572 ผลลัพธ์ สำหรับ *data*
/เด๊ เถอะ/     /D EY1 T AH0/     /dˈeɪtə/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: data, -data-
Possible hiragana form: だた

Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
metadata[สาน ระ ลัก] (n) สารลักษณ์, ลักษณะที่อธิบายถึง ข้อมูล(สาร) ที่มี

Longdo Approved EN-TH
data science(n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
data analytics(n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
big data(n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
data(n) ข้อมูล, See also: ตัวเลข, สถิติ, Syn. information, facts
biodata(n) ข้อมูลเกี่ยวกับคนหรือสิ่งที่ทำในชีวิต
database(n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank
data file(n) แฟ้มข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: ไฟล์ข้อมูล
mandatary(n) ผู้ได้รับมอบอำนาจ, See also: ผู้ได้รับคำสั่ง, การได้รับคำสั่ง, Syn. mandatory, compulsory, forced, obligatory
data processing(n) การประมวลผลข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การใช้คอมพิวเตอร์จัดการข้อมูล
database management system(n) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์)

Hope Dictionary
automatic data processingขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP
chordata(คอรเด'ทะ) n. ประเภท (phyllum) สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง (chordates)
data(เด'ทะ, ดา'ทะ) n. พหูพจน์ของ datum
data acquisitionการรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
data bankคลังข้อมูลหมายถึง ที่หรือแหล่งเก็บข้อมูล หรือแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะอยู่กับหน่วยงานคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยคอมพิวเตอร์ของกระทรวงเกษตร อาจเป็นคลังข้อมูลในเรื่องของ ผลผลิต เนื้อที่การเกษตร รายละเอียดเกี่ยวกับกสิกร สัตว์ที่ใช้ในการเกษตร สินค้าเกษตร ฯลฯ เป็นต้น
data baseฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database
data base management systระบบจัดการฐานข้อมูลใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่า ดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
data cardบัตรข้อมูลหมายถึงบัตรคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เจาะเป็นรหัสแสดงถึงตัวอักขระต่าง ๆ อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ เพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ บัตรข้อมูลนั้น เราสามารถใช้ได้ทั้ง 80 คอลัมน์ของบัตร (แต่บัตรที่เป็นบัตรชุดคำสั่ง ที่เรียกว่า program card นั้น ใช้ได้เฉพาะคอลัมน์ 7 ถึง 70) เมื่อส่งเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ บัตรข้อมูลจะต้องส่งตามหลังบัตรชุดคำสั่งเสมอดู card code ประกอบ
data encryption standardsมาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
data entryการบันทึกข้อมูลหมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าไปเก็บในสื่อ (medium) อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) ฯลฯ โดยผ่านทางแผงแป้นอักขระ (keyboard) หรืออาจหมายถึงการส่งข้อมูลเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งก็ได้
data fieldเขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record)
data fileแฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล"
data forkส่วนข้อมูลแฟ้มข้อมูลที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุก ๆ แฟ้มจะประกอบด้วยสองส่วน ส่วนที่หนึ่งนั้น เรียกว่า ส่วนข้อมูล (data fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อมูลจริง ๆ ที่โปรแกรมนั้น ๆ จะต้องใช้ ส่วนที่สองเรียกว่า ส่วนทรัพยากร (resource fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกว่าโปรแกรม ซึ่งจะเป็นตัวทำงานให้ หรือไม่ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีไว้ เพื่อให้ใช้โปรแกรมนั้น ๆ ได้ครบถ้วน เช่น การกำหนดแบบอักษร (font) สัญรูป (icon) รายการเลือก (menu) เป็นต้น
data packetกลุ่มข้อมูลกลุ่มหมายถึง ข้อมูลจำนวนหนึ่งหรือหน่วยหนึ่งที่มีความสัมพันธ์เป็นเรื่องราวเดียวกัน ใช้ในเรื่องของการสื่อสารข้อมูล (data communication) เช่น packet switching บางทีใช้ packet เฉย ๆ ก็ได้
data processingn. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น
data recordระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ
data redundancyความซ้ำซ้อนข้อมูลหมายถึงข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน หากตัดออก ก็จะไม่ทำให้ข้อมูลที่เหลืออยู่เสียหาย ถ้าใช้กับตัวเครื่อง (hardware) หมายถึง เครื่องที่มีระบบการทำงานซ้ำซ้อนกัน ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีหรือใช้ ถ้าต้องการให้มีความเชื่อถือได้สูง
data retrievalการค้นคืนข้อมูลหมายถึง กระบวนการในการเรียกหา หรือนำข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลหรือสื่อเก็บข้อมูล กลับมาแสดงบนจอภาพหรือเครื่องปลายทาง (terminal)
data setชุดข้อมูลหมายถึง การนำข้อมูลมาจัดเป็นชุด ให้ถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล พอเพียงที่จะนำไปใช้ประมวลผลได้ บางทีใช้มีความหมายเหมือนแฟ้มข้อมูล (file)
data structureโครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น
data terminal readyปลายทางพร้อมใช้ตัวย่อว่า DTR (อ่านว่า ดีทีอาร์) หมายถึงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บอกให้รู้ว่า โมเด็ม (modem) พร้อม และสถานีปลายทางก็พร้อมที่จะรับข้อมูลเข้ามาได้แล้ว
data transferการถ่ายโอนข้อมูลหมายถึง การเคลื่อนย้ายข้อมูลจากที่เก็บในตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง หรืออาจหมายถึงการย้ายที่เก็บจากสื่อเก็บหนึ่งไปอีกสื่อหนึ่งก็ได้ หรือบางทีอาจหมายถึง การย้ายข้อมูลจากโปรแกรมหลัก (master program) ไปทำงานยังโปรแกรมย่อย (subprogram)
data typeลักษณะข้อมูลหมายถึง การกำหนดข้อมูลที่จะใช้ให้มีลักษณะเป็นตัวเลข ตัวอักษร เลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยม เพื่อความสะดวกในการประมวลผล
databaseหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี
database management systeใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
datary(เด'ทะรี) n. สำนักงานตรวจสอบผู้สมัครเข้าทำงานในราชสำนักวาติกัน
decentralized data procesการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงานแต่ละหน่วย ต่างฝ่ายต่างประมวลผลไปได้เองโดยไม่ต้องอาศัยข้อมูลจากกัน
dynamic data exchangeการสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ
electronic data processinการประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า EDP (อ่านว่า อีดีพี) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว และแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง
flat-file databaseฐานข้อมูลรายแฟ้มหมายถึง โปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้เก็บและเรียกหาข้อมูล ออกมาใช้ได้ทีละแฟ้ม เป็นสำคัญ ตรงข้ามกับฐานข้อมูลสัมพันธ์ (relational database) ซึ่งจะทำให้เรียกหามาใช้ได้ มากกว่าครั้งละหนึ่งแฟ้ม
mandatary(แมน'ดะเทอรี) n. ประเทศที่ได้รับอำนาจอาณัติในการปกครอง, ผู้ถือคำสั่ง, ผู้ได้รับอำนาจ, Syn. mandatory
output dataข้อมูลออกหมายถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลให้เรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะส่งออกไปทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ หรืออุปกรณ์ส่งออกอื่น ๆ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก
relational databaseฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย
transaction dataข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหมายถึงข้อมูลที่เป็นรายการเปลี่ยนแปลง หรือเป็นรายการแก้ไข (จากรายการใน แฟ้มข้อมูลหลัก)

Nontri Dictionary
data(n) ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
packet; data packetกลุ่ม, กลุ่มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
primary dataข้อมูลปฐมภูมิ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
private data networkเครือข่ายข้อมูลส่วนบุคคล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
public data networkเครือข่ายข้อมูลสาธารณะ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
radiation dataข้อมูลการแผ่รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
raw dataข้อมูลดิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
raw dataข้อมูลดิบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
relational databaseฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
secondary dataข้อมูลทุติยภูมิ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
switched multimegabit data service (SMDS)บริการสลับข้อมูลแบบหลายเมกะบิต (เอสเอ็มดีเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
sense-dataข้อมูลทางประสาทสัมผัส [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
SMDS (switched multimegabit data service)เอสเอ็มดีเอส (บริการสลับข้อมูลแบบหลายเมกะบิต) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
synchronous data link control (SDLC)การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา (เอสดีแอลซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
synchronous data link control (SDLC)การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา (เอสดีแอลซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
SDLC (synchronous data link control)เอสดีแอลซี (การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
SDLC (synchronous data link control)เอสดีแอลซี (การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
output dataข้อมูลออก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
air data computer (ADC)คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน (เอดีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
automatic data captureการยึดเก็บข้อมูลอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
automatic data processing (ADP)การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ (เอดีพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
analog dataข้อมูลเชิงอุปมาน, ข้อมูลแอนะล็อก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ADP (automatic data processing)เอดีพี (การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ADT (abstract data type)เอดีที (แบบชนิดข้อมูลนามธรรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
abstract data type (ADT)แบบชนิดข้อมูลนามธรรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
abstract data type (ADT)แบบชนิดข้อมูลนามธรรม (เอดีที) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ADC (air data computer)เอดีซี (คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
aggregate dataข้อมูลรวม, ข้อมูลชุด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
biodataข้อมูลชีวประวัติ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
basic dataข้อมูลพื้นฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
bursty dataข้อมูลส่งเป็นชุดอย่างเร็ว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
mediate dataข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
mandatary; mandatoryผู้ได้รับมอบอาณัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
mandatory; mandataryผู้ได้รับมอบอาณัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
micro-dataข้อมูลจุลภาค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
multiple database; multidatabaseฐานข้อมูลแบบหลายชุด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
macro-dataข้อมูลมหภาค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
multidatabase; multiple databaseฐานข้อมูลแบบหลายชุด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Chordataคอร์ดาตา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
centralized data processing; centralised data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralized data processing; centralised data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
centralized database; centralised databaseฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralised data processing; centralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralised data processing; centralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
centralised database; centralized databaseฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
cleaning of data fileการตรวจชำระแฟ้มข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
crude dataข้อมูลอย่างหยาบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
data delimiterอักขระคั่นข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
data descriptionการพรรณนาข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
data description languageภาษาพรรณนาข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
data dictionaryพจนานุกรมข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Metadataเมทาดาทา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Databaseฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Data miningดาต้าไมนิง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Data contentเนื้อหาข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Data contentเนื้อหาข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data miningดาต้าไมนิง, Example: <p>การทําเหมืองข้อมูล (Data Mining) คือ กระบวนการจัดการกับข้อมูลจํานวนมากเพื่อค้นหารูปแบบและความสัมพันธ์ที่ซ่อนอยู่ในชุดข้อมูลนั้น ในปัจจุบันการทําเหมืองข้อมูลได้ถูกนําไปประยุกต์ใช้ในงานหลายประเภท ทั้งในด้านธุรกิจที่ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ รวมทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม <p>การทําเหมืองข้อมูลเปรียบเสมือนวิวัฒนาการหนึ่งในการจัดเก็บและตีความหมายข้อมูล จากเดิมที่มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างง่าย มาสู่การจัดเก็บในรูปฐานข้อมูลที่สามารถดึงข้อมูลสารสนเทศมาใช้จนถึงการทําเหมืองข้อมูลที่สามารถค้นพบความรู้ที่ซ่อนอยู่ในข้อมูล <p>วิวัฒนาการของการทำเหมืองข้อมูล <p>- 1960 Data Collection คือ การนําข้อมูลมาจัดเก็บอย่างเหมาะสมในอุปกรณ์ที่น่าเชื่อถือและป้องกันการสูญหายได้เป็นอย่างดี <p>- 1980 Data Access คือ การนําข้อมูลที่จัดเก็บมาสร้างความสัมพันธ์ต่อกันในข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการนําไปวิเคราะห์ และการตัดสินใจอย่างมีคุณภาพ <p>- 1990 Data Warehouse & Decision Support คือ การรวบรวมข้อมูลมาจัดเก็บลงไปในฐานข้อมูลขนาดใหญ่โดยครอบคลุมทุกด้านขององค์กร เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ <p>- 2000 Data Mining คือ การนําข้อมูลจากฐานข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผล โดยการสร้างแบบจําลองและความสัมพันธ์ทางสถิติ <p>ขั้นตอนการทำเหมืองข้อมูล ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ <p>- Data Cleaning เป็นขั้นตอนสำหรับการคัดข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป <p>- Data Integration เป็นขั้นตอนการรวมข้อมูลที่มีหลายแหล่งให้เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน <p>- Data Selection เป็นขั้นตอนการดึงข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์จากแหล่งที่บันทึกไว้ <p>- Data Transformation เป็นขั้นตอนการแปลงข้อมูลให้เหมาะสมสำหรับการใช้งาน <p>- Data Mining เป็นขั้นตอนการค้นหารูปแบบที่เป็นประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่ <p>- Pattern Evaluation เป็นขั้นตอนการประเมินรูปแบบที่ได้จากการทำเหมืองข้อมูล <p>- Knowledge Representation เป็นขั้นตอนการนำเสนอความรู้ที่ค้นพบ โดยใช้เทคนิคในการนำเสนอเพื่อให้เข้าใจ <p>แหล่งข้อมูลสำหรับการทำเหมืองข้อมูล ได้แก่ Database, Data Warehouse, World Wide Web และ Other Info Repositories <p>ส่วนประกอบในการทำเหมืองข้อมูล <p>- Database หรือ Data Warehouse Server ทำหน้าที่นำเข้าข้อมูลตามคำขอของผู้ใช้ <p>- Knowledge Base ได้แก่ ความรู้เฉพาะด้านในงานที่ทำจะเป็นประโยชน์ต่อการสืบค้น หรือประเมินความน่าสนใจของรูปแบบผลลัพธ์ที่ได้ <p>- Data Mining Engine เป็นส่วนประกอบหลักประกอบด้วยโมดูลที่รับผิดชอบงานทำเหมืองข้อมูลประเภทต่างๆ ได้แก่ การหากฎความสัมพันธ์ การจำแนกประเภท การจัดกลุ่ม <p>- Pattern Evaluation Module ทำงานร่วมกับ Data Mining Engine โดยใช้มาตรวัดความน่าสนใจในการกลั่นกรองรูปแบบผลลัทธ์ที่ได้ เพื่อให้การค้นหามุ่งเน้นเฉพาะรูปแบบที่น่าสนใจ <p>- Graphic User Interface ส่วนติดต่อประสานระหว่างผู้ใช้กับระบบการทำเหมืองข้อมูล ช่วยให้ผู้ใช้สามารถระบุงานทำเหมืองข้อมูลที่ต้องการทำ ดูข้อมูลหรือโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ประเมินผลลัพธ์ที่ได้ <p>ประเภทข้อมูลที่ใช้ทำเหมืองข้อมูล <p>- Relational Database เป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในรูปแบบของตาราง โดยในแต่ละตารางจะประกอบไปด้วยแถวและคอลัมน์ ความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมดสามารถแสดงได้โดย Entity Relationship Model <p>- Data Warehouses เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่งมาเก็บไว้ในรูปแบบเดียวกันและรวบรวมไว้ในที่ๆ เดียวกัน <p>- Transactional Database ประกอบด้วยข้อมูลที่แต่ละทรานเเซกชันแทนด้วยเหตุการณ์ในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ใบเสร็จรับเงิน จะเก็บข้อมูลในรูปชื่อลูกค้าและรายการสินค้าที่ลูกค้ารายซื้อ <p>- Advanced Database เป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บในรูปแบบอื่นๆ เช่น ข้อมูลแบบ Object-Oriented ข้อมูลที่เป็น Text File ข้อมูลมัลติมีเดีย ข้อมูลในรูปของ Web <p>งานของ Data Mining ในทางปฏิบัติจริงจะประสบความสำเร็จกับงานบางกลุ่มเท่านั้น ไม่มีเทคนิคหรือเครื่องมือเพียงชนิดเดียวของ Data Mining ที่เหมาะสมกับงานทุกชนิด งานในแต่ละชนิดก็จะมีเทคนิคของ Data Mining ที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิดของงาน <p>บรรณานุกรม <p>อดุลย์ ยิ้มงาม. การทําเหมืองข้อมูล (Data Mining). Aavailable at : http://compcenter.bu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=75&Itemid=172. Accessed July 25, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Databaseฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Serial Data Systemระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ, Example: <p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Metadataเมทาดาทา, Example: เมทาดาทา คือ การอธิบายให้ทราบรายละเอียดของข้อมูล ซึ่งจะต้องคุณสมบัติ 2 ประการ คือ เป็นข้อมูลที่มีโครงสร้าง และ ต้องอธิบายถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ <p>ความจำเป็นที่ต้องมีเมทาดาทา เกิดขึ้น เนื่องจากสารสนเทศที่สร้างขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ลักษณะ คือ <p>1. เนื้อหา (Content) ของงาน เกี่ยวกับชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ต้นฉบับ (แำหล่งที่มา) ภาษา เรื่องที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต <p>2. บริบท (Context) ของสารสนเทศ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาของงาน เช่น ผู้เขียน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สำนักพิมพ์ ผู้มีส่วนร่วมในผลงาน และสิทธิในงานนั้นๆ <p>3. โครงสร้าง (Structure) ของข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เดือน ปีที่สร้างผลงาน ประเภทของเนื้อหา รูปแบบการนำเสนอผลงาน และตัวบุ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร <p>ประเภทและหน้าที่ของเมทาดาทา <p>การทำเมทาดาทา จะต้องเข้าใจถึงประเภทของเมทาดาทาซึ่งจำแนกตามหน้าที่ได้ 3 ประการ คือ <p>1. เมทาดาทาเชิงการบริหาร (Administrative metadata) เป็นการกำหนดเมทาดาทาเพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เช่น เป็นเมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับ การจัดหาสารสนเทศนั้นๆ การสร้าง การปรับปรุงสารสนเทศ เป็นเมทาดาทาเกี่ยวกับการสงวนรักษาข้อมูล เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการย้้ายสภาพ เป็นต้น <p>2. เมทาดาทาเชิงการพรรณนา (Descriptive metadata) เป็นเมทาดาทาที่อธิบายเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ เช่น การลงรายการ ชื่อเรื่อง ชื่่อผู้แต่ง หัวเรื่อง การจัดหมวดหมู่ <p>3. เมทาดาทาเชิงโครงสร้าง (Structure metadata) เป็นเมทาดาทาที่แสดงหรือนำสารสนเทศไปถึงผู้ใช้ เช่น เมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์หรือเครื่องที่ใช้ในการอ่านภาพ ข้อมูลการแปลงเป็นดิจิทัล เป็นต้น <p>ลักษณะของเมทาดาทา <p>การใส่เมทาดาทา เพื่ออธิบายสารสนเทศนั้น สามารถใส่เมทาดาทาไปกับตัววัตถุ (Embedded object) เช่น ใส่เมทาดาทาไปกับแฟ้มข้อมูลที่สร้างขึ้น หรือ ใส่เมทาดาทาแยกจากสารสนเทศ โดยผ่านตัวแบบฟอร์มการกรอกเมทาดาทาของระบบอีกต่อหนึ่ง <p>ความสำคัญของเมทาดาทา <p>1. เพื่อการค้นหาสารสนเทศ เมทาดาทาที่ถูกกำหนดไว้จะเป็นตัวช่วยในการเข้าสารสนเทศได้ <p>2. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เว็บพอร์ทัลที่เชื่อมโยงไปยังสารสนเทศต่างๆ จะได้ประโยชน์โดยเฉพาะถ้าเว็บเหล่านั้น ถูกสร้างเป็นแบบไดนามิกเว็บจากเมทาดาทาที่เก็บในฐานข้อมูล โดยการใช้โปรแกรมหรือเครื่องมือในการดึงและการปรับรูปแบบใหม่ (Reformat) ได้ <p>3. การใช้งานได้หลากหลายระบบ (Interoperability) ด้วยความแตกต่างทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โครงสร้างข้อมูลและส่วนต่อประสาน การกำหนดใช้เมทาดาทา โปรโตคอลที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูล และ Crosswalk ระหว่างเมทาดาทา สามารถช่วยให้การสืบค้นข้ามระบบหรือทำให้ความแตกต่างดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรค โดย 2 แนวทาง ได้แก่ <p>3.1 การสืบค้นข้ามระบบ (Cross-system search) โดยมีโปรโตคอล Z39.50 เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการสืบค้นข้ามระบบ <p>3.2 การเก็บเกี่ยวเมทาดาทา (Metadata harvesting) Open Archives Initiative (OAI) OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลได้ OAI เป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ <p>4. การบ่งชี้ดิจิทัล เค้าร่างเมทาดาทาส่วนใหญ่ มีองค์ประกอบที่เป็นเลขมาตรฐาน เพื่อเป็นการบ่งชี้เฉพาะถึงผลงานหรือสารสนเทศที่เมทาดาทานั้นอ้างถึง ที่อยู่หรือตำแหน่งของสารสนเทศดิจิทัลอาจถูกกำหนดด้วยชื่อแฟ้มข้อมูล ยูอาร์แอลหรือตัวบ่งชี้ถาวร การมีองค์ประกอบที่มีข้อมูลตัวนี้จะเป็นตัวชี้ไปยังสารสนเทศ เมทาดาทาสามารถถูกรวมไปกับการอธิบายตัวข้อมูลด้วย <p>5. การเก็บถาวรและการสงวนรักษา เมทาดาทาเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้แน่ใจว่า สารสนเทศจะถูกสามารถเข้าใช้หรือเข้าถึงได้อย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบของการจัดเก็บถาวรและสงวนรักษา จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อติดตามเส้นทางของสารสนเทศ (แหล่งที่มา และประวัติการเปลี่นแปลง) เพื่อดูรายละเอียดของลักษณะทางกายภาพ และเพื่อที่จะแข่งขันหรือพยายามเลียนแบบเทคโนโลยีในอนาคต [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online databaseฐานข้อมูลแบบออนไลน์, Example: <p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Union catalog databaseฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database searchingการค้นหาฐานข้อมูล, Example: <p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Optical data processingการประมวลผลด้วยแสง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Real-time data processingการประมวลผลแบบทันที [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Dublin Core Metadataดับลินคอร์เมทาดาทา, Example: ดับลินคอร์เมทาดาทา เป็นหลักเกณฑ์ของการลงเมทาดาทาสำหรับเอกสารบนเว็บ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีสารสนเทศจำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นเอกสารที่เจ้าของผลงานผลิตขึ้นเองโดยใช้เพียงภาษาเอชทีเอ็มแอล ในการกำหนดรูปแบบการแสดงผลและเชื่อมโยงข้อมูลเท่านั้น ไม่มีโครงสร้างมาตรฐานสำหรับสืบค้นที่ระบุเขตข้อมูล คณะทำงานดับลินคอร์ซึ่งประกอบด้วย บรรณารักษ์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศและผู้ทำงานด้านสร้างข้อมูลในเว็บของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และหลายประเทศในยุโรปต่างประสบปัญหาและเห็นว่าการสร้างสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์จำเป็นต้องมีการกำหนดคำจำกัดความตามมาตรฐาน เพื่อช่วยให้สืบค้นสารสนเทศได้เนื้อหาตรงกับความต้องการได้ ในปี ค.ศ. 1995 คณะทำงานดับลินคอร์จึงได้ประชุมกันครั้งแรกที่เมืองดับลิน รัฐโอไฮโอ และกำหนดชุดหน่วยข้อมูลย่อย 15 หน่วย สำหรับใช้พรรณนาสารสนเทศดิจิทัลเพื่อให้เจ้าของผลงานจัดทำเมทาดาทาด้วยตนเอง และสามารถสืบค้นร่วมกันกับฐานข้อมูลต่างระบบ ปัจจุบันดับลินคอร์ได้รับการประกาศเป็นมาตรฐานสากล ISO 15836 และมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา NISO Z39.85 ดับลินคอร์ได้รับการนำไปใช้อย่างกว้างขวางและเป็นพื้นฐานของการประยุกต์ใช้ ในโครงการต่างๆ หรือห้องสมุดต่างๆ มากมาย หน่วยข้อมูลย่อยดับลินคอร์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ <p>หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ต้นฉบับ (แหล่งที่มา) ภาษา เรื่องที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต <p>หน่วยข้อมูลย่อย ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ ผู้เขียน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สำนักพิมพ์ ผู้มีส่วนร่วมในผลงานนั้นๆ และสิทธิ <p>หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบที่ปรากฏให้ใช้งาน เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ วัน เดือน ปี ที่สร้างผลงาน ประเภทของเนื้อหา รูปแบบของการนำเสนอผลงาน และตัวบ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร <p>ดับลินคอร์เมทาดาทา 15 เขตข้อมูล ได้แก่ <p> 1. Title ชื่อของทรัพยากรสารสนเทศ ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร โดยทั่วไปใช้ชื่อที่รู้จักแพร่หลายอย่างเป็นทางการ <p> 2. Creator ผู้รับผิดชอบการจัดทำต้นฉบับเนื้อหาทรัพยากร หมายรวมถึง บุคคล องค์กร หรือหน่วยบริการ ปกติชื่อเจ้าของงานควรใช้ชื่อที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 3. Subject หัวเรื่องของเนื้อหา จะแสดงด้วยคำสำคัญ วลีสำคัญ หรือรหัสหมวดวิชาที่กล่าวถึงทรัพยกร <p> 4. Description คำอธิบายย่อเนื้อหาของทรัพยากร เป็นบทคัดย่อจากเนื้อหาของทรัพยากรที่เจ้าของงานหรือผู้อื่นเป็นผู้จัดทำ <p> 5. Publisher ผู้รับผิดชอบให้มีการสร้างหรือผลิตทรัพยากรขึ้น หมายรวมถึง บุคคล องค์กรหรือหน่วยบริการ ปกติควรใช้สำนักพิมพ์ที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 6. Contributor ผู้รับผิดชอบร่วมให้มีการสร้างหรือผลิตด้านเนื้อหาทรัพยากร หมายรวมถึงบุคคล องค์กรหรือหน่วยบริการ ปกติควรใช้ชื่อที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 7. Date ปีที่จัดพิมพ์เผยแพร่เอกสารในรูปสิ่งพิมพ์ แนะนำให้ใช้แบบแผน ISO 8601 yyyy-mm-dd <p> 8. Type ประเภททรัพยากร ชนิดของเนื้อหาหรือประเภทของสารสนเทศ <p> 9. Format รูปลักษณ์ของทรัพยากร <p> 10. Identifier รหัสทรัพยากรสารสนเทศ รหัสที่ใช้ระบุว่าหมายถึงทรัพยากรรายการนั้น เช่น URL UR ISBN หรือเลขเรียกหนังสือ (Call no.) <p> 11. Source การอ้างอิงต้นฉบับของทรัพยากรซึ่งเป็นที่มาของการแปลง แปร หรือแปลทรัพยากรสู่รูปแบบปัจจุบัน <p> 12. Language ภาษาที่ใช้เรียบเรียงเนื้อหา <p> 13. Relation การอ้างอิงถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง <p> 14. Coverage ระยะเวลาหรือขอบเขตเนื้อหาของทรัพยากร <p> 15. Rights ข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีสิทธิในทรัพยากรนั้นๆ <p> ตัวอย่าง Dublin Core ในเอกสารเว็บ <p><a href ="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120526-Dublin-Core.jpg"><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120526-Dublin-Core.jpg" alt="Dublin Core" width="670px"></a> <p>การที่ดับลินคอร์เมทาดาทาเป็นที่นิยมใช้ เนื่องจาก ผู้นำไปใช้ไม่จำเป็นต้องใช้หน่วยข้อมูลย่อยทั้งหมด สามารถเลือกใช้เท่าที่จำเป็นหรือต้องการ สามารถใช้หน่วยข้อมูลซ้ำได้ สามารถเพิ่มขยายหน่วยข้อมูลได้ตามความจำเป็น และใช้งานได้หลากหลายระบบ (Interoperability) และเป็นสากล <p>บรรณานุกรม: <p>Dublin Core Metadata Initiative. [ Online ]. Available: http://dublincore.org/ Accessed: 2012-05-26. <p>Dublin Core Tutorial. [ Online ]. Available: http://www.tutorialsonline.info/Common/DublinCore.html. Accessed: 2012-05-26. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database designการออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data structures (Computer sciences)โครงสร้างข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data sharingการแลกเปลี่ยนข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electronic data processing documentationเอกสารประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data compression (Telecommunication)การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data compression (Telecommunication)การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [เทคโนโลยีการศึกษา]
Distributed databaseฐานข้อมูลแบบกระจาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Packet switching (Data transmission)แพ็กเกตสวิตชิง (การสื่อสารข้อมูล) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Web databaseเว็บดาตาเบส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Consumer dataข้อมูาลผู้บริโภค [เศรษฐศาสตร์]
Dataข้อมูล [เศรษฐศาสตร์]
Data recovery (Computer science))การกู้ข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data encryption (Computer science))การเข้ารหัสลับข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Statistical dataข้อมูลเชิงสถิติ [เศรษฐศาสตร์]
Trade data interchangeการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการค้า [เศรษฐศาสตร์]
dataข้อมูล, Example: ข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตหรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ของโลก เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์นั้น โดยทั่วไปก็คือ ตัวเลข หรือข้อความที่บันทึกเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ผลการสอบของนักเรียน เป็นข้อมูลที่ทำให้ทราบว่า นักเรียนมีความรู้ความสามารถในวิชาที่สอนนั้นหรือไม่ ข้อมูลที่นำมาประมวลและจัดเรียบเรียงให้มีความหมาย เช่น นำมาคำนวณแล้วจัดพิมพ์ลงในรายงานนั้นเรียกว่า สารสนเทศ (information) [คอมพิวเตอร์]
Real-time data processingการประมวลผลข้อมูลแบบทันที [คอมพิวเตอร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [คอมพิวเตอร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์]
Electronic data processing -- Distributedการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบกระจาย [คอมพิวเตอร์]
Data protectionการป้องกันข้อมูล [คอมพิวเตอร์]
Electronic data interchangeการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์]
Synchronous digital hierarchy (Data transmission)การสื่อสารข้อมูลแบบซินโครนัสที่มีลำดับชั้น [คอมพิวเตอร์]
Dataข้อมูล [การจัดการความรู้]
Database designการออกแบบฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์]
Databaseฐานข้อมูล, Example: ระบบการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเอาไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สะดวกกับการค้นคืนข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของไทยคือ ฐานข้อมูลประชากรไทยประมาณ 60 ล้านคนที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ขนดาใหญ่ของสำนักงานบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย [คอมพิวเตอร์]
Database Management Systemระบบจัดการฐานข้อมูล, Example: ซอฟต์แวร์สำหรับทำหน้าที่บันทึกข้อมูลไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ค้นคืน จัดทำรายงาน ประมวลผล และดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล ปัจจุบันนี้มีระบบ DBMS ให้เลือกซื้อมาใช้หลายระบบด้วยกัน อาทิ Oracle, Ingres, Progress, Informix ซึ่งเป็นระบบที่มีใช้ทั้งในเครื่องขนาดใหญ่และขนาดเล็ก Access, Foxpro และ dBASE เป็นระบบที่มีใช้ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์]

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Automated Meteorological Data Acquisition System(jargon) ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ
big data(n) ข้อมูลมหัต
collection of dataการเก็บรวบรวมข้อมูล
data warehouse(n) ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน)
metadata(n) ข้อมูลของข้อมูล ซึ่งจะใช้ข้อมูลอธิบายถึงข้อมูลอีกชุดหนึ่งตามต้องการ, See also: metatable
metadata(n) นิยามข้อมูล
processing of personal data(phrase) การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
dataWe examined the following magazines to collect the data.
dataReexamination of the data is required to make the formula accurate.
dataThis data is incorrect.
dataI'm afraid this data is not reliable.
dataProgress is monitored daily and stored in a database.
dataI proved the fact on the strength of the data.
dataThe working group on data transfer, led by Ben Manny, will hold a meeting on Jan 14, 1999.
dataAs is evident from the data, smoking is not decreasing among the young.
dataFor a display where the data items increase and decrease I think you are best making use of a spreadsheet program, not Access.
dataIt is questionable whether this data can be relied on.
dataParticipating in the General Meeting made me aware of the new technology of data transportation.
dataThe data cited in King's research is taken from UNESCO's 1970 white paper on world population.
dataThe data presented in his book are not based on scientific observations.
dataCould I get you to update this data for me?
dataThe data has been fed into the computer.
dataWe should leave out this data. It's far from accurate.
dataThe data to be discussed below was collected in the following way.
dataThis data is immaterial to the argument.
dataThe data was completely useless.
dataThis data supports the hypothesis.
dataThe data in her paper serves to further our purpose.
dataI hope this data will be useful to you.
dataThey conducted the following experiment to collect the data.
dataCould you give this data a final check for me?
dataThis data is for my thesis.
dataThe interpretation of this data, however, is very much in dispute.
data- Correction of misprinted/missing characters in the text data.
dataWe used to compile survey results using spreadsheet programs but recently we feel that database software's summing methods are quicker so we use databases to total them.
dataThe data hasn't been compiled yet.
dataIn the absence of sufficient data, the survey was given up.
dataThis data is of no value now.
dataComputer technology is indispensable to access many pertinent items of data.
dataOh, I lost the data!
dataI have a large body of information in my computer database.
dataData can be transmitted from the main computer to yours, and vice versa.
dataI feed data into a computer.
dataAny doubts about the validity of this argument are promptly forgotten once we see the data.
dataThe weather is forecast, using the past data as a basis.
dataprototype.js - inserts 'what's new' data into the page when it is read.
dataThe data collected in Tyrel's research is of great value both to administrators and to educators.
dataThe statistical data presented in her paper is of great use for us in estimating the frequency of the movement.
dataFar from refuting the thesis that race is to blame for lower IQ score, Lynn's data actually supports it.
dataList data can easily be totalled using the automatic sum function.
dataWe are afraid that our new address is not registered on your database.
dataThe senator charged that I had distorted the data.
dataIn our interpretation, the output data in Table 2 is an acceptable variation of that in Table 1.
dataPlease change your database to reflect the new address as follows.
dataThe data is often inaccurate.
dataIn addition to classifying the data, the machine also checks the figures.
dataThis data is anything but accurate.

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เครื่องเก็บบันทึกข้อมูล(n) data entry equipment, Syn. เครื่องบันทึกข้อมูล, Thai Definition: อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียม และบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล
จอแสดงผล(n) screen for viewdata, See also: monitor for viewdata
ข้อมูลดิบ(n) raw data, Example: นักสถิติใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิบเพื่อแปลงผลข้อมูล, Thai Definition: ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มักเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อยหรือน้อยไปหามาก
สำรองข้อมูล(v) store data
แหล่งข้อมูล(n) data source
การประมวลผล(n) data processing, Example: มนุษย์ได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลเป็นเวลาเกือบครึ่งศตวรรษแล้ว, Thai Definition: การรวบรวมผลที่ได้ให้เป็นระเบียบและหมวดหมู่
ประมวลผลข้อมูล(v) process data (information), See also: evaluate data (information), Example: ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ประมวลผลข้อมูลในลักษณะของตัวเลข, Thai Definition: รวบรวมผลของข้อมูลให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่
สถิติ(n) statistics, See also: figures, data, record, Example: การแข่งขันด้านความเร็วทำให้สถิติการเกิดอุบัติเหตุล้ำหน้าสถิติการเกิดโรค, Thai Definition: หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ข้อมูลออก(n) output data, Ant. ข้อมูลเข้า, Example: ข้อมูลออกจะเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแยกต่างหาก, Thai Definition: ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ซึ่งแสดงหลังจากที่ใส่หรือผ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว
ข้อมูลร่วม(n) common data, See also: general data, ordinary message, Example: คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองผู้ใช้ที่มีความต้องการจะมีข้อมูลร่วมเพิ่มขึ้น
ข้อมูลเข้า(n) input data, Ant. ข้อมูลออก, Example: ข้อมูลเข้าของตัวสร้างภาษาคือรูปแทนภาษากลาง, Thai Definition: ข้อมูลที่ใส่หรือป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางคีย์บอร์ด
ข้อมูล(n) data, See also: information, Example: ไวรัสตัวใหม่ทำให้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์หายไป, Thai Definition: ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ
ฐานข้อมูล(n) database, Example: ฐานข้อมูลที่มีการเก็บคุณสมบัติของวัสดุ มักจำกัดเฉพาะกับโลหะ พลาสติก หรือกระเบื้อง
ฐานข้อมูลร่วม(n) integral database, Example: โปรแกรม MapInfo มีโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลร่วมอยู่ด้วยมีชื่อว่า Mbase
เท็จจริง(n) fact, See also: truth, data, figure, reality, actuality, certainty, substantiality, matter, Syn. ความจริง, ข้อเท็จจริง, เรื่องจริง
ธรรมธาตุ(n) mental-data element, See also: having the element of the Law or of existence, appellation for the Buddha whose essence is, Syn. ธรรมารมณ์, ธรรมธาตุ, Thai Definition: อารมณ์ที่เกิดทางใจ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
เก็บข้อมูล(v) collect / gather data, See also: call / gather information

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ชนิดข้อมูล[chanit khømūn] (n, exp) EN: data type  FR: type de données [ m ]
ชุดข้อมูล[chut khømūn] (n, exp) EN: data set  FR: sélection [ f ]
ดาต้า[dātā] (n) EN: data  FR: données [ fpl ]
อีดีพี[Ī.Dī.Phī.] (abv) EN: EDP (Electronic Data Processing)
จัดการข้อมูล[jatkān khømūn] (v, exp) EN: process data
การแบ่งกลุ่มข้อมูล[kān baeng klum khømūn] (n, exp) EN: data clustering ; data classification
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล[kān khumkhrøng khømūn suanbukkhon] (n, exp) EN: personal data protection  FR: protection des données personnelles [ f ]
การนำเสนอข้อมูล[kān namsanōe khømūn] (n, exp) EN: data presentation
การโอนย้ายข้อมูล[kān ōnyāi khømūn] (n, exp) EN: data transfer  FR: transfert de données [ m ]
การป้องกันข้อมูล[kān pǿngkan khømūn] (n, exp) EN: data protection  FR: protection des données [ f ]
การประมวลผลข้อมูล[kān pramūanphon khømūn] (n, exp) EN: data processing  FR: traitement des données [ m ]
การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์[kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP)
การรับส่งข้อมูล[kān rapsong khømūn] (n, exp) EN: data transmission  FR: transmission de données [ f ]
การรวบรวมข้อมูล[kān rūaprūam khømūn] (n, exp) EN: data collection ; data acquisition
เก็บข้อมูล[kep khømūn] (v, exp) EN: record data  FR: enregistrer des données ; conserver des informations
คลังข้อมูล[khlang khømūn] (n, exp) EN: database ; data bank  FR: base de données [ f ] ; banque de données [ f ]
ข้อมูล[khømūn] (n) EN: data ; facts ; information  FR: donnée [ f ] ; information [ f ] ; chiffre [ m ]
ข้อมูลด้านแรงงาน[khømūn dān raēng-ngān] (n, exp) EN: labour data = labor data (Am.)  FR: chiffre de l'emploi [ m ]
ข้อมูลสถิติ[khømūn sathiti] (n, exp) EN: statistical data  FR: données statistiques [ fpl ]
แหล่งข้อมูล[laēng khømūn] (n, exp) EN: data source ; source of information
ประมวลผลข้อมูล[pramūan phon khømūn] (v, exp) EN: process data (information) ; evaluate data (information)  FR: traiter des données ; traiter des informations
ระเบียนข้อมูล[rabīen khømūn] (n) EN: data record  FR: enregistrement [ m ]
ระบบจัดการฐานข้อมูล[rabop jatkān thānkhømūn] (n, exp) EN: Database Management System (DBMS)
ระบบฐานข้อมูล[rabop thānkhømūn] (n, exp) EN: database system
รวมข้อมูล[rūam khømūn] (v, exp) EN: gather data ; gather material  FR: collecter des informations
สำรองข้อมูล[samrøng khømūn] (v, exp) EN: back up ; store data  FR: sauvegarder un fichier ; faire une sauvegarde (de données)
สถิต[sathit] (n) EN: statistics ; figures ; data ; record
สถิติ[sathiti] (n) EN: statistics ; figures ; data ; record  FR: statistique [ f ] ; donnée [ f ] ; chiffre [ m ]
ฐานข้อมูล[thānkhømūn] (n) EN: database  FR: base de données [ f ]
ฐานข้อมูลหลายมิติ[thānkhømūn lāi miti] (n, exp) EN: multidimentional database   FR: base de données multidimensionnelle

CMU Pronouncing Dictionary
data
 /D EY1 T AH0/
/เด๊ เถอะ/
/dˈeɪtə/
data
 /D AE1 T AH0/
/แด๊ เถอะ/
/dˈætə/
datas
 /D EY1 T AH0 Z/
/เด๊ เถอะ สึ/
/dˈeɪtəz/
datas
 /D AE1 T AH0 Z/
/แด๊ เถอะ สึ/
/dˈætəz/
data's
 /D EY1 T AH0 Z/
/เด๊ เถอะ สึ/
/dˈeɪtəz/
data's
 /D AE1 T AH0 Z/
/แด๊ เถอะ สึ/
/dˈætəz/
fidata
 /F IH0 D AA1 T AH0/
/ฝิ ด๊า เถอะ/
/fɪdˈɑːtə/
indata
 /IH2 N D AA1 T AH0/
/อิน ด๊า เถอะ/
/ˌɪndˈɑːtə/
comdata
 /K AA1 M D AE2 D AH0/
/ค้าม แด เดอะ/
/kˈɑːmdˌædə/
comdata
 /K AA1 M D EY2 D AH0/
/ค้าม เด เดอะ/
/kˈɑːmdˌeɪdə/
dataram
 /D EY1 T ER0 AE2 M/
/เด๊ เถ่อ (ร) แรม/
/dˈeɪtɜːʴˌæm/
dataram
 /D AE1 T ER0 AE2 M/
/แด๊ เถ่อ (ร) แรม/
/dˈætɜːʴˌæm/
datarex
 /D EY1 T ER0 EH2 K S/
/เด๊ เถ่อ (ร) เระ ขึ สึ/
/dˈeɪtɜːʴˌeks/
datarex
 /D AE1 T ER0 EH2 K S/
/แด๊ เถ่อ (ร) เระ ขึ สึ/
/dˈætɜːʴˌeks/
dataset
 /D EY1 T AH0 S EH2 T/
/เด๊ เถอะ เซะ ถึ/
/dˈeɪtəsˌet/
database
 /D EY1 T AH0 B EY2 S/
/เด๊ เถอะ เบ สึ/
/dˈeɪtəbˌeɪs/
database
 /D AE1 T AH0 B EY2 S/
/แด๊ เถอะ เบ สึ/
/dˈætəbˌeɪs/
datacard
 /D EY1 T AH0 K AA2 R D/
/เด๊ เถอะ คา (ร) ดึ/
/dˈeɪtəkˌɑːrd/
datacard
 /D AE1 T AH0 K AA2 R D/
/แด๊ เถอะ คา (ร) ดึ/
/dˈætəkˌɑːrd/
datacomm
 /D EY1 T AH0 K AA2 M/
/เด๊ เถอะ คาม/
/dˈeɪtəkˌɑːm/
datacomm
 /D AE1 T AH0 K AA2 M/
/แด๊ เถอะ คาม/
/dˈætəkˌɑːm/
datacomp
 /D EY1 T AH0 K AA2 M P/
/เด๊ เถอะ คาม ผึ/
/dˈeɪtəkˌɑːmp/
datacomp
 /D AE1 T AH0 K AA2 M P/
/แด๊ เถอะ คาม ผึ/
/dˈætəkˌɑːmp/
datacopy
 /D EY1 T AH0 K AA2 P IY0/
/เด๊ เถอะ คา ผี่/
/dˈeɪtəkˌɑːpiː/
datacopy
 /D AE1 T AH0 K AA2 P IY0/
/แด๊ เถอะ คา ผี่/
/dˈætəkˌɑːpiː/
datasets
 /D EY1 T AH0 S EH2 T S/
/เด๊ เถอะ เซะ ถึ สึ/
/dˈeɪtəsˌets/
teradata
 /T EH2 R AH0 D AA1 T AH0/
/แท เหรอะ ด๊า เถอะ/
/tˌerədˈɑːtə/
ameridata
 /AH0 M EH1 R AH0 D AE2 T AH0/
/เออะ แม้ เหรอะ แด เถอะ/
/əmˈerədˌætə/
databases
 /D EY1 T AH0 B EY2 S IH0 Z/
/เด๊ เถอะ เบ สิ สึ/
/dˈeɪtəbˌeɪsɪz/
databases
 /D AE1 T AH0 B EY2 S IH0 Z/
/แด๊ เถอะ เบ สิ สึ/
/dˈætəbˌeɪsɪz/
datacards
 /D EY1 T AH0 K AA2 R D Z/
/เด๊ เถอะ คา (ร) ดึ สึ/
/dˈeɪtəkˌɑːrdz/
datacards
 /D AE1 T AH0 K AA2 R D Z/
/แด๊ เถอะ คา (ร) ดึ สึ/
/dˈætəkˌɑːrdz/
datapoint
 /D EY1 T AH0 P OY1 N T/
/เด๊ เถอะ พ้อย น ถึ/
/dˈeɪtəpˈɔɪnt/
datapoint
 /D AE1 T AH0 P OY1 N T/
/แด๊ เถอะ พ้อย น ถึ/
/dˈætəpˈɔɪnt/
datapower
 /D EY1 T AH0 P AW2 R/
/เด๊ เถอะ พาว ร/
/dˈeɪtəpˌaʊr/
datapower
 /D AE1 T AH0 P AW2 R/
/แด๊ เถอะ พาว ร/
/dˈætəpˌaʊr/
dataquest
 /D EY1 T AH0 K W EH2 S T/
/เด๊ เถอะ เควะ สึ ถึ/
/dˈeɪtəkwˌest/
dataquest
 /D AE1 T AH0 K W EH2 S T/
/แด๊ เถอะ เควะ สึ ถึ/
/dˈætəkwˌest/
datapoints
 /D EY1 T AH0 P OY1 N T S/
/เด๊ เถอะ พ้อย น ถึ สึ/
/dˈeɪtəpˈɔɪnts/
datapoints
 /D AE1 T AH0 P OY1 N T S/
/แด๊ เถอะ พ้อย น ถึ สึ/
/dˈætəpˈɔɪnts/
sense-data
 /S EH1 N S D EY2 T AH0/
/เซ้น สึ เด เถอะ/
/sˈensdˌeɪtə/
sense-data
 /S EH1 N S D AE2 T AH0/
/เซ้น สึ แด เถอะ/
/sˈensdˌætə/
datagraphix
 /D EY1 T AH0 G R AE2 F IH0 K S/
/เด๊ เถอะ แกร ฝิ ขึ สึ/
/dˈeɪtəgrˌæfɪks/
datametrics
 /D EY1 T AH0 M EH2 T R IH0 K S/
/เด๊ เถอะ เมะ ถริ ขึ สึ/
/dˈeɪtəmˌetrɪks/
datametrics
 /D AE1 T AH0 M EH2 T R IH0 K S/
/แด๊ เถอะ เมะ ถริ ขึ สึ/
/dˈætəmˌetrɪks/
datapoint's
 /D EY1 T AH0 P OY1 N T S/
/เด๊ เถอะ พ้อย น ถึ สึ/
/dˈeɪtəpˈɔɪnts/
datapoint's
 /D AE1 T AH0 P OY1 N T S/
/แด๊ เถอะ พ้อย น ถึ สึ/
/dˈætəpˈɔɪnts/
dataquest's
 /D EY1 T AH0 K W EH2 S T S/
/เด๊ เถอะ เควะ สึ ถึ สึ/
/dˈeɪtəkwˌests/
dataquest's
 /D AE1 T AH0 K W EH2 S T S/
/แด๊ เถอะ เควะ สึ ถึ สึ/
/dˈætəkwˌests/
sense-datas
 /S EH1 N S D EY1 T AH0 Z/
/เซ้น สึ เด๊ เถอะ สึ/
/sˈensdˈeɪtəz/

Oxford Advanced Learners Dictionary
data
 (n) /d ei1 t @/ /เด๊ เถอะ/ /dˈeɪtə/
datable
 (adj) /d ei1 t @ b l/ /เด๊ เถอะ บึ ล/ /dˈeɪtəbl/
mandatary
 (n) /m a1 n d @ t @ r ii/ /แม้น เดอะ เถอะ หรี่/ /mˈændətəriː/
mandataries
 (n) /m a1 n d @ t @ r i z/ /แม้น เดอะ เถอะ หริ สึ/ /mˈændətərɪz/
Dataproducts
  /d ei1 t @ - p r o1 d uh k t s/ /เด๊ เถอะ เพราะ เดอะ ขึ ถึ สึ/ /dˈeɪtə-prˈɒdʌkts/

WordNet (3.0)
accounting data(n) all the data (ledgers and journals and spreadsheets) that support a financial statement; can be hard copy or machine readable
administrative data processing(n) data processing in accounting or business management, Syn. business data processing
automatic data processing(n) data processing by a computer, Syn. ADP
cephalochordata(n) lancelets, Syn. subphylum Cephalochordata
chordata(n) comprises true vertebrates and animals having a notochord, Syn. phylum Chordata
data(n) a collection of facts from which conclusions may be drawn, Syn. information
database(n) an organized body of related information
database management(n) creation and maintenance of a database
database management system(n) a software system that facilitates the creation and maintenance and use of an electronic database, Syn. DBMS
datable(adj) that can be given a date; - C.W.Shumaker, Syn. dateable, Ant. undatable
data conversion(n) conversion from one way of encoding data to another way
data converter(n) converter for changing information from one code to another
data encryption(n) (computer science) the encryption of data for security purposes
data hierarchy(n) an arrangement of data consisting of sets and subsets such that every subset of a set is of lower rank than the set
data input device(n) a device that can be used to insert data into a computer or other computational device, Syn. input device
data mining(n) data processing using sophisticated data search capabilities and statistical algorithms to discover patterns and correlations in large preexisting databases; a way to discover new meaning in data
data multiplexer(n) a multiplexer that permits two or more data sources to share a common transmission medium
data processing(n) (computer science) a series of operations on data by a computer in order to retrieve or transform or classify information
data rate(n) the rate at which circuits or other devices operate when handling digital information
data structure(n) (computer science) the organization of data (and its storage allocations in a computer)
data system(n) system consisting of the network of all communication channels used within an organization, Syn. information system
distributed data processing(n) data processing in which some of the functions are performed in different places and connected by transmission facilities, Syn. teleprocessing, remote-access data processing
electronic database(n) (computer science) a database that can be accessed by computers, Syn. computer database, electronic information service, on-line database
electronic data processing(n) automatic data processing by electronic means without the use of tabulating cards or punched tapes, Syn. EDP
integrated data processing(n) automatic data processing in which data acquisition and other stages or processing are integrated into a coherent system, Syn. IDP
lexical database(n) a database of information about words
mandatary(n) the recipient of a mandate, Syn. mandatory
metadata(n) data about data
national climatic data center(n) the part of NOAA that maintains the world's largest active archive of weather data, Syn. NCDC
naval tactical data system(n) a shipboard system for collecting and displaying tactical data
object-oriented database(n) a database in which the operations carried out on information items (data objects) are considered part of their definition
object-oriented database management system(n) a database management system designed to manage an object-oriented database
patent and trademark office database(n) the government bureau in the Department of Commerce that keeps a record of patents and trademarks and grants new ones, Syn. Patent Office
raw data(n) unanalyzed data; data not yet subjected to analysis
relational database(n) a database in which relations between information items are explicitly specified as accessible attributes
relational database management system(n) a database management system designed to manage a relational database
subdata base(n) a subset of data in a database that are used in a specific application
undatable(adj) not capable of being given a date, Ant. datable
urochordata(n) tunicates, Syn. Urochorda, subphylum Tunicata, Tunicata, subphylum Urochorda, subphylum Urochordata
australian hare's foot(n) a hare's-foot fern of the genus Davallia, Syn. Davallia pyxidata
bird's-foot violet(n) common violet of the eastern United States with large pale blue or purple flowers resembling pansies, Syn. pansy violet, Johnny-jump-up, wood violet, Viola pedata
boston ivy(n) Asiatic vine with three-lobed leaves and purple berries, Syn. Japanese ivy, Parthenocissus tricuspidata
computer(n) a machine for performing calculations automatically, Syn. information processing system, computing device, computing machine, electronic computer, data processor
computer system(n) a system of one or more computers and associated software with common storage, Syn. computing system, ADP system, ADPS, automatic data processing system
cowherb(n) European annual with pale rose-colored flowers; cultivated flower or self-sown grainfield weed; introduced in North America; sometimes classified as a soapwort, Syn. Saponaria vaccaria, Vaccaria pyramidata, cow cockle, Vaccaria hispanica
datum(n) an item of factual information derived from measurement or research, Syn. data point
digital communication(n) electronic transmission of information that has been encoded digitally (as for storage and processing by computers), Syn. data communication
experimental(adj) relying on observation or experiment, Syn. observational, data-based
file(n) a set of related records (either written or electronic) kept together, Syn. data file
flowering ash(n) shrubby ash of southwestern United States having fragrant white flowers, Syn. Fraxinus cuspidata

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Caudata

‖n. pl. [ NL., fr. L. cauda tail. ] (Zool.) See Urodela. [ 1913 Webster ]

Chordata

‖n. pl. [ NL., fr. L. chorda cord. ] (Zool.) A comprehensive division of animals including all Vertebrata together with the Tunicata, or all those having a dorsal nervous cord. [ 1913 Webster ]

Commendatary

n. [ Cf. F. commendataire, LL. commendatarius. ] One who holds a living in commendam. [ 1913 Webster ]

Data

‖n. pl. [ L. pl. of datum. ] 1. See Datum. [ 1913 Webster ]

2. a collection of facts, observations, or other information related to a particular question or problem; as, the historical data show that the budget deficit is only a small factor in determining interest rates. The term in this sense is used especially in reference to experimental observations collected in the course of a controlled scientific investigation. [ PJC ]

3. (Computers) information, most commonly in the form of a series of binary digits, stored on a physical storage medium for manipulation by a computer program. It is contrasted with the program which is a series of instructions used by the central processing unit of a computer to manipulate the data. In some conputers data and execuatble programs are stored in separate locations. [ PJC ]

database

n. an organized body of related information. [ WordNet 1.5 ]

data-based

adj. relying on observation or experiment.
Syn. -- experimental, observational. [ WordNet 1.5 ]

datable

a. That may be dated; having a known or ascertainable date. “Datable almost to a year.” The Century.
Syn. -- dateable. [ 1913 Webster ]

Dataria

‖n. [ LL., fr. L. datum given. ] (R. C. Ch.) Formerly, a part of the Roman chancery; now, a separate office from which are sent graces or favors, cognizable in foro externo, such as appointments to benefices. The name is derived from the word datum, given or dated (with the indications of the time and place of granting the gift or favor). [ 1913 Webster ]

Datary

n. [ LL. datarius. See Dataria. ] 1. (R. C. Ch.) An officer in the pope's court, having charge of the Dataria. [ 1913 Webster ]

2. The office or employment of a datary. [ 1913 Webster ]

Feudatary

a. & n. [ LL. feudatarius: cf. F. feudataire. ] See Feudatory. [ 1913 Webster ]

Mandatary

n. [ L. mandatarius, fr. mandatum a charge, commission, order: cf. F. mandataire. See Mandate. ] 1. One to whom a command or charge is given; hence, specifically, a person to whom the pope has, by his prerogative, given a mandate or order for his benefice. Ayliffe. [ 1913 Webster ]

2. (Law) One who undertakes to discharge a specific business commission; a mandatory. Wharton. [ 1913 Webster ]

Pedata

‖n. pl. [ NL. See Pedate. ] (Zool.) An order of holothurians, including those that have ambulacral suckers, or feet, and an internal gill. [ 1913 Webster ]

Urochordata

prop. n. pl. [ NL. See Urochord. ] (Zool.) Same as Tunicata. [ 1913 Webster ]

Variants: Urochorda

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
数据[shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ,   /  ] data; numbers; digital; also written 數據|数据 #804 [Add to Longdo]
数据[shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ,   /  ] data; numbers; digital #804 [Add to Longdo]
转发[zhuǎn fā, ㄓㄨㄢˇ ㄈㄚ,   /  ] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo]
资料[zī liào, ㄗ ㄌㄧㄠˋ,   /  ] material; resources; data; information #954 [Add to Longdo]
材料[cái liào, ㄘㄞˊ ㄌㄧㄠˋ,  ] material; data; makings; stuff #1,099 [Add to Longdo]
整理[zhěng lǐ, ㄓㄥˇ ㄌㄧˇ,  ] to arrange; to tidy up; to sort out; to straighten out; to list systematically; to collate (data, files); to pack (luggage) #2,716 [Add to Longdo]
搜索[sōu suǒ, ㄙㄡ ㄙㄨㄛˇ,  ] to search; to look for sth; to scour (search meticulously); to look sth up; internet search; database search #3,689 [Add to Longdo]
数据库[shù jù kù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ,    /   ] database #6,660 [Add to Longdo]
基准[jī zhǔn, ㄐㄧ ㄓㄨㄣˇ,   /  ] norm; standard; standard of reference; base; base point; base line; benchmark; reference point; reference frame; criterion; data #6,894 [Add to Longdo]
填写[tián xiě, ㄊㄧㄢˊ ㄒㄧㄝˇ,   /  ] to fill in a form; to write data in a box (on a questionnaire or web form) #7,428 [Add to Longdo]
汇总[huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ,   /  ] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report #11,380 [Add to Longdo]
汇总[huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ,   /  ] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report; also written 匯總|汇总 #11,380 [Add to Longdo]
史料[shǐ liào, ㄕˇ ㄌㄧㄠˋ,  ] historical material or data #13,671 [Add to Longdo]
[tóng, ㄊㄨㄥˊ, ] Chinese wood-oil tree (Aleurites cordata) #13,880 [Add to Longdo]
差错[chā cuò, ㄔㄚ ㄘㄨㄛˋ,   /  ] error (in data transmission); mistake; slip-up; fault; error in data transmission; accident; mishap #14,272 [Add to Longdo]
数据传输[shù jù chuán shū, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄔㄨㄢˊ ㄕㄨ,     /    ] data transmission #23,740 [Add to Longdo]
载入[zǎi rù, ㄗㄞˇ ㄖㄨˋ,   /  ] to load into; to record; to write into; to enter (data); to go into (the records); to go down (in history) #25,642 [Add to Longdo]
文摘[wén zhāi, ㄨㄣˊ ㄓㄞ,  ] digest (of literature); to make a digest (of data); summary #26,988 [Add to Longdo]
拟合[nǐ hé, ㄋㄧˇ ㄏㄜˊ,   /  ] to fit (data to a model); a (close) fit #28,044 [Add to Longdo]
导出[dǎo chū, ㄉㄠˇ ㄔㄨ,   /  ] to derive; to get out a conclusion; to deduce; to export (computer data) #32,710 [Add to Longdo]
字段[zì duàn, ㄗˋ ㄉㄨㄢˋ,  ] (numeric, data) field #41,690 [Add to Longdo]
数据通信[shù jù tōng xìn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄊㄨㄥ ㄒㄧㄣˋ,     /    ] data communication #43,207 [Add to Longdo]
紫杉[zǐ shān, ㄗˇ ㄕㄢ,  ] Taxus cuspidata #49,353 [Add to Longdo]
寻址[xún zhǐ, ㄒㄩㄣˊ ㄓˇ,   /  ] to address; to search for address; to input data into memory #62,276 [Add to Longdo]
数据网络[shù jù wǎng luò, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ,     /    ] data network #72,759 [Add to Longdo]
堆栈[duī zhàn, ㄉㄨㄟ ㄓㄢˋ,   /  ] stack (data structure) #90,008 [Add to Longdo]
数据链路[shù jù liàn lù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄌㄧㄢˋ ㄌㄨˋ,     /    ] data link #94,910 [Add to Longdo]
数据压缩[shù jù yā suō, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄧㄚ ㄙㄨㄛ,     /    ] data compression #102,826 [Add to Longdo]
数码化[shù mǎ huà, ㄕㄨˋ ㄇㄚˇ ㄏㄨㄚˋ,    /   ] to digitalize (e.g. data); digitalization #105,666 [Add to Longdo]
[jí, ㄐㄧˊ, ] Houttuynia cordata #134,476 [Add to Longdo]
数据段[shù jù duàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄉㄨㄢˋ,    /   ] data segment #162,741 [Add to Longdo]
[sōu, ㄙㄡ, ] search out (as data) #185,728 [Add to Longdo]
彭博通讯社[Péng bó tōng xùn shè, ㄆㄥˊ ㄅㄛˊ ㄊㄨㄥ ㄒㄩㄣˋ ㄕㄜˋ,      /     ] Bloomberg L.P., financial software services, news and data company #199,603 [Add to Longdo]
光纤分布式数据介面[guāng xiān fēn bù shì shù jù jiè miàn, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢ ㄈㄣ ㄅㄨˋ ㄕˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ,          /         ] Fiber Distributed Data Interface; FDDI [Add to Longdo]
光纤分布数据接口[guāng xiān fēn bù shù jù jiē kǒu, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢ ㄈㄣ ㄅㄨˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝ ㄎㄡˇ,         /        ] FDDI; Fiber Distributed Data Interface [Add to Longdo]
光纤分散式资料介面[guāng xiān fēn sàn shì zī liào jiè miàn, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢ ㄈㄣ ㄙㄢˋ ㄕˋ ㄗ ㄌㄧㄠˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ,          /         ] fiber distributed data interface; FDDI [Add to Longdo]
汇出[huì chū, ㄏㄨㄟˋ ㄔㄨ,   /  ] to remit (money); to repatriate (funds); to export data (e.g. from a database) [Add to Longdo]
汇整[huì zhěng, ㄏㄨㄟˋ ㄓㄥˇ,   /  ] to collect and organize (papers etc); to archive (data); summary [Add to Longdo]
数据介面[shù jù jiè miàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ,     /    ] data interface [Add to Longdo]
数据库软件[shù jù kù ruǎn jiàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ ㄖㄨㄢˇ ㄐㄧㄢˋ,      /     ] database software [Add to Longdo]
数据接口[shù jù jiē kǒu, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝ ㄎㄡˇ,     /    ] data interface [Add to Longdo]
数据链路层[shù jù liàn lù céng, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄌㄧㄢˋ ㄌㄨˋ ㄘㄥˊ,      /     ] data link layer [Add to Longdo]
数据链路连接识别码[shù jù liàn lù lián jiē shí bié mǎ, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄌㄧㄢˋ ㄌㄨˋ ㄌㄧㄢˊ ㄐㄧㄝ ㄕˊ ㄅㄧㄝˊ ㄇㄚˇ,          /         ] Data Link Connection Identifier; DLCI [Add to Longdo]
消费资料[xiāo fèi zī liào, ㄒㄧㄠ ㄈㄟˋ ㄗ ㄌㄧㄠˋ,     /    ] consumption data [Add to Longdo]
生辰八字[shēng chén bā zì, ㄕㄥ ㄔㄣˊ ㄅㄚ ㄗˋ,    ] one's birth data for astrological purposes, combined from year, month, day, hour, heavenly trunk and earthly branch [Add to Longdo]
用户数据[yòng hù shù jù, ㄩㄥˋ ㄏㄨˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ,     /    ] user data [Add to Longdo]
直接数据[zhí jiē shù jù, ㄓˊ ㄐㄧㄝ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ,     /    ] data-direct (in LAN emulation) [Add to Longdo]
纳指[nà zhǐ, ㄋㄚˋ ㄓˇ,   /  ] NASDAQ; National Association of Securities Dealers Automated Quotations, a computerized data system to provide brokers with price quotations for securities traded over the counter [Add to Longdo]
统计数据[tǒng jì shù jù, ㄊㄨㄥˇ ㄐㄧˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ,     /    ] statistical data [Add to Longdo]
脊索动物[jǐ suǒ dòng wù, ㄐㄧˇ ㄙㄨㄛˇ ㄉㄨㄥˋ ㄨˋ,     /    ] chordata [Add to Longdo]

Saikam JP-TH-EN Dictionary
データベース[でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล  EN: database
データ[でーた, de-ta] TH: ข้อมูล  EN: data

DING DE-EN Dictionary
Abflussdaten { pl }runoff data [Add to Longdo]
Abtastfilterung { f }sampled data filtering [Add to Longdo]
Adressdaten { pl }address data [Add to Longdo]
Adressdatenverarbeitung { f }address data processing [Add to Longdo]
Alphadaten { pl } [ comp. ]alpha data [Add to Longdo]
Altdaten { pl }; veraltete Daten { pl }aged data [Add to Longdo]
Analogdatenverarbeitung { f }analogue data processing [Add to Longdo]
Analogwertschreiber { m }analog data recorder [Add to Longdo]
eine Angabea piece of data [Add to Longdo]
Anlagenstammdaten { pl }asset master data [Add to Longdo]
Anlagenstammdatenübernahme { f }asset master data transfer [Add to Longdo]
Anwendungsdaten { pl }application data [Add to Longdo]
Arbeitszustand { m } des Übertragungskanals [ comp. ]active data link channel [Add to Longdo]
Artikelstammdaten { pl } [ comp. ]article master data [Add to Longdo]
Ausgangsdaten { pl }; Urdaten { pl }raw data [Add to Longdo]
Auslegungsdaten { pl }technical data [Add to Longdo]
Auslegungswerte { pl }design data [Add to Longdo]
Betriebs- und Maschinendatenerfassung { f }operating and machine data logging [Add to Longdo]
Betriebsdatenauswertung { f }evaluation of operational data [Add to Longdo]
Betriebsdatenerfassung { f }factory data capture; industrial data capture [Add to Longdo]
Betriebsdatenerfassung { f }operating data logging [Add to Longdo]
Bezugsdaten { pl }acquisition data [Add to Longdo]
Bildschirmtextsystem { m }viewdata [Add to Longdo]
Blinddaten { pl }dummy data [Add to Longdo]
Buchhaltungsdaten { pl }accounting data [Add to Longdo]
Chiffrierdaten { pl }cryptodata [Add to Longdo]
Datenbus { m }data bus [Add to Longdo]
Datei { f }file; data file [Add to Longdo]
Datei { f } | Dateien { pl }data set; dataset | datasets [Add to Longdo]
Dateigeneration { f }generation data set [Add to Longdo]
Dateiorganisation { f }data organization [Add to Longdo]
Daten { pl } | analoge Daten | betriebliche Daten { pl } | personenbezogene Daten | strukturierte Daten | ungültige Daten | veraltete Datendata | analogue data | operational data | personal data | structured data | bad data | decaying data [Add to Longdo]
Daten zerstören; Dateien beschädigen [ comp. ]to mung data [ coll. ] [Add to Longdo]
Datenmanipulation { f }; Bearbeitung von Daten { f } [ comp. ]data munging [Add to Longdo]
Daten { pl }; Angaben { pl }; Einzelheiten { pl }; Unterlagen { pl }data [Add to Longdo]
Datenabruf { m }data retrieval [Add to Longdo]
Datenart { f }data typ [Add to Longdo]
Datenaufbereitung { f }data preparation [Add to Longdo]
Datenaufzeichnung { f } [ comp. ]data recording; data journalling; data logging [Add to Longdo]
Datenausgabe { f }data output [Add to Longdo]
Datenaustausch { m }data exchange [Add to Longdo]
Datenbank { f } | Datenbanken { pl }database; data base | databases [Add to Longdo]
Datenbank { f }data warehouse [Add to Longdo]
Datenbank { f }data bank [Add to Longdo]
Datenbankanbindung { f }database connection [Add to Longdo]
Datenbankerstellung { f }database production [Add to Longdo]
Datenbankmaschine { f }datadase machine [Add to Longdo]
Datenbankmodel { n }data base model [Add to Longdo]
Datenbankstruktur { f }database structure [Add to Longdo]
Datenbanksystem { n } [ comp. ] | relationales Datenbanksystemdatabase system | relational database system [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
情報[じょうほう, jouhou] (n) (1) (See 秘密情報) news; gossip; (military) intelligence; (2) (See 情報インフラ) information (data contained in characters, signals, code, etc.); (P) #102 [Add to Longdo]
項目[こうもく, koumoku] (n) (data) item; entry; (P) #182 [Add to Longdo]
資料[しりょう, shiryou] (n, adj-no) materials; data; document; (P) #660 [Add to Longdo]
データ[de-ta] (n) data; datum; (P) #884 [Add to Longdo]
入力[にゅうりょく, nyuuryoku] (n, vs) input; (data) entry; (P) #1,197 [Add to Longdo]
検索[けんさく, kensaku] (n, vs) looking up (e.g. a word in a dictionary); retrieval (e.g. data); searching for; referring to; (P) #1,341 [Add to Longdo]
要素[ようそ, youso] (n) (1) component; factor; item (e.g. in list); (2) { comp } element (e.g. in array); member (e.g. data structure); (P) #2,140 [Add to Longdo]
データベース[de-tabe-su] (n) { comp } database #2,577 [Add to Longdo]
取材[しゅざい, shuzai] (n, vs) collecting data (e.g. for a newspaper article); covering an event; (P) #3,219 [Add to Longdo]
[らん, ran] (n) (1) (uk) (See 一位・2) Japanese yew (Taxus cuspidata); (2) (arch) (See 野蒜) wild rocambole (Allium grayi) #3,538 [Add to Longdo]
情報処理[じょうほうしょり, jouhoushori] (n) { comp } data processing; (P) #9,564 [Add to Longdo]
素子[そし, soshi] (n) (1) element (esp. component in electronics); elemental device; device; (2) data; datum; (P) #10,620 [Add to Longdo]
[つた, tsuta] (n) (uk) ivy (esp. Boston ivy, Parthenocissus tricuspidata) #19,616 [Add to Longdo]
ADESS[アデス, adesu] (n) Automated Data Editing and Switching System; ADESS [Add to Longdo]
DBMS[ディービーエムエス, dei-bi-emuesu] (n) { comp } database management system; DBMS [Add to Longdo]
だ体[だたい, datai] (n) (See である体) literary form imparting the nuance of speech (with sentences ending in "da") [Add to Longdo]
アーカイブデータセット[a-kaibude-tasetto] (n) { comp } archive data set [Add to Longdo]
アイオーデータ[aio-de-ta] (n) { comp } I-O DATA [Add to Longdo]
アナログデータ[anarogude-ta] (n) { comp } analog data [Add to Longdo]
アプリケーションデータ[apurike-shonde-ta] (n) { comp } application data [Add to Longdo]
アメダス[amedasu] (n) Automated Meteorological Data Acquisition System; AMeDAS; (P) [Add to Longdo]
アルファデータ[arufade-ta] (n) { comp } Alpha Data [Add to Longdo]
イメージデータ[ime-jide-ta] (n) { comp } image data [Add to Longdo]
インターネットデータセンター[inta-nettode-tasenta-] (n) { comp } Internet Data Center [Add to Longdo]
インテリジェントデータベース[interijientode-tabe-su] (n) { comp } intelligent database [Add to Longdo]
オブジェクトデータベース管理システム[オブジェクトデータベースかんりシステム, obujiekutode-tabe-su kanri shisutemu] (n) { comp } object database management system [Add to Longdo]
オブジェクト指向データベース[オブジェクトしこうデータベース, obujiekuto shikou de-tabe-su] (n) { comp } object-oriented database; OODB [Add to Longdo]
オブジェクト指向型データベース[オブジェクトしこうがたデータベース, obujiekuto shikougata de-tabe-su] (n) { comp } object oriented database [Add to Longdo]
オンラインデータベース[onrainde-tabe-su] (n) { comp } on-line database; online database [Add to Longdo]
オンラインデータベースシステム[onrainde-tabe-sushisutemu] (n) { comp } online database system [Add to Longdo]
オンラインデータ収集システム[オンラインデータしゅうしゅうシステム, onrainde-ta shuushuu shisutemu] (n) { comp } online data gathering system [Add to Longdo]
オンラインデータ処理[オンラインデータしょり, onrainde-ta shori] (n) { comp } on-line data processing [Add to Longdo]
オンラインデータ入力[オンラインデータにゅうりょく, onrainde-ta nyuuryoku] (n) { comp } online data entry [Add to Longdo]
カード型データベース[カードがたデータベース, ka-do gata de-tabe-su] (n) { comp } card-type database [Add to Longdo]
キー順データセット[キーじゅんデータセット, ki-jun de-tasetto] (n) { comp } KSDS; Key-Sequenced Data Set [Add to Longdo]
グローバルデータ[guro-barude-ta] (n) { comp } global data [Add to Longdo]
コード透過形データ通信[コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] (n) { comp } code-transparent data communication [Add to Longdo]
コード独立形データ通信[コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] (n) { comp } code-independent data communication [Add to Longdo]
サービスデータ単位[サービスデータたんい, sa-bisude-ta tan'i] (n) { comp } SDU; Service Data Unit [Add to Longdo]
システムデータ[shisutemude-ta] (n) { comp } system data [Add to Longdo]
セクタのデータ領域[セクタのデータりょういき, sekuta no de-ta ryouiki] (n) { comp } data field of a sector [Add to Longdo]
センスデータ[sensude-ta] (n) { comp } sense data [Add to Longdo]
ダイナミックデータエクスチェンジ[dainamikkude-taekusuchienji] (n) { comp } dynamic data exchange; DDE [Add to Longdo]
ダビング[dabingu] (n, vs) (1) (See 吹き替え) dubbing; adding a new audio (usu. voice) track to an existing video, film, etc.; (2) dubbing; re-recording existing video or audio data to a new DVD, tape, etc.; (P) [Add to Longdo]
テキストデータ[tekisutode-ta] (n) { comp } character data [Add to Longdo]
データのチェック[de-ta no chiekku] (n) { comp } data check [Add to Longdo]
データの汚染[データのおせん, de-ta noosen] (n) { comp } data corruption; data contamination [Add to Longdo]
データの階層;データ階層[データのかいそう(データの階層);データかいそう(データ階層), de-ta nokaisou ( de-ta no kaisou ); de-ta kaisou ( de-ta kaisou )] (n) { comp } data hierarchy [Add to Longdo]
データの完全性[データのかんぜんせい, de-ta nokanzensei] (n) { comp } data integrity [Add to Longdo]
データの丸め[データのまるめ, de-ta nomarume] (n) { comp } data rounding [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
あげられる[あげられる, agerareru] to be captured (e.g. data) [Add to Longdo]
アナログデータ[あなろぐでーた, anarogude-ta] analog data [Add to Longdo]
イメージデータ[いめーじでーた, ime-jide-ta] image data [Add to Longdo]
エレメント[えれめんと, eremento] element (e.g. in data transmission) [Add to Longdo]
エントリ順データセット[エントリじゅんデータセット, entori jun de-tasetto] ESDS, Entry-Sequenced Data Set [Add to Longdo]
キー順データセット[キーじゅんデータセット, ki-jun de-tasetto] KSDS, Key-Sequenced Data Set [Add to Longdo]
コード透過形データ通信[コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] code-transparent data communication [Add to Longdo]
コード独立形データ通信[コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] code-independent data communication [Add to Longdo]
コンバータ[こんばーた, konba-ta] (data) converter [Add to Longdo]
サービスデータ単位[サービスデータたんい, sa-bisude-ta tan'i] SDU, Service Data Unit [Add to Longdo]
システムデータ[しすてむでーた, shisutemude-ta] system data [Add to Longdo]
セクタのデータ領域[せくたのデータりょういき, sekutano de-ta ryouiki] data field of a sector [Add to Longdo]
センスデータ[せんすでーた, sensude-ta] sense data [Add to Longdo]
データ[でーた, de-ta] datum, data [Add to Longdo]
データ(の)階層[データのかいそう, de-ta nokaisou] data hierarchy [Add to Longdo]
データのチェック[でーた の ちえっく, de-ta no chiekku] data check [Add to Longdo]
データの汚染[データのおせん, de-ta noosen] data corruption, data contamination [Add to Longdo]
データの完全性[データのかんぜんせい, de-ta nokanzensei] data integrity [Add to Longdo]
データの丸め[データのまるめ, de-ta nomarume] data rounding [Add to Longdo]
データの基底アドレス[データのきていアドレス, de-ta nokitei adoresu] base address of data [Add to Longdo]
データの先頭[データのせんとう, de-ta nosentou] beginning of data [Add to Longdo]
データの品質[データのひんひつ, de-ta nohinhitsu] data quality [Add to Longdo]
データの保全性[データのほぜんせい, de-ta nohozensei] data integrity [Add to Longdo]
データの要素[データのようそ, de-ta noyouso] data element [Add to Longdo]
データインスタンス[でーたいんすたんす, de-tainsutansu] data instance [Add to Longdo]
データインタフェース[でーたいんたふぇーす, de-taintafe-su] data interface [Add to Longdo]
データインテンシブ[でーたいんてんしぶ, de-taintenshibu] data intensive [Add to Longdo]
データインベントリ[でーたいんべんとり, de-tainbentori] data inventory [Add to Longdo]
データウェアハウス[でーたうえあはうす, de-taueahausu] data warehouse, data warehousing [Add to Longdo]
データエンジン[でーたえんじん, de-taenjin] data engine [Add to Longdo]
データエントリ[でーたえんとり, de-taentori] data entry [Add to Longdo]
データオブジェクト[でーたおぶじえくと, de-taobujiekuto] data-object [Add to Longdo]
データクラフト[でーたくらふと, de-takurafuto] data craft [Add to Longdo]
データグラム[でーたぐらむ, de-taguramu] datagram [Add to Longdo]
データグラムサービス[でーたぐらむさーびす, de-taguramusa-bisu] datagram service [Add to Longdo]
データグローブ[でーたぐろーぶ, de-taguro-bu] data glove (for VR) [Add to Longdo]
データコム[でーたこむ, de-takomu] datacom [Add to Longdo]
データショウ[でーたしょう, de-tashou] data-show [Add to Longdo]
データステーション[でーたすてーしょん, de-tasute-shon] data station [Add to Longdo]
データストレージ[でーたすとれーじ, de-tasutore-ji] data storage [Add to Longdo]
データセット[でーたせっと, de-tasetto] data-set [Add to Longdo]
データセンタ[でーたせんた, de-tasenta] data centre [Add to Longdo]
データセンター[でーたせんたー, de-tasenta-] data center [Add to Longdo]
データタイプ[でーたたいぷ, de-tataipu] data-type [Add to Longdo]
データタグ[でーたたぐ, de-tatagu] data tag [Add to Longdo]
データタグ群[データたぐぐん, de-ta tagugun] data tag group [Add to Longdo]
データタグ形式[データたぐけいしき, de-ta tagukeishiki] data tag pattern [Add to Longdo]
データチャネル[でーたちゃねる, de-tachaneru] data channel [Add to Longdo]
データチャネル装置[データチャネルそうち, de-tachaneru souchi] data channel equipment [Add to Longdo]
データチャンネル[でーたちゃんねる, de-tachanneru] data channel [Add to Longdo]

JDDICT JP-DE Dictionary
堕胎[だたい, datai] Abtreibung [Add to Longdo]
隔たる[へだたる, hedataru] entfernt_sein, sich_entfremden [Add to Longdo]

Time: 1.7139 seconds, cache age: 6.708 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/