longdo] |
闪光灯 | [闪 光 灯 / 閃 光 燈] a flash light (for photography) #16,552 [Add to Longdo] |
编导 | [编 导 / 編 導] to write and direct (a play, film etc); playwright-director; choreographer-director; scenarist-director #18,097 [Add to Longdo] |
史学 | [史 学 / 史 學] historiography #18,314 [Add to Longdo] |
胶片 | [胶 片 / 膠 片] (photographic) film #18,331 [Add to Longdo] |
传记 | [传 记 / 傳 記] biography #18,759 [Add to Longdo] |
专著 | [专 著 / 專 著] monograph; specialized text #18,837 [Add to Longdo] |
墨迹 | [墨 迹 / 墨 跡] ink marks; original calligraphy or painting of famous person #19,064 [Add to Longdo] |
自传 | [自 传 / 自 傳] autobiography #19,066 [Add to Longdo] |
涂鸦 | [涂 鸦 / 塗 鴉] graffiti; scrawl; poor calligraphy; to write badly; to scribble #19,476 [Add to Longdo] |
平地 | [平 地] (geography) plains #20,803 [Add to Longdo] |
塔斯社 | [塔 斯 社] TASS; Information Telegraph Agency of Russia #21,611 [Add to Longdo] |
开打 | [开 打 / 開 打] to perform acrobatic or choreographed fight #21,728 [Add to Longdo] |
段落 | [段 落] part; paragraph #21,872 [Add to Longdo] |
巨幅 | [巨 幅] extremely large (of paintings, photographs etc) #21,897 [Add to Longdo] |
电线杆 | [电 线 杆 / 電 線 杆] electric pole; telegraph pole #22,506 [Add to Longdo] |
电线杆 | [电 线 杆 / 電 線 桿] electric pole; telegraph pole #22,506 [Add to Longdo] |
书法家 | [书 法 家 / 書 法 家] calligrapher #23,249 [Add to Longdo] |
被写体 | [ひしゃたい, hishatai] TH: สิ่งที่เป็นแบบในการถ่ายภาพ EN: (photographic subject |
写真 | [しゃしん, shashin] TH: รูปถ่าย EN: photograph |
写る | [うつる, utsuru] TH: ถ่ายเป็นรูป EN: to be photographed |
Computertomographie | (n) |die, pl. Computertomographien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, Syn. Computertomografie |
autobiographie | (n) (die) อัตชีวประวัติ |
参照 | [さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo] |
節 | [よ, yo] (n) (1) occasion; time; (2) section (of a literary work); paragraph; verse; stanza; passage; (3) node (of a plant stem); (4) { ling } clause; (5) (taxonomical) section; (P) #501 [Add to Longdo] |
写真 | [しゃしん, shashin] (n) (1) photograph; photo; (2) (See 活動写真) movie; (P) #589 [Add to Longdo] |
撮影 | [さつえい, satsuei] (n, vs) photographing; (P) #614 [Add to Longdo] |
書 | [しょ, sho] (n, n-suf) (1) document; book; (n) (2) penmanship; handwriting; calligraphy (esp. Chinese) #622 [Add to Longdo] |
件;条 | [くだり, kudari] (n) passage; paragraph #806 [Add to Longdo] |
項 | [こう, kou] (n) (1) clause; paragraph; item; (2) { ling } argument; (3) { math } term; (4) (arch) (See 項・うなじ) nape (of the neck) #903 [Add to Longdo] |
図 | [ず, zu] (n, n-suf) (1) drawing; picture; diagram; figure; illustration; chart; graph; (2) sight; scene; (P) #978 [Add to Longdo] |
階 | [かい, kai] (n, n-suf) (1) storey; story; floor; (n) (2) (See 階・きざはし・1) stairs; (n, n-suf) (3) stage (in chronostratigraphy); (ctr) (4) counter for storeys and floors of a building; (P) #1,097 [Add to Longdo] |
地理 | [ちり, chiri] (n) geography; (P) #1,165 [Add to Longdo] |
伝 | [でん, den] (n) (1) legend; tradition; (2) biography; life; (3) method; way; (4) horseback transportation and communication relay system used in ancient Japan #1,400 [Add to Longdo] |
作画 | [さくが, sakuga] (n, vs) drawing pictures; taking photographs #2,811 [Add to Longdo] |
サイン | [sain] (n, vs) (1) autograph; signature; (2) sign; (n) (3) sine; (P) #3,715 [Add to Longdo] |
書誌 | [しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo] |
地形 | [ちけい(P);じぎょう, chikei (P); jigyou] (n) terrain; geographical features; topography; (P) #3,838 [Add to Longdo] |
伝記 | [でんき, denki] (n, adj-no) biography; life story; (P) #4,554 [Add to Longdo] |
列伝 | [れつでん, retsuden] (n) series of biographies #4,943 [Add to Longdo] |
外伝 | [がいでん, gaiden] (n) (1) (See 本伝) supplementary biography; (2) anecdote; side story; spin-off #5,017 [Add to Longdo] |
実写 | [じっしゃ, jissha] (n, vs) on-the-spot filming or photography #5,720 [Add to Longdo] |
グラフ | [gurafu] (n) graph; (P) #5,732 [Add to Longdo] |
書き方 | [かきかた, kakikata] (n) (1) way of writing; manner of writing; (2) penmanship (esp. used in old textbooks); calligraphy; (3) format (e.g. of a report); (4) stroke order of a character; (P) #5,771 [Add to Longdo] |
追跡 | [ついせき, tsuiseki] (n, vs, adj-no) pursuit; tracking (e.g. in computer graphics); keeping records on; tracing; (P) #6,415 [Add to Longdo] |
総覧;綜覧;總覽(oK) | [そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo] |
句 | [く, ku] (n, n-suf) (1) section (i.e. of text); sentence; passage; paragraph; (2) { ling } phrase; (3) verse (of 5 or 7 mora in Japanese poetry; of 4, 5, or 7 characters in Chinese poetry); (4) haiku; first 17 morae of a renga, etc.; (5) maxim; saying; idiom; expression; (P) #7,280 [Add to Longdo] |
焦点 | [しょうてん, shouten] (n, adj-no) focus (e.g. photographic); focal point; (P) #7,950 [Add to Longdo] |
ポルノ | [poruno] (n) (abbr) pornography; (P) #7,994 [Add to Longdo] |
露出 | [ろしゅつ, roshutsu] (n, vs) (1) exposure; disclosure; (2) (See 露光) photographic exposure; (P) #8,288 [Add to Longdo] |
束 | [つか, tsuka] (n, n-suf) (1) { math } lattice; (n, n-suf, ctr) (2) counter for large bundles (e.g. 10 sheafs of rice, 200 sheets of calligraphy paper, 20 whistling arrows, 100 fish); (3) handbreadth (unit for measuring the length of arrows) #8,371 [Add to Longdo] |
段落 | [だんらく, danraku] (n) (1) paragraph; (2) end; stopping place; conclusion; (P) #8,937 [Add to Longdo] |
書道 | [しょどう, shodou] (n, adj-no) (esp. Asian calligraphy based on Chinese characters) (See カリグラフィー) calligraphy; (P) #9,244 [Add to Longdo] |
全文 | [ぜんぶん, zenbun] (n) whole passage; full text; whole sentence; full paragraph; (P) #9,468 [Add to Longdo] |
自伝 | [じでん, jiden] (n) autobiography; (P) #9,752 [Add to Longdo] |
電信 | [でんしん, denshin] (n, adj-no) telegraph; (P) #9,968 [Add to Longdo] |
末尾 | [まつび, matsubi] (n) end (e.g. of report, document, paragraph, etc.); (P) #10,187 [Add to Longdo] |
チーズ | [chi-zu] (n) (1) (See 乾酪) cheese; (exp) (2) say cheese! (when taking photographs); (P) #10,250 [Add to Longdo] |
がり;ガリ | [gari ; gari] (n) (1) sliced ginger prepared in vinegar (served with sushi); pickled ginger; (2) (がり only) (abbr) (See がり版) mimeograph; (3) (がり only) (usu. as がりを食う) reprimand; rebuke; censure; reproof #10,471 [Add to Longdo] |
改行 | [かいぎょう, kaigyou] (n, vs) (1) new line; new paragraph; (2) { comp } newline (e.g. LF, CR, CRLF) #11,805 [Add to Longdo] |
絵文字 | [えもじ, emoji] (n) ideograph; pictograph #11,885 [Add to Longdo] |
碑文 | [ひぶん, hibun] (n, adj-no) inscription; epitaph; epigraph; (P) #13,546 [Add to Longdo] |
書体 | [しょたい, shotai] (n) calligraphic style; calligraphic styles; typeface; (P) #14,667 [Add to Longdo] |
地誌 | [ちし, chishi] (n) topography; (P) #16,182 [Add to Longdo] |
パンタグラフ | [pantagurafu] (n) pantograph; (P) #16,545 [Add to Longdo] |
図形 | [ずけい, zukei] (n) figure; shape; graphic; (P) #16,603 [Add to Longdo] |
一節 | [いっせつ(P);ひとふし, issetsu (P); hitofushi] (n) a verse (e.g. in the Bible); stanza; paragraph; passage; a joint; section; a tune; note; strain; measure; (P) #18,039 [Add to Longdo] |
評伝 | [ひょうでん, hyouden] (n) a critical biography; (P) #18,186 [Add to Longdo] |
電線 | [でんせん, densen] (n) (1) electric line; electric cable; power cable; (2) telephone line; telegraph wire; (P) #18,446 [Add to Longdo] |
光沢 | [こうたく, koutaku] (n) brilliance; polish; lustre; luster; glossy finish (of photographs); (P) #18,579 [Add to Longdo] |
被写体 | [ひしゃたい, hishatai] (n) (photographic) subject; (P) #19,255 [Add to Longdo] |
振り付け(P);振付け;振付 | [ふりつけ, furitsuke] (n) (1) choreography; dance coaching; (2) Japanese dance competition; (P) #19,529 [Add to Longdo] |
中黒;・ | [なかぐろ, nakaguro] (n) middle dot (typographical symbol used between parallel terms, names in katakana, etc.); full-stop mark at mid-character height; interpoint (interword separation) #19,561 [Add to Longdo] |
インライン画像 | [インラインがぞう, inrain gazou] inline graphic [Add to Longdo] |
ウィンドウ | [ういんどう, uindou] window (e.g in computer graphics) [Add to Longdo] |
エラーバー | [えらーばー, era-ba-] error bar (graph) [Add to Longdo] |
オブジェクト指向グラフィックス | [オブジェクトしこうグラフィックス, obujiekuto shikou gurafikkusu] object-oriented graphics [Add to Longdo] |
カラーグラフィックス | [からーぐらふぃっくす, kara-gurafikkusu] color graphics [Add to Longdo] |
カリグラフィック表示装置 | [カリグラフィックよょうじそうち, karigurafikku yoyoujisouchi] calligraphic display device, directed beam display device [Add to Longdo] |
グラフ | [ぐらふ, gurafu] graph, chart [Add to Longdo] |
グラフィカルユーザーインターフェース | [ぐらふぃかるゆーざーいんたーふぇーす, gurafikaruyu-za-inta-fe-su] graphical user interface [Add to Longdo] |
グラフィカルユーザインタフェース | [ぐらふぃかるゆーざいんたふぇーす, gurafikaruyu-zaintafe-su] graphical user interface (GUI) [Add to Longdo] |
グラフィクス装置 | [グラフィクスそうち, gurafikusu souchi] graphics device [Add to Longdo] |
グラフィクス中核系 | [グラフィクスちゅうかくけい, gurafikusu chuukakukei] Graphical Kernel System [Add to Longdo] |
グラフィック | [ぐらふぃっく, gurafikku] graphic (a-no) [Add to Longdo] |
グラフィックアクセラレータ | [ぐらふぃっくあくせられーた, gurafikkuakuserare-ta] graphics accelerator [Add to Longdo] |
グラフィックス | [ぐらふぃっくす, gurafikkusu] graphics [Add to Longdo] |
グラフィックスタブレット | [ぐらふぃっくすたぶれっと, gurafikkusutaburetto] graphics tablet [Add to Longdo] |
グラフィックツール | [ぐらふぃっくつーる, gurafikkutsu-ru] graphic(al) tool [Add to Longdo] |
グラフィックディスプレイ | [ぐらふぃっくでいすぷれい, gurafikkudeisupurei] graphic display [Add to Longdo] |
グラフィックモード | [ぐらふぃっくもーど, gurafikkumo-do] graphics mode [Add to Longdo] |
グラフィック基本要素 | [グラフィックきほんようそ, gurafikku kihonyouso] graphical primitive elements [Add to Longdo] |
グラフ領域 | [ぐらふりょういき, gurafuryouiki] graph area [Add to Longdo] |
コンピューターグラフィックス | [こんぴゅーたーぐらふぃっくす, konpyu-ta-gurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo] |
コンピュータージオグラフィックス | [こんぴゅーたーじおぐらふぃっくす, konpyu-ta-jiogurafikkusu] computer geographics [Add to Longdo] |
コンピュータートモグラフィー | [こんぴゅーたーともぐらふぃー, konpyu-ta-tomogurafi-] computer tomography [Add to Longdo] |
コンピュータグラフィクスのメタファイル | [こんぴゅーたぐらふぃくす の めたふぁいる, konpyu-tagurafikusu no metafairu] Computer Graphics Metafile [Add to Longdo] |
コンピュータグラフィクスインタフェース | [こんぴゅーたぐらふぃくすいんたふぇーす, konpyu-tagurafikusuintafe-su] Computer Graphics Interface [Add to Longdo] |
コンピュータグラフィックス | [こんぴゅーたぐらふぃっくす, konpyu-tagurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo] |
コンピュータマイクログラフィックス | [こんぴゅーたまいくろぐらふぃっくす, konpyu-tamaikurogurafikkusu] computer micrographics [Add to Longdo] |
スケーリング | [すけーりんぐ, suke-ringu] scaling (e.g. in computer graphics) [Add to Longdo] |
トラッキング | [とらっきんぐ, torakkingu] tracking (in computer graphics) [Add to Longdo] |
パラグラフ | [ぱらぐらふ, paragurafu] paragraph [Add to Longdo] |
ホログラフィ | [ほろぐらふぃ, horogurafi] holography [Add to Longdo] |
モノグラフ | [ものぐらふ, monogurafu] monograph [Add to Longdo] |
ラスタグラフィックス | [らすたぐらふぃっくす, rasutagurafikkusu] raster graphics [Add to Longdo] |
ラスタ図形処理 | [らすたずけいしょり, rasutazukeishori] raster graphics [Add to Longdo] |
ラスタ図形要素 | [らすたずけいようそ, rasutazukeiyouso] raster graphics element [Add to Longdo] |
ラスタ方式グラフィクス | [らすたほうしきグラフィクス, rasutahoushiki gurafikusu] raster graphics [Add to Longdo] |
ローカルバスグラフィックス | [ろーかるばすぐらふぃっくす, ro-karubasugurafikkusu] local bus graphics [Add to Longdo] |
ローカルバスビデオ | [ろーかるばすびでお, ro-karubasubideo] (local bus graphics), local bus video [Add to Longdo] |
暗号 | [あんごう, angou] cipher, cryptography [Add to Longdo] |
暗号システム | [あんごうシステム, angou shisutemu] cryptographic system, cryptosystem [Add to Longdo] |
暗号化手法 | [あんごうかしゅほう, angoukashuhou] cryptography [Add to Longdo] |
暗号技術 | [あんごうぎじゅつ, angougijutsu] cryptography, encryption technology [Add to Longdo] |
暗号検査値 | [あんごうけんさち, angoukensachi] cryptographic checkvalue [Add to Longdo] |
暗号手法 | [あんごうしゅほう, angoushuhou] cryptography, cryptographic technique [Add to Longdo] |
暗号同期 | [あんごうどうき, angoudouki] cryptographic synchronization [Add to Longdo] |
円グラフ | [えんグラフ, en gurafu] pie graph, pie chart [Add to Longdo] |
仮想空間 | [かそうくうかん, kasoukuukan] virtual space (e.g. in computer graphics) [Add to Longdo] |
関連図 | [かんれんず, kanrenzu] graphic display [Add to Longdo] |
幾何学図形要素 | [きかがくずけいようそ, kikagakuzukeiyouso] geometric graphics element [Add to Longdo] |
項 | [こう, kou] term, item, clause, paragraph, head (pref), main [Add to Longdo] |
伝記 | [でんき, denki] Biographie, Lebensbeschreibung [Add to Longdo] |
図表 | [ずひょう, zuhyou] Diagramm, Tafel, graphische Darstellung [Add to Longdo] |
地理 | [ちり, chiri] Geographie [Add to Longdo] |
地誌 | [ちし, chishi] Topographie [Add to Longdo] |
春画 | [しゅんが, shunga] obszoenes_Bild, Pornographie [Add to Longdo] |
書誌学 | [しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo] |
書道 | [しょどう, shodou] Kalligraphie [Add to Longdo] |
条 | [じょう, jou] ARTIKEL, PARAGRAPH, LINIE, STRICH [Add to Longdo] |
箇条 | [かじょう, kajou] Artikel, Paragraph, -Punkt [Add to Longdo] |
節 | [ふし, fushi] JAHRESZEIT, GELEGENHEIT, GRUNDSATZ, PARAGRAPH, STROPHE [Add to Longdo] |
経 | [けい, kei] GEOGRAPHISCHE_LAENGE, VERLAUF [Add to Longdo] |
習字 | [しゅうじ, shuuji] Schoenschreiben, Kalligraphie [Add to Longdo] |
肉筆 | [にくひつ, nikuhitsu] eigenhaendig_geschrieben, Autograph [Add to Longdo] |
能筆 | [のうひつ, nouhitsu] Kalligraphie, Schoenschreiben [Add to Longdo] |
自叙伝 | [じじょでん, jijoden] Autobiographie [Add to Longdo] |
色紙 | [しきし, shikishi] japan.Kalligraphie, japan.Zeichenpapier [Add to Longdo] |
草書 | [そうしょ, sousho] kalligraphisch_verkuerzte, Form_der_Kanji [Add to Longdo] |
謄写版 | [とうしゃばん, toushaban] Mimeograph, Vervielfaeltigungsapparat [Add to Longdo] |
速記 | [そっき, sokki] Kurzschrift, Stenographie [Add to Longdo] |
項 | [こう, kou] PUNKT, ARTIKEL, ABSCHNITT, PARAGRAPH [Add to Longdo] |
風土 | [ふうど, fuudo] geographische Eigenart, Klima [Add to Longdo] |
黒鉛 | [こくえん, kokuen] Graphit [Add to Longdo] |