cat | (n) แมว |
CATC | (name, org) Civil Aviation Training Center |
United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization | [ UNESCO.org ] United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) is a specialized agency of the United Nations. Its purpose is to contribute to peace and security by promoting international collaboration through education, science, and culture in order to further universal respect for justice, the rule of law, and human rights along with fundamental freedom proclaimed in the UN Charter. en.wikipedia.org/wiki/UNESCO, See also: S. UNESCO, United Nations Educational Scientific and Cultural Organization, R. UN |
catcher stick | [แคชเชอร์ สติ๊ค] (n, cather, stick) ไม้สำหรับจับงู |
Contra-indication | สิ่งขัดแย้ง, ข้อบ่งห้าม(ใช้) |
catfish | (n) ปลาดุก |
educational supervisor | (n) ศึกษานิเทศก์ |
specifications | (n) ข้อมูลจำเพาะ (มักปรากฏท้ายคู่มือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า) |
cat | (n) แมว |
cater to so. | (vi) จัดหามาเพื่อคนใดคนหนึ่งหรือคนกลุ่มหนึ่ง เช่น There is something for everyone on the Internet. Very few topics and specialties are not catered to on the web., The day television programs cater to housewives. |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
authentication | (n) สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่รับรองว่าเป็นของแท้หรือแสดงที่มา |
abdicated emperor | (n) จักรพรรดิ์ผู้ที่สละราชสมบัติ |
medical certificate | (n) ใบรับรองแพทย์ |
catastrophic | (adj) ให้ผลหายนะอย่างใหญ่หลวง |
application | (n) โปรแกรมประยุกต์ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถใช้คำทับศัพท์ แอปพลิเคชัน ได้ |
cat | (n) คนผู้ชาย (คำสแลง), Syn. guy |
cat | (vt) เฆี่ยนด้วยแส้ |
cat | (n) นักดนตรีแจ๊ซ (คำสแลง) |
cat | (n) แมว, Syn. true cat |
cat | (n) แส้หนังที่มีสายหนังอยู่เก้าเส้น, Syn. cat-o'-nine-tails |
cat | (n) หญิงที่ถูกว่าในแง่ร้าย |
cat | (vi) อาเจียน, See also: อ้วก, Syn. vomit |
cat | (prf) ลง, See also: ผ่าน |
cata | (prf) ลง, See also: ผ่าน |
cath | (prf) ลง, See also: ผ่าน |
scat | (vi) จากไปอย่างรวดเร็ว, See also: โกยอ้าว, จ้ำอ้าว |
scat | (vi) ร้องเสียงดังอย่างไร้ความหมายคลอไปกับเครื่องดนตรีชิ้นเดียว (เช่น ร้องเพลงแจ๊ส) |
catch | (n) การจับ |
catch | (vt) เกี่ยว, Syn. grip, hook |
catch | (vt) เข้าใจ, Syn. comprehend, understand |
catch | (vt) จับ, See also: ตะครุบ, ฉวยจับ, Syn. capture, seize |
catch | (vt) จับได้, Syn. capture |
catch | (vt) ชะงัก, Syn. check, restrain |
catch | (vt) ดึงดูด, Syn. attract |
catch | (vt) ดู, Syn. see |
catch | (vt) ได้ยิน, Syn. hear |
catch | (vt) ได้รับ, Syn. receive |
catch | (vi) ติดไฟ, Syn. take fire |
catch | (vt) ตี, Syn. hit, strike |
catch | (vt) ทำให้แน่น, Syn. fasten |
catch | (vt) มาทัน (รถไฟ ฯลฯ), Syn. reach |
catch | (vt) รับรู้ด้วยประสาทสัมผัส, Syn. perceive |
catch | (n) สิ่งที่จับได้ |
catch | (n) สิ่งที่ทำทำติดอยู่ เช่น กลอนประตู |
catch | (vt) หลอกลวง, Syn. deceive, trick |
catch | (n) อุปสรรคหรือปัญหาที่ซ่อนอยู่, Syn. snag |
cater | (vt) จัดหาให้, See also: จัดเตรียมให้, Syn. provide, provision, supply |
catty | (adj) ที่มีเจตนาร้าย (คำไม่เป็นทางการ), Syn. malicious, spiteful |
bobcat | (n) แมวป่าแถบอเมริกาเหนือ |
catchy | (adj) ที่โกง, See also: ที่หลอกลวง, ล่อลวง, Syn. deceptive, tricky, misleading |
catchy | (adj) ที่จำได้ง่าย, Syn. memorable |
catchy | (adj) น่าดึงดูด, Syn. attention-getting |
catchy | (adj) เป็นพักๆ, See also: ไม่ปะติดปะต่อ, Syn. fitful |
catgut | (n) เอ็นที่ทำจากไส้แกะใช้ในเครื่องดนตรีประเภทสาย, Syn. gut |
Cathay | (n) ชื่อเดิมของประเทศจีน |
cation | (n) ไอออนบวก |
catkin | (n) ดอกไม้ของพืชบางชนิดที่มีลักษณะเป็นช่อยาวห้อยลงมาหรือถ้าสั้นจะชี้ขึ้น |
catnap | (n) การงีบหลับ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การหลับสั้นๆ, Syn. doze |
catnap | (vi) งีบหลับ, Syn. doze, nap |
catnip | (n) ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีกลิ่นดึงดูดแมว, Syn. catmint |
catsup | (n) ซอสมะเขือเทศ, Syn. cetchup, ketchup, tomato ketchup |
cattle | (n) วัวควาย, Syn. stock, cows, dairy cattle |
locate | (vt) ก่อตั้ง, See also: สร้าง, ตั้ง, Syn. place, settle |
locate | (vt) ก่อตั้งธุรกิจ, See also: สร้างธุรกิจหรือบริษัท |
locate | (vt) หาที่ตั้ง, See also: หาตำแหน่งที่ตั้ง, หา |
abdicate | (แอบ' ดิเคท) vt., vi. สละ (ราชสมบัติ, ตำแหน่ง, อำนาจ) -abdicator n., |
acatalectic | เอแคททะเลค' ทิค) adj. สมบูรณ์ |
acataposis | ความยากในการกลืน |
adjudicate | (อะจู' ดิเคท) vt., vi. (ศาล) สั่งตัดสินใจให้, พิจารณาลงโทษ, ชี้ขาด, Syn. adjudge |
advocate | (vt. แอด' โวเคท; -n. แอด' โวเคท, |
advocation | (แอดโวเค' เชิน) n. =advocacy, การเรียกให้ปรากฏ, Syn. summoning |
aerification | (แอริฟิเค' เชิน) n. การรวมกับอากาศ, ภาวะที่รวมกับอากาศ (act of combining with air) |
affricate | (แอฟ' ริเคท) n. เสียงกระทบของลิ้น |
agent provocateur | (อะซาน' พรอวอคะเทอ') Fr., (pl. agents provocateurs) สายลับ, จารบุรุษ |
allocate | (แอล' โลเคท) vt. จัดสรร, แบ่งสรร, หาตำแหน่ง, กำหนด, บรรจุ, ลงบัญชี. |
allocation | (แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn. allotment |
altercate | (ออล' เทอะเคท) vi. ทะเลาะกัน, วิวาทกัน. -altercator n. (dispute) |
aluminosilicate | (อะลูมิดนซิล' ลิเคท) n. aluminum silicate ที่มี alkali-metal, alaline-earth, metal ions เช่น feldspar, zeolite |
ammonification | (อะมอนนิฟิเค' เชิน) n. การใส่แอมโมเนีย, การสร้างแอมโมเนีย, ภาวะที่ถูกใส่แอมโมเนีย |
amplification | (แอมพลิฟีเค' เชิน) n. การขยายออกให้กว้างหรือใหญ่ขึ้น, ภาวะที่ถูกขยายออก, การขยายข้อความหรือเรื่องราว, ข้อความหรือเรื่องราวที่ขยายออก, สิ่งที่ใช้ขยาย, การเพิ่มกำลังกระแสไฟฟ้าหรือการเพิ่มโวลต์, Syn. enlargement, Ant. reduction |
amplificatory | (แอมพลิฟ' ฟิคะโทรี) adj. ใช้ในการขยายใหญ่, Syn. expanding |
anglo-catholic | (แอง' โกลแคธ' โธลิค) n. adj, ผู้นับถือนิกาย Church of England แต่ยึดถือลักษณะของคาธอลิค. -Anglo-Catholicism (opposing a Protestant designation) |
angora cat | แมวพันธุ์หนึ่งมีขนยาวเป็นสัตว์เลี้ยง, Syn. Angora |
application | (แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร, ความเกี่ยวข้อง, ความมีประโยชน์, การใช้, การร้องขอ, คำร้องขอ, ใบสมัคร, ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration, utility, request |
application program | โปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
application software | ซอฟต์แวร์ประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program |
application window | วินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) |
applicative | (แอพ'พลิเค'ทิฟว) adj. ใช้ประโยชน์ได้, ใช้ได้, ปฏิบัติได้, Syn. practical |
applicator | (แอพ'พลิเค'เทอะ) n. อุปกรณ์ง่าย ๆ เครื่องมือง่าย ๆ (เช่นที่ตักหรือช้อน) |
applicatory | (แอพ'พลิเคโทรี) adj. เหมาะมือเหมาะสำหรับการใช้, ปฏิบัติได้, Syn. practical |
auspicate | (ออส'พะเคท) vt. ทำพิธีเปิด, เริ่มแรก (inaugurate) |
authenticate | (ออเธน'ทิเคท) vt. ทำให้น่าเชื่อถือ, รับรองเป็นของแท้, ทำให้เกิดผล. -authentication n. -authenticator n., Syn. certify, validate, Ant. falsify |
autocatalysis | (ออโทคะแทล'ลิซิส) n., (pl. -ses) ภาวะที่เพิ่มขึ้นของปฏิกริยาทางเคมีเนื่องจากตัวกระตุ้น (catalyst) ที่เกิดขึ้น. -autocatalytic adj. |
autointoxication | (ออดทอินทอคซิเค'เชิน) n. การเป็นพิษจากภายในร่างกาย., Syn. autotoxemia -autotoxic adj. autotoxicosis |
avocation | (แอฟวะเค' เชิน) n. งานอดิเรก, งานประจำ, อาชีพ, งาน, การเบนความสนใจ |
avocatory | (อะวอด?คะเทอรี) adj. เรียกไป, เรียกกลับ (genus Recurvirostra) |
beef cattle | n. วัวหรือควายสำหรับฆ่าเป็นอาหาร |
birth certificate | n. สูติบัตร |
brocatel | n. ผ้าปักดอกลายนูน, หินอ่อนที่สลับ |
brocatelle | n. ผ้าปักดอกลายนูน, หินอ่อนที่สลับ |
calcification | (แคลซิฟิเค'เชิน) n. การเปลี่ยนเป็นหินปูนหรือแคลเซี่ยมคาร์บอเนต, การกลายเป็นกระดูก |
canonicate | (แคน'นิสท) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับวินัยศาสนา |
caricature | (แค'ระคะเชอะ) { caricatured, caricaturing, caricatures } n. ภาพล้อ, ภาพล้อบุคคล, การ์ตูนล้อเลียน, ศิลปะการเขียนภาพล้อเลียน vt. เขียนภาพหรือการ์ตูนล้อเลียน, Syn. travesty |
caricaturist | (แคริคะเชอ'ริสทฺ) n. นักเขียนภาพล้อเลียน, นักเสียดสี |
cat | 1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) |
cat's eye) | n. พลอยตาแมว |
cat's paw | (แคท'สพอ) n. คนที่ถูกคนอื่นใช้, เครื่องมือ, ลูกมือ, มือแมว |
catabasis | (คะแทบ'บะซิส) n. การเดินขบวนสู่ฝั่งทะเล, การถอนทัพ -pl. catabases |
catabiosis | (แค็ททะไบโอ'ซิส) n. การที่เซลล์เชื่อม |
catabolism | (คะแทบ'บะลิซซึม) n. การสันดาปที่เป็นการทำลาย, การสลายตัวของสารเชิงซ้อนในสิ่งมีชีวิตเป็นสารที่ต่ำลง, See also: catabolic adj. ดูcatabolism, Syn. katabolism |
catabolite | (คะแท็บโบไลท์) n. ผลิตผลของcatabolism |
catacaustic | adj. เกี่ยวกับผิวหน้าหรือความโค้งที่เกิดจากการสะท้อนของแสง |
catachresis | n. ศัพท์ที่ใช้ผิด, การใช้คำผิด, See also: catachrestic adj. ดู catachresis catachrestical adj. ดูcatachresis -pl . catachreses |
cataclasite | (แคททะแคลส'ไซทฺ) n. หินที่แตกละเอียด |
cataclatic | (แคททะแคลท'ทิค) adj. ซึ่งแตกละเอียด |
abdicate | (vi, vt) ลาออก, สละราชสมบัติ, ยกเลิก |
abdication | (n) การลาออก, การสละราชสมบัติ, การยกเลิก |
advocate | (n) ผู้สนับสนุน, ทนายความ, ผู้แก้ต่าง |
advocate | (vt) สนับสนุน, เป็นทนาย, พูดแก้ต่าง, โฆษณาชวนเชื่อ |
allocate | (vt) จัดสรร, แจกจ่าย, แบ่งสรร |
allocation | (n) การจัดสรร, การแจกจ่าย, การแบ่งสรร |
altercate | (vi) ทะเลาะกัน, วิวาทกัน, เป็นปากเสียงกัน |
altercation | (n) การวิวาท, การทะเลาะ |
amplification | (n) การขยาย |
application | (n) ใบสมัครงาน, การสมัครงาน, คำร้องขอ, การแสดงความจำนง |
authenticate | (vt) รับรอง, ทำให้น่าเชื่อถือ |
avocation | (n) งาน, การงาน, อาชีพ, งานอดิเรก, การทำมาหากิน |
beatification | (n) การประสาทพร, ความสุข |
BIRTH birth certificate | (n) สูติบัตร |
caricature | (n) ภาพล้อ, การ์ตูนล้อเลียน, ภาพเสียดสี |
caricature | (vi) เขียนภาพล้อ, เขียนการ์ตูนล้อ |
CAT cat burglar | (n) พวกตีนแมว, พวกแมวขโมย, พวกย่องเบา |
cat | (n) แมว |
CAT'S-cat's-paw | (n) คนที่ถูกหลอกใช้, ลูกมือ, เครื่องมือ |
cataclysm | (n) น้ำท่วม, แผ่นดินไหว, มหาภัยพิบัติ, ความหายนะ, กลียุค |
catacomb | (n) ที่ฝังศพ, สุสาน, อุโมงค์ใต้ดิน |
catafalque | (n) เชิงตะกอน, ที่ตั้งศพ, จิตกาธาน, รถบรรทุกศพ |
catalog | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า |
catalog | (vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ |
catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า |
catalogue | (vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ |
cataract | (n) แก่ง, น้ำป่า, โรคต้อกระจก |
catarrh | (n) โรคหวัด |
catastrophe | (n) ภัยพิบัติ, ความพินาศ, ความวิบัติ, ความหายนะ, เหตุร้าย |
catch | (n) ที่จับ, สิ่งที่จับได้, เหยื่อ, หลุมพราง |
catch | (vt) จับ, เกาะ, คว้า, ตะครุบ, ฉวย, ได้รับ, พบ, สบ(ตา), โดยสาร, ไปทัน |
catcher | (n) ผู้จับ, ผู้ดัก, สิ่งที่จับ |
catching | (adj) ติดต่อ, แพร่หลาย, ระบาด, ดึงดูด |
catchment | (n) อ่างเก็บน้ำ, ที่กักเก็บน้ำ |
catchup | (n) ซอสมะเขือเทศ, เครื่องปรุงรส |
catchword | (n) คำพูดติดปาก, คำขวัญ |
catchy | (adj) ที่จับใจ, มีเล่ห์, ลวง |
cate | (n) ความละเอียดอ่อน, ความประณีต |
catechise | (vt) สอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ |
catechism | (n) การสอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ |
catechize | (vt) สอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ |
catechu | (n) ยาสีเสียด |
categorical | (adj) ไม่มีเงื่อนไข, แน่ชัด, เด็ดขาด |
category | (n) ประเภท, พวก, ชั้น, ลำดับชั้น |
cater | (vt) หาอาหารให้, ให้ความบันเทิง |
caterpillar | (n) หนอนแก้ว, หนอนผีเสื้อ, ดักแด้, ตัวบุ้ง, ตัวด้วง, ตีนตะขาบ |
catfish | (n) ปลาดุก |
cathartic | (n) ยาถ่าย, ยาระบาย |
Cathay | (n) ประเทศจีน, เมืองจีน |
cathedral | (n) โบสถ์ |
provocation | การยั่วยุ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
provocation test; test, challenge | การทดสอบท้า, การทดสอบกระตุ้นให้ปรากฏ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
provocative | -ยั่ว, -เร้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phylogenetic classification | การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
PDC (personal digital communication) | พีดีซี (การสื่อสารส่วนบุคคลแบบดิจิทัล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procatarctic; predisposing | -โน้มเอียงเกิดโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
partial rectification | การเรียงกระแสตรงบางส่วน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
precatory words | คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pressure application time | เวลาใช้แรงกด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
perfrication | การทานวด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
passive reciprocation | การตอบสนองแบบกสานติ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
piston engine; reciprocating engine | เครื่องยนต์ลูกสูบ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
piston engine reciprocating engine | เครื่องยนต์ลูกสูบ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phacoemulsification | หัตถการสลายต้อแก้วตา, หัตถการสลายต้อกระจก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plicate | พับ, จีบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plicate | พับจีบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
plicated tongue; lingua plicata; tongue, cerebriform; tongue, crocodile; tongue, fissured; tongue, furrowed; tongue, grooved; tongue, scrotal; tongue, sulcated; tongue, wrinkled | ลิ้นย่นริ้ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plication | การพับ, การจีบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poisoning; intoxation; toxication | ๑. ภาวะถูกพิษ, ภาวะเป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ intoxication ๑ ]๒. การให้สารพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ intoxication ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
PCN (personal communication network) | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่พีซีเอ็น [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PCS (personal communication service) | พีซีเอส (บริการสื่อสารส่วนบุคคล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PCT (personal communication telephone) | พีซีที (โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
purgation; catharsis | การถ่ายท้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personal communication network (PCN) | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่พีซีเอ็น [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal communication service (PCS) | บริการสื่อสารส่วนบุคคล (พีซีเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal communication telephone (PCT) | โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา (พีซีที) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
predisposing; procatarctic | -โน้มเอียงเกิดโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prefabrication | การปรุงประกอบ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PIN (personal identification number) | พิน (รหัสประจำตัว) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
political communication | การสื่อสารทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palliative medication | โอสถบำบัดบรรเทาอาการ, โอสถบำบัดประทัง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personification | บุคลาธิษฐาน, บุคคลวัต [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
provocateur, agent | สายลับเพื่อก่อกวนทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pre-school education | อนุบาลศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
publication | ๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
predicate | เพรดิเคต [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
predicate | ภาคแสดง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
predicate calculus | แคลคูลัสภาคแสดง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
predicate logic | ตรรกศาสตร์ภาคแสดง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
personal digital communication (PDC) | การสื่อสารส่วนบุคคลแบบดิทิทัล (พีดีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal identification number (PIN) | รหัสประจำตัว (พิน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
private education | การศึกษาเอกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
P.C. (position classification) | การจำแนกตำแหน่งตามหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pacification | การทำให้เกิดสันติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
patent, revocation of | การเพิกถอนสิทธิบัตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
party identification | การสังกัดพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
primary education | ประถมศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
privileged communication | การติดต่อส่วนตัวซึ่งมีเอกสิทธิ์ที่ไม่จำต้องเปิดเผย [ ดู confidential communication ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pressure indicating paste | วัสดุชี้บอกแรงกด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
public education | การศึกษาของรัฐ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Application Processes | กระบวนการประยุกต์ใช้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Catalog card | บัตรรายการ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Dedication page | หน้าคำอุทิศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Anglo-American Cataloguing Rules | หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catalog card | บัตรรายการ, Example: บัตรที่บันทึกรายการต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลของหนังสือ รายการต่างๆ นั้น ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ ชื่อชุด หมายเหตุ รายการเลขมาตรฐานสากล และแนวสืบค้น ซึ่งบัตรรายการนี้ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้อ่านในการค้นหาหนังสือในห้องสมุด เนื่องจากในบัตรรายการจะประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือด้วย <br> <br> การเรียงบัตรรายการแยกตามประเภทของบัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตรหัวเรื่อง ภายใต้บัตรแต่ละประเภทนั้น จัดเรียงตามลำดับตัวอักษรแบบพจนานุกรม <br> <br> บัตรรายการทำด้วยกระดาษขนาด 3x5 นิ้ว ด้านล่างของบัตรเจาะรูสำหรับร้อยบัตรเก็บไว้ในลิ้นชักตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging | การทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indicative abstract | สาระสังเขปชี้แนะ, Example: Indicative abstracts หรือ descriptive abstracts = สาระสังเขปประเภทพรรณนา หมายถึง สาระสังเขปที่เขียนอย่างสั้นๆ เพื่อแนะนำผู้อ่านให้ทราบถึงบทความที่มีอยู่ เพื่อให้ผู้อ่านตัดสินใจว่าต้องการอ่านจากต้นฉบับหรือไม่ <p>ตัวอย่าง สาระสังเขปประเภทชี้แนะ <p>เอกสารฉบับนี้รายงานรายละเอียดของการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค เรื่อง โครงสร้างและวิธีนวัตกรรมสู่ประชากรศึกษา ซึ่งจัดโดยองค์การยูเนสโกในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่กรุงนิวเดลี ระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม ค.ศ. 1979 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน จาก 12 ประเภทในเอเชียและแปซิฟิก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ประเทศที่มีโครงการประชากรศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน รวมทั้งเพื่อช่วยให้ประเทศที่เริ่มมีประชากรศึกษา สัมมนาทางโครงสร้างทางเลือกด้านต่างๆ ของโครงการประชากรศึกษา ส่วนแรกของรายงานเป็นบทปริทัศน์และบทวิเคราะห์ของโครงสร้างและวิธีการนวัตกรรมที่แต่ละประเทศใช้อยู่ ตลอดจนข้อเสนอแนะของจตัวแบบและยุทธวิธีที่แต่ละประเทศสามารถนำไปใช้ได้ ส่วนที่สองของรายงานเป็นรายงานเฉพาะประเทศ และส่วนที่สาม เป็นภาคผนวก <p>รายการอ้างอิง <p>กุลธิดา บุญอิต. "การทำสาระสังเขป" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 12-15 การวิเคราะห์สารสนเทศฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
MAchine Readable Cataloging | การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Names, Personal (Cataloging) | ชื่อบุคคล (การทำบัตรรายการ) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Card catalog cabinet | ตู้บัตรรายการ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet2.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloger | บรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catalog copy | บัตรร่าง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Communication in information science | การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Corporate heading (Cataloging) | รายการนิติบุคคล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Date of publication | ปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dedication page | หน้าคำอุทิศ, Example: <p>หน้าคำอุทิศ ซึ่งเป็นหน้าที่อยู่ถัดจากหน้าปกใน และมักจะอยู่ก่อนหน้าคำนำ เป็นหน้าที่ผู้เขียนแสดงคำกล่าวว่าต้องการอุทิศหนังสือเพื่อมอบให้แก่ผู้มีอุปการคุณ หรือบุคคลที่รักใคร่สนิทสนม ซึ่งอาจจะเป็นบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือกลุ่มของบุคคลก็ได้ตามที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณงามความดีของบุคคลเหล่านั้นที่มีส่วนสนับ สนุนหรือเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เขียนในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยคำอุทิศอาจจะเป็นประโยคหรือวลีที่มีความกระชับ <p>ตัวอย่างหน้าคำอุทิศ หนังสือ เรื่อง Enigma โดย Robert Harris <p>ข้อมูลบรรณานุกรม: Harris, Robert. Enigma. London : Arrow Books, 2001. <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110222-dedication-page-1.jpeg" alt="Dedication page"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Descriptive cataloging | การลงรายการเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indentification card | บัตรประจำตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Identification page | หน้าประทับตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Location | ตำแหน่งของทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
No place of publication | ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online Public Access Catalog | รายการเข้าถึงแบบออนไลน์, Example: <p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Place of publication | สถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Printed catalog | รายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publication | สิ่งพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publisher's catalog | บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์, Example: <P>บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ (Publisher's catalog) ใช้สำหรับแสดงรายการสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสำนักพิมพ์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่รายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์แต่ละแห่งเป็นเจ้าของ รวมทั้งรายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์วางแผนจะผลิตหรือตีพิมพ์จำหน่าย <p>ในห้องสมุด บรรณารักษ์งานจัดหา ใช้บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ สำหรับการติดตาม และตรวจสอบรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ที่น่าสนใจ ในการพิจารณาคัดเลือกเข้าห้องสมุด <p>ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ เช่น ของสมาคม American Chemical Society (ACS) ได้จัดทำบัญชีรายชื่อ ACS Publications Product Catolog 2012 หรือ Karger Libri Catolog 2012 ของสำนักพิมพ์ Karger Libri AG เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Union catalog | สหบัตร, สหบรรณานุกรม, Example: สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal Decimal Classification | ระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Year of publication | ปีที่พิมพ์, Example: <p>ปีที่พิมพ์ (Year of publication) หมายถึง ปีที่ตีพิมพ์หนังสือ เป็นส่วนที่บอกว่าหนังสือนั้นตีพิมพ์เมื่อใด ระบุเป็นปีที่พิมพ์ ทั้งไทยและสากล ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือ เช่น 2555 หรือ 2012 <p>ปีที่พิมพ์ แตกต่างจากคำว่า ปีพิมพ์ (Volume : Vol. ) ที่ใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ซึ่งหมายถึง จำนวนปีที่ได้ตีพิมพ์วารสารนั้นออกมา เช่น ปีพิมพ์ที่ 2 (Vol. 2) หมายถึง วารสารรายชื่อนั้นตีพิมพ์เป็นปีที่ 2 <p>ปีที่พิมพ์ เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการเขียนบรรณานุกรม ซึ่งให้รายละเอียดของหนังสือ คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้าหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ อาจมีบรรณนิทัศน์ (คำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อ) ประกอบด้วย <p>หนังสือบางเล่มอาจไม่ระบุปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Communication in library science | การสื่อสารทางบรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Serial publication | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Radio frequency identification systems | รหัสประจำตัวระบบคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Communication | การสื่อสาร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Wireless communication | การสื่อสารไร้สาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ramification | [ra-mə-fə-ˈkā-shən] (n) ผลม, ผลที่ตามมา, ผลสรุป, ผลที่เกิดขึ้น, See also: outgrowth, Syn. consequence |
abdicated emperor | (n) จักรพรรดิ, ผู้ปกครองอาณาจักร.-emperorship n. |
acatalepsy | (n) แนวคิดทางปรัชญาที่ว่าความรู้ของมนุษย์ไม่เคยมีความแน่นอน |
adjudication | (n) คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย) |
advocate | (vt) แนะนำ, ช่วยเหลือ, สนับสนุน (ในการทำบางสิ่งบางอย่าง) |
advocates | (n) ผู้สนับสนุน |
advocates | (n) ผู้สนับสนุน |
allocate | (vt) แบ่งให้, กำหนด, บรรจุ, ลง(บัญชี) |
allocator | (n) ผู้จัดหา |
application | (n) ใบคำร้อง, ใบคำขอ |
asiatic golden cat | (n) เสือไฟ |
authentication unit | หน่วยรับรองความน่าเชื่อถือ |
Bachelor of Education | (n) ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
Cat | [เเคท] (n) แมว |
cat | (n, vi, vt, modal, ver) แมว |
cat | [猫 (neko)] (n) แมว |
cat | (n) แมวหง่ว |
CAT | (abbrev) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด |
cat | (n) แมว |
cat | แมว |
cat | แมว |
cat | แมว |
cat | [แคท] แมว |
cat | แมว |
Cat | [แคท] (n) แมว |
cat | (n) แมว |
cat | [แคท] (n) แมว |
cataclysmic | (adj) ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือหายนะอย่างฉับพลันและรุนแรง |
catalogue | (n) รายการ |
catboat | [แคท-โบท] เรือใบเสาเดี่ยวที่ตรงหน้า และมีใบเรือขนาดใหญ่ |
catch a buzz | (slang) เมาเหล้าหรือเมายา |
cater | บริการ |
catering | [แคท เทอ ริ่ง] (n) การจัดอาหารให้ในงานเลี้ยง, บริการจัดเตรียมอาหาร, จัดเลี้ยง |
cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ |
Catoblepas | [คาโตเบิลพลัส] (name, uniq) อสูรกายในตำนานแฟนตาซี มีลักษัญเป็นสิงโตขนาดใหญ่ มีขนสีขาวที่แผงคอและหาง ลำตัวสีแดงสด และมีลายพาดคล้ายเสือ |
CATTELECOM | (n) บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) |
cattle breeder | (n, phrase) คนผสมพันธุ์ปศุสัตว์ |
cattle cake | (n) อาหารสัตว์, Syn. compound feed |
co-education | [โค เอ็ดดึเคชัน] (n) สหศึกษา |
concatenation | (n) การเชื่อมเข้าด้วยกัน, การเชื่อมต่อกัน, การต่อกัน, Syn. concatenate |
coronary calcification | (n) ภาวะแคลเซียมเกาะผนังเส้นเลือดหัวใจ |
cowcatcher | [คาว-แคชเชอะ] (n) โครงเหล็กรูปสามเหลี่ยมที่ติดข้างหน้ารถไฟ (รถรางหรือรถอื่นๆ) |
debenture certificate | (n) ใบหุ้นกู้ |
deduplication | (n) การทำหน้าที่เพียงอย่างเดียว |
delicates | (n) ชุดชั้นใน |
devitrification | [しっとう] กระบวนการเปลี่ยนแก้วเป็นคริสตัล |
disintoxicating | ช่วยถอนพิษ |
divarication | (n) การแตกสาขา, See also: forking, ramification, forking, Syn. ramification |
educational durable objects | ครุภัณฑ์ทางการศึกษา |
etticate | (n) มารยาทบนโต๊ะอาหาร, Syn. table manner |
ความนัย | (n) implication, See also: meaning, Syn. ความหมาย, Example: ถ้อยโต้ตอบเหล่านี้มีความนัยซ่อนเร้นอยู่ |
ทำเลทอง | (n) golden location, See also: good spot, good location, Syn. ทำเลดี, Example: ร้านค้าแถวนี้กลายเป็นแหล่งทำเลทองไปในทันทีหลังจากมีการสร้างห้างสรรพสินค้าขึ้น |
บัตรประชาชน | (n) ID card, See also: identification card, identity card, Syn. บัตรประจำตัวประชาชน, บัตรประจำตัว, Example: รัฐบาลออกบัตรประชาชนให้ประชาชนทุกคน, Thai Definition: เอกสารแสดงฐานะโดยย่อของบุคคล มักมีรูปถ่ายของบุคคลนั้นติดอยู่ด้วย |
บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด |
บัตรเหลือง | (n) temporary ID card, See also: temporary identification card, Example: เขานำใบแจ้งความไปที่อำเภอเพื่อออกบัตรเหลืองชั่วคราวแทนบัตรประชาชน, Thai Definition: บัตรที่ทางอำเภอออกให้เพื่อใช้แทนบัตรประชาชนชั่วคราว |
ผู้บันดาล | (n) inspirer, See also: catalyst, Syn. คนบันดาล, Example: คนบางกลุ่มมีความเชื่อว่า เทพเจ้าเป็นผู้บันดาลให้พืชพันธุ์ธัญชาติงอกงาม หรือทำให้เสียหายได้, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ทำให้เป็นไป |
ผู้ลงรับเลือกตั้ง | (n) (politicate) candidate, See also: office-seeker, Syn. ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง, ผู้ลงสมัคร, ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, Ant. ผู้เลือกตั้ง, Example: จนถึงวันนี้ มีผู้ลงรับเลือกตั้งทั้งหมดจำนวน 11 คน, Count Unit: คน |
ยาก | (v) be hard, See also: be difficult, be complicated, Ant. ง่าย, Example: ซอฟต์แวร์เหล่านี้มักมีราคาแพง จึงยากที่จะหลีกเลี่ยงการละเมิดสิทธิ์, Thai Definition: ถ้าจะทำต้องพยายามอย่างมาก |
ยากเย็น | (v) be very difficult, See also: be complicated, be very hard, Syn. ยากเย็นแสนเข็ญ, Ant. ง่ายดาย, Example: ในปัจจุบัน การตรวจภูมิประเทศเป็นเรื่องไม่ยากเย็นอะไรนัก เพราะเส้นทางคมนาคมสะดวกสบาย, Thai Definition: ยากมาก |
ล้มกระดาน | (v) turn over a board, See also: destroy, eliminate, eradicate, Syn. คว่ำกระดาน, Example: กรณีที่ กสช. ล้มกระดานกระบวนการสรรหานั้นเป็นการเสียผลประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมาก, Thai Definition: ทำลายหรือทำให้พังหมดสิ้นไป |
วัยเรียน | (n) studying age, See also: education age, Syn. วัยศึกษา, Example: เมื่อนึกถึงวัยเรียนความทรงจำที่สนุกสนานก็ผุดขึ้นมามากมาย, Count Unit: วัย, Thai Definition: ระยะเวลาของอายุที่อยู่ในช่วงกำลังศึกษาเล่าเรียน |
หล่อเลี้ยง | (v) moisten, See also: nourish, lubricate, Example: น้ำตาหลั่งออกมาเพื่อหล่อเลี้ยงดวงตา |
อาหารสำเร็จรูป | (n) delicatessen, See also: instant food, Example: อาหารสำเร็จรูปที่ขายในซุปเปอร์มาร์เก็ตส่วนใหญ่บรรจุอยู่ในกล่องโฟม, Thai Definition: อาหารที่ทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ซื้อสามารถรับประทานได้เลย |
ฮวงจุ้ย | (n) Chinese belief of how to locate a building, Example: โป๊ยก่วนเป็นชื่อที่เป็นทางสามแพร่งซี่งเป็นที่อัปมงคลในฮวงจุ้ยของคนจีน |
ขบเคี้ยว | (v) crunch, See also: chew, masticate, Syn. เคี้ยว, ขบ, Example: ลิ้นเป็นตัวที่ช่วยดุนอาหารให้ฟันได้ขบเคี้ยวอาหารได้สะดวก, Thai Definition: ขบและเคี้ยว |
จับปลาสองมือ | (v) catch two fish with each hand, See also: seek two things simultaneously, Example: คุณจะเรียนหรือจะทำงานก็เลือกเอาซักอย่างดีกว่า อย่ามัวจับปลาสองมือแบบนี้ เดี๋ยวจะเหลวทั้งสองอย่าง, Thai Definition: มุ่งหวังสองสิ่งในเวลาเดียวกัน ในที่สุดไม่ได้อะไรสักอย่าง, Notes: (สำนวน) |
เช็คบิล | (v) take revenge, See also: avenge, get even with, vindicate, revenge, Syn. แก้แค้น, ล้างแค้น, คิดบัญชี, Example: รัฐบาลชุดนี้กำลังตามเช็คบิลการทุจริตประพฤติมิชอบในรัฐบาลชุดที่แล้วหลายเรื่องหลายโครงการ, Notes: (สแลง) |
โดนใจ | (v) be to one's taste, See also: catch/take one's fancy, please, be to one's liking, Syn. ถูกใจ, ต้องใจ, ถูกอกถูกใจ, Example: เพลงอกหักมักโดนใจวัยรุ่นทุกคน, Notes: (ปาก) |
ตวัดลิ้น | (v) quibble, See also: equivocate, be evasive, wag one's tongue, Syn. เล่นลิ้น, หลอกลวง, พูดเท็จ, Example: นักการเมืองตวัดลิ้นขณะให้สัมภาษณ์แก่นักข่าว, Thai Definition: พูดเล่นลิ้น หลอกลวงไม่มีข้อมูลจริง |
ตื้นลึกหนาบาง | (n) ins and outs, See also: inside story, complication (of), Example: เขาไม่รู้ถึงตื้นลึกหนาบางเรื่องที่พ่อแม่ทะเลาะกัน, Thai Definition: รายละเอียดของเรื่องที่ไม่เปิดเผย |
ถ่ายสำเนา | (v) copy, See also: duplicate, Syn. ก๊อบปี้, Example: ผู้สมัครต้องถ่ายสำเนาเอกสารทุกฉบับเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน, Thai Definition: นำต้นฉบับเดิมไปจำลองแบบขึ้น |
กรมอาชีวศึกษา | (n) Department of Vocational Education |
กศน. | (n) Department of Non-Formal Education, Syn. กรมการศึกษานอกโรงเรียน |
กสท. | (n) The Communications Authority of Thailand, See also: CAT., Syn. การสื่อสารแห่งประเทศไทย |
คค | (n) Ministry of Transport and Communications, Syn. กระทรวงคมนาคม |
นศ.บ. | (n) Bachelor of Arts in Mass Communication, Syn. นิเทศศาสตรบัณฑิต |
ป. | (n) primary education, Syn. ประถมศึกษา |
ม. | (n) secondary education, Syn. มัธยม |
ม. | (n) secondary education, Syn. มัธยมศึกษา, Thai Definition: การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา |
ยูเนสโก | (n) UNESCO, See also: United Nations Educational Scientific and Cultural Organization, Syn. องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ |
ศธ | (n) Ministry of Education, Syn. กระทรวงศึกษาธิการ |
สกศ. | (n) Office of the National Education Commission, See also: ONEC, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ |
สช. | (n) Office of Private Education Commission, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน |
สปช. | (n) Office of the National Primary Education Commission, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ |
อ.ส.ม.ท. | (n) The Mass Communication Organization of Thailand, See also: MCOT, Syn. องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย |
เครื่องมือสื่อสาร | (n) communication tool, Syn. อุปกรณ์การสื่อสาร, Example: ในยุคโลกาภิวัตน์ เครื่องมือสื่อสาร โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการจัดการศึกษา |
ศูนย์การคมนาคม | (n) communication center |
ศูนย์การสื่อสาร | (n) communication center |
อุปกรณ์การเรียนการสอน | (n) teaching aid, See also: educational aid |
หมอนอิง | (n) scatter cushion |
ทำสำเนา | (v) duplicate, See also: copy, replicate, Example: ทีมงานได้ทำสำเนาแบบบันทึกเสียงขึ้นใหม่อีก 3 ชุด, Thai Definition: ทำขึ้นมาเพิ่มเติมแต่ต้องให้เหมือนกับของเดิม |
ประกาศรับ | (v) announce one is accepting application, See also: announce accepting application, Syn. รับสมัคร, ประกาศรับสมัคร, Example: หากบริษัทเรามีตำแหน่งว่าง เราจะประกาศรับทันที, Thai Definition: แจ้งให้ทราบถึงการรับสมัคร |
คำพูดติดปาก | (n) catchword, See also: catch phrase, Syn. วลีติดปาก, Example: วัยรุ่นสมัยนี้มีคำพูดติดปากที่ไม่สื่อความหมายอะไรเลย, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำพูดที่ใช้อยู่เรื่อยๆ จนติดเป็นนิสัยต้องพูดบ่อยๆ |
อุปกรณ์โทรคมนาคม | (n) telecommunication, Example: ภายในยานจะติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนำทางและอุปกรณ์โทรคมนาคมที่สำคัญไว้คอยติดต่อกับภาคพื้นดิน, Thai Definition: เครื่องมือที่ใช้ในการส่งและรับสัญญาณโดยอาศัยระบบสายวิทยุสื่อสารหรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่นๆ |
กรมพระธรรมนูญ | (n) The Judge Advocate General's Department, Syn. ธน., Example: กรมพระธรรมนูญมีผู้บังคับบัญชาเป็นหัวหน้าเหล่ายศพลโท, Thai Definition: หน่วยงานที่ขึ้นตรงสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม มีหน้าที่เกี่ยวกับศาลทหาร อัยการทหาร นายทหารพระธรรมนูญ ราชการในส่วนธุรการและวิชาการที่เกี่ยวกับกฎหมายและสังคมศาสตร์ มีเจ้ากรมพระธรรมนูญเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ |
แย่ง | (v) catch, See also: seize, Syn. ชิง, แย่งชิง, ฉก, Ant. ให้, ยกให้ |
โรย | (v) sprinkle, See also: scatter, Syn. โปรย, พรม |
สถานศึกษา | (n) school, See also: establishment for education, Syn. โรงเรียน |
สถาบันอุดมศึกษา | (n) institution of education, Syn. มหาวิทยาลัย, วิทยาลัย |
สลับซับซ้อน | (v) complicate, See also: to be complex, Syn. ซับซ้อน, วกวน |
อาชีพ | [āchīp] (n) EN: profession ; occupation ; livelihood ; career ; vocation ; work FR: profession [ f ] ; métier [ m ] ; occupation [ f ] ; activité [ f ] ; boulot [ m ] (fam.) ; job [ m ] (fam.) |
อาชีวะ | [āchīwa] (n) EN: trade ; occupation ; vocation ; profession ; career ; calling |
อาชีวศึกษา | [āchīwaseuksā] (n) EN: vocational education ; vocational training FR: enseignement professionnel [ m ] |
อาหารสำเร็จรูป | [āhān samretrūp] (n, exp) EN: instant meal ; delicatessen FR: nourriture instantanée [ f ] |
ไอออนบวก | [ai-øn būak] (n, exp) EN: cation FR: cation [ m ] |
อัยการทหาร | [aiyakān thahān] (n, exp) EN: judge advocate. |
อาการ | [ākān] (n) EN: symptom ; syndrom ; indication FR: symptôme [ m ] ; signe [ m ] |
อาคารเรียน | [ākhān rīen] (n, exp) EN: school building ; education building FR: bâtiment scolaire [ m ] |
อัน | [an] (classif, (n)) EN: [ classifier : small objects ; pieces of candy ; ashtrays ; round objects ; objects with unknown classifiers ] FR: [ classificateur : petits objets ; choses en général ] |
อ้างสิทธิ์ใน... | [āng sit nai …] (v, exp) EN: lay claim to ; vindicate for |
อนุมัติ | [anumat] (v) EN: approve ; allow ; give consent ; sanction ; authorize ; endorse ; allocate FR: approuver ; autoriser ; permettre ; accorder ; consentir |
อนุปริญญา | [anuparinyā] (n) EN: diploma FR: diplôme [ m ] ; certificat [ m ] |
อัด | [at] (v) EN: record ; copy ; duplicate FR: enregistrer |
อัดฉีด | [atchīt] (v) EN: lubricate ; grease FR: lubrifier ; graisser |
อะโวคาโด | [awōkhādō] (n) EN: avocado FR: avocat [ m ] |
แบ่ง | [baeng] (v) EN: divide ; separate ; allot ; allocate ; apportion ; share ; split ; distribute ; portion FR: diviser ; séparer ; allouer ; partager ; répartir ; assigner |
แบ่งหน้าที่ | [baeng nāthī] (v, exp) EN: assign ; allocate FR: assigner les tâches |
แบ่งเวลา | [baeng wēlā] (v, exp) EN: allocate |
แบบใบสมัคร | [baēp bai samak] (n, exp) EN: application form FR: formulaire d'inscription [ m ] |
แบบบาง | [baēpbāng] (adj) EN: delicate ; weak ; fragile ; easily damaged FR: frêle ; fluet ; fragile |
ใบ | [bai] (n) EN: warrant ; certificate ; document ; card FR: document [ m ] ; certificat [ m ] ; permis [ m ] |
ใบ | [bai] (n) EN: [ classifier : leaves (of trees); round and hollow objects (hats, cups, glasses, bowls, tin-cans, eggs, fruit, bags, wallets); small documents (tickets, certificates, leaflets) ] FR: [ classificateur : feuilles (arbres et plantes); objets ronds et creux (chapeaux, coupes, bols, cannettes, oeufs, fruits); petits documents (billets, tickets, certificats) ] |
ใบดำ | [baidam] (n) EN: black marker (which indicate that person must not enroll an army) |
ใบดำ | [baidam] (n) EN: notification of funeral FR: faire-part de décès [ m ] |
ใบหุ้น | [baihun] (n, exp) EN: share certificate |
ใบจับจอง | [bai japjøng] (n, exp) EN: pre-emption certificate |
ใบจอง | [bai jøng] (n, exp) EN: pre-emption certificate ; advance order |
ใบคำร้องขอ | [bai khamrøngkhø] (n, exp) EN: application form |
ใบขออนุญาต | [bai khø anuyāt] (n, exp) EN: application form |
ใบเกิด | [baikoēt] (n, exp) EN: birth certificate FR: acte de naissance [ m ] ; certificat de naissance [ m ] ; extrait d'acte de naissance [ m ] |
ใบกองเกิน | [bai køngkoēn] (n, exp) EN: enroll certificate |
ใบกองหนุน | [bai køngnun] (n, exp) EN: certificate of reserve corps |
ใบลา | [bailā] (n) EN: request for leave of absence ; application for leave ; application for leave of absence |
ใบมรณบัตร | [bai møranabat] (n, exp) EN: notification of death FR: certificat de décès [ m ] ; attestation de décès [ f ] |
ใบภูมิลำเนา | [bai phūmilamnao] (n, exp) FR: certificat de domicile [ m ] |
ใบประกัน | [bai prakan] (n, exp) EN: guarantee FR: bon de garantie [ m ] ; certificat de garantie [ m ] |
ใบรับประกัน | [bai rapprakan] (n, exp) EN: guarantee ; guarantee certificate |
ใบรับรอง | [bairaprøng] (n, exp) EN: certificate ; testimonial ; guarantee ; certificate of conformity FR: certificat [ m ] ; attestation [ f ] |
ใบรับรองอนามัย | [bairaprøng anāmai] (n, exp) EN: health certificate |
ใบรับรองแพทย์ | [bairaprøng phaēt] (n, exp) EN: doctor's certificate FR: certificat médical [ m ] ; attestation médicale [ f ] |
ใบรับรองต้นกำเนิด | [bairaprøng ton kamnoēt] (n, exp) EN: certificate of origin ; C/O FR: certificat d'origine [ m ] |
ใบแสดงหลักฐาน | [bai sadaēng lakthān] (n, exp) EN: certificate |
ใบสมัคร | [bai samak] (n, exp) EN: application ; application form FR: bulletin d'inscription [ m ] ; formulaire d'inscription [ m ] ; demande d'adhésion [ f ] |
ใบสมัครงาน | [bai samak ngān] (n, exp) EN: application ; application form |
ใบสมัครสมาชิก | [bai samak samāchik] (n, exp) EN: member application FR: demande d'adhésion [ f ] ; bulletin d'adhésion [ m ] |
ใบสำคัญ | [baisamkhan] (n) EN: certificate ; document FR: certificat [ m ] |
ใบสำคัญคู่จ่าย | [baisamkhankhūjāi] (n) EN: duplicate |
ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis |
ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: graduation certificate ; school-leaving certificate ; diploma ; testimonial ; certificate of honourable dismissal FR: attestation [ f ] ; certificat [ m ] |
ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: certificate of identity ; monk's identification card |
abdicate | (v) give up, such as power, as of monarchs and emperors, or duties and obligations, Syn. renounce |
abdication | (n) a formal resignation and renunciation of powers, Syn. stepping down |
abdication | (n) the act of abdicating, Syn. stepping down |
abdicator | (n) one who formally relinquishes an office or responsibility |
absorption indicator | (n) an indicator used in reactions that involve precipitation |
acatalectic | (n) (prosody) a line of verse that has the full number of syllables |
acatalectic | (adj) (verse) metrically complete; especially having the full number of syllables in the final metrical foot, Ant. catalectic, hypercatalectic |
acataphasia | (n) a disorder in which a lesion to the central nervous system leaves you unable to formulate a statement or to express yourself in an organized manner |
acathexia | (n) an inability to retain bodily secretions |
acathexis | (n) (psychoanalysis) a lack of cathexis; a condition in which significant objects or memories arouse no emotion in an individual |
acid-base indicator | (n) an indicator that changes color on going from acidic to basic solutions |
acidification | (n) the process of becoming acid or being converted into an acid |
active application | (n) an application that is currently running and in the foreground |
adjudication | (n) the final judgment in a legal proceeding; the act of pronouncing judgment based on the evidence presented |
adjudicative | (adj) concerned with adjudicating, Syn. adjudicatory |
adjudicator | (n) a person who studies and settles conflicts and disputes |
adult education | (n) a course (via lectures or correspondence) for adults who are not otherwise engaged in formal study |
advocate | (n) a person who pleads for a cause or propounds an idea, Syn. proponent, advocator, exponent |
advocate | (n) a lawyer who pleads cases in court, Syn. counselor, counsel, counsellor, pleader, counselor-at-law |
affricate | (n) a composite speech sound consisting of a stop and a fricative articulated at the same point (as `ch' in `chair' and `j' in `joy'), Syn. affricate consonant, affricative |
affrication | (n) the conversion of a simple stop consonant into an affricate |
agent provocateur | (n) a secret agent who incites suspected persons to commit illegal acts, Syn. provocateur |
alley cat | (n) a homeless cat |
allocate | (v) distribute according to a plan or set apart for a special purpose, Syn. apportion |
allocation | (n) (computer science) the assignment of particular areas of a magnetic disk to particular data or instructions, Syn. storage allocation |
allocation unit | (n) a group of sectors on a magnetic disk that can be reserved for the use of a particular file |
allocator | (n) a person with authority to allot or deal out or apportion, Syn. distributor |
ammonification | (n) impregnation with ammonia or a compound of ammonia |
amplification | (n) addition of extra material or illustration or clarifying detail, Syn. elaboration |
amplification | (n) the amount of increase in signal power or voltage or current expressed as the ratio of output to input, Syn. gain |
amplification | (n) (electronics) the act of increasing voltage or power or current |
anglican catholic | (n) a member of the Anglican Church who emphasizes its Catholic character |
anglo-catholic | (adj) supporting the Anglican Church |
anglo-catholicism | (n) a doctrine and practice within the Church of England emphasizing the Catholic tradition, Syn. High Anglicanism |
animal communication | (n) communication between animals (of the same species) |
anticatalyst | (n) (chemistry) a substance that retards a chemical reaction or diminishes the activity of a catalyst, Ant. catalyst |
anti-catholicism | (n) a religious orientation opposed to Catholicism |
application | (n) the act of bringing something to bear; using it for a particular purpose, Syn. practical application |
application | (n) a verbal or written request for assistance or employment or admission to a school |
application | (n) the work of applying something, Syn. covering, coating |
application | (n) a program that gives a computer instructions that provide the user with tools to accomplish a task, Syn. application program, applications programme |
application | (n) a diligent effort, Syn. diligence |
application | (n) the action of putting something into operation |
application form | (n) a form to use when making an application |
application-oriented language | (n) a language whose statements resemble terminology of the user, Syn. problem-oriented language |
applicative | (adj) readily applicable or practical, Syn. applicatory |
applicator | (n) a device for applying a substance, Syn. applier |
armored catfish | (n) South American catfish having the body covered with bony plates |
astrophyton muricatum | (n) a variety of basket star |
auditory communication | (n) communication that relies on hearing |
Abdicate | v. t. ☞ The word abdicate was held to mean, in the case of James II., to abandon without a formal surrender. [ 1913 Webster ] The cross-bearers abdicated their service. Gibbon. [ 1913 Webster ] He abdicates all right to be his own governor. Burke. [ 1913 Webster ] The understanding abdicates its functions. Froude. [ 1913 Webster ] |
Abdicate | v. i. To relinquish or renounce a throne, or other high office or dignity. [ 1913 Webster ] Though a king may abdicate for his own person, he cannot abdicate for the monarchy. Burke. [ 1913 Webster ] |
Abdication | n. [ L. abdicatio: cf. F. abdication. ] The act of abdicating; the renunciation of a high office, dignity, or trust, by its holder; commonly the voluntary renunciation of sovereign power; |
Abdicative | a. [ L. abdicativus. ] Causing, or implying, abdication. [ R. ] Bailey. [ 1913 Webster ] |
Abdicator | n. One who abdicates. [ 1913 Webster ] |
Aberuncate | v. t. [ L. aberuncare, for aberruncare. See Averruncate. ] To weed out. [ Obs. ] Bailey. [ 1913 Webster ] |
Aberuncator | n. A weeding machine. [ 1913 Webster ] |
Abjudicate | v. t. [ L. abjudicatus, p. p. of abjudicare; ab + judicare. See Judge, and cf. Abjudge. ] To reject by judicial sentence; also, to abjudge. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ] |
Abjudication | n. Rejection by judicial sentence. [ R. ] Knowles. [ 1913 Webster ] |
Acatalectic | a. [ L. acatalecticus, Gr. &unr_;, not defective at the end; |
Acatalepsy | n. [ Gr. &unr_;; |
Acataleptic | a. [ Gr. &unr_;. ] Incapable of being comprehended; incomprehensible. [ 1913 Webster ] |
Acater | n. See Caterer. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Acates | n. pl. See Cates. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Acciaccatura | ‖n. [ It., from acciaccare to crush. ] (Mus.) A short grace note, one semitone below the note to which it is prefixed; -- used especially in organ music. Now used as equivalent to the short appoggiatura. [ 1913 Webster ] |
Acetification | n. The act of making acetous or sour; the process of converting, or of becoming converted, into vinegar. [ 1913 Webster ] |
Acidification | n. [ Cf. F. acidification. ] The act or process of acidifying, or changing into an acid. [ 1913 Webster ] |
Adjudicate | v. t. |
Adjudicate | v. i. To come to a judicial decision; |
Adjudication | n. [ L. adjudicatio: cf. F. adjudication. ] |
Adjudicative | a. Adjudicating. [ 1913 Webster ] |
Adjudicator | n. One who adjudicates. [ 1913 Webster ] |
Adjudicature | n. Adjudication. [ 1913 Webster ] |
Adsignification | n. Additional signification. [ R. ] Tooke. [ 1913 Webster ] |
Advocate | n. [ OE. avocat, avocet, OF. avocat, fr. L. advocatus, one summoned or called to another; properly the p. p. of advocare to call to, call to one's aid; ad + vocare to call. See Advowee, Avowee, Vocal. ] ☞ In the English and American Law, advocate is the same as “counsel, ” “counselor, ” or “barrister.” In the civil and ecclesiastical courts, the term signifies the same as “counsel” at the common law. [ 1913 Webster ] We have an Advocate with the Father. 1 John ii. 1. [ 1913 Webster ]
|
Advocate | v. t. To advocate the cause of thy client. Bp. Sanderson (1624). [ 1913 Webster ] This is the only thing distinct and sensible, that has been advocated. Burke. [ 1913 Webster ] Eminent orators were engaged to advocate his cause. Mitford. [ 1913 Webster ] |
Advocate | v. i. To act as advocate. [ Obs. ] Fuller. [ 1913 Webster ] |
Advocateship | n. Office or duty of an advocate. [ 1913 Webster ] |
Advocation | n. [ L. advocatio: cf. OF. avocation. See Advowson. ] The holy Jesus . . . sits in heaven in a perpetual advocation for us. Jer. Taylor. [ 1913 Webster ] The donations or advocations of church livings. Sanderson. [ 1913 Webster ] |
Advocatory | a. Of or pertaining to an advocate. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Aërification | n. [ Cf. F. aérification. See A&unr_;rify. ] |
Affricate | n. [ L. affricatus, p. p. of affricare to rub against; af- = ad- + fricare to rub. ] (Phon.) A combination of a stop, or explosive, with an immediately following fricative or spirant of corresponding organic position, as pf in german Pfeffer, pepper, z (= ts) in German Zeit, time. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Albication | n. The process of becoming white, or developing white patches, or streaks. [ 1913 Webster ] |
Albification | n. [ Cf. F. albification: L. albus white + ficare (only in comp.), facere, to make. ] The act or process of making white. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
allocatable | adj. |
Allocate | v. t. [ LL. allocatus, p. p. of allocare, fr. L. ad + locare to place. See Allow. ] |
Allocation | n. [ LL. allocatio: cf. F. allocation. ] The allocation of the particular portions of Palestine to its successive inhabitants. A. R. Stanley. [ 1913 Webster ] |
Allocatur | ‖n. [ LL., it is allowed, fr. allocare to allow. ] (Law) “Allowed.” The word allocatur expresses the allowance of a proceeding, writ, order, etc., by a court, judge, or judicial officer. [ 1913 Webster ] |
Altercate | v. i. |
Altercation | n. [ F. altercation, fr. L. altercatio. ] Warm contention in words; dispute carried on with heat or anger; controversy; wrangle; wordy contest. “Stormy altercations.” Macaulay. [ 1913 Webster ] Their whole life was little else than a perpetual wrangling and altercation. Hakewill. [ 1913 Webster ] |
Altercative | a. Characterized by wrangling; scolding. [ R. ] Fielding. [ 1913 Webster ] |
Amplificate | v. t. [ L. amplificatus, p. p. of amplificare. ] To amplify. [ Obs. ] Bailey. [ 1913 Webster ] |
Amplification | n. [ L. amplificatio. ] Exaggeration is a species of amplification. Brande & C. [ 1913 Webster ] I shall summarily, without any amplification at all, show in what manner defects have been supplied. Sir J. Davies. [ 1913 Webster ] |
Amplificative | a. Amplificatory. [ 1913 Webster ] |
Amplificatory | a. Serving to amplify or enlarge; amplificative. Morell. [ 1913 Webster ] |
anacathartic | a. [ Gr. |
anacathartic | n. (Med.) An anacathartic medicine; an expectorant or an emetic. [ archaic ] [ 1913 Webster + AS ] |
Anglo-Catholic | a., Of or pertaining to a church modeled on the English Reformation; Anglican; -- sometimes restricted to the ritualistic or High Church section of the Church of England. [ 1913 Webster ] |
Anglo-Catholic | n. A member of the Church of England who contends for its catholic character; more specifically, a High Churchman. [ 1913 Webster ] |
Anglo-Catholicism | n. The belief of those in the Church of England who accept many doctrines and practices which they maintain were those of the primitive, or true, Catholic Church, of which they consider the Church of England to be the lineal descendant; a doctrine and practice within the Church of England emphasizing the Catholic tradition. |
第 | [第] (prefix indicating ordinal number, e.g. first, number two etc) #1 [Add to Longdo] |
在 | [在] (located) at; (to be) in; to exist; in the middle of doing sth; (indicating an action in progress) #4 [Add to Longdo] |
着 | [着 / 著] catch; receive; suffer #26 [Add to Longdo] |
着 | [着 / 著] to touch; to come in contact with; to feel; to be affected by; to catch fire; to fall asleep; to burn #26 [Add to Longdo] |
着 | [着 / 著] particle attached after verb to indicate action in progress, like -ing ending #26 [Add to Longdo] |
好 | [好] good; well; proper; good to; easy to; very; so; (suffix indicating completion or readiness) #32 [Add to Longdo] |
而 | [而] and; as well as; and so; but (not); yet (not); (indicates causal relation); (indicates change of state); (indicates contrast) #39 [Add to Longdo] |
被 | [被] by (indicates passive-voice sentences or clauses); to cover; to wear #45 [Add to Longdo] |
得 | [得] to obtain; to get; to gain; to catch (a disease); proper; suitable; proud; contented; to allow; to permit; ready; finished #68 [Add to Longdo] |
得 | [得] structural particle: used after a verb (or adjective as main verb), linking it to following phrase indicating effect, degree, possibility etc #68 [Add to Longdo] |
吧 | [吧] (modal particle indicating polite suggestion); ...right?; ...OK? #93 [Add to Longdo] |
位 | [位] position; location; classifier for people; place; seat; classifier for binary bits (e.g. 十六位 16-bit or 2 bytes) #117 [Add to Longdo] |
吃 | [吃] to eat; to have one's meal; to eradicate; to destroy; to absorb; to suffer; to exhaust #132 [Add to Longdo] |
分 | [分] to divide; to separate; to allocate; to distinguish (good and bad); part or subdivision; fraction; one tenth (of certain units); unit of length equivalent to 0.33 cm; minute #141 [Add to Longdo] |
表示 | [表 示] to express; to show; to say; to state; to indicate; to mean #157 [Add to Longdo] |
教育 | [教 育] to educate; to teach; education #259 [Add to Longdo] |
老 | [老] prefix used before the surname of a person or a numeral indicating the order of birth of the children in a family or to indicate affection or familiarity; old (of people); venerable (person); experienced; of long standing; always; all the time; of the pas #295 [Add to Longdo] |
到了 | [到 了] at last; finally; in the end; has arrived; when subj. arrives at a location or time #388 [Add to Longdo] |
处 | [处 / 處] place; location; spot; point; office; department; bureau; respect; classifier for locations or items of damage: spot, point #427 [Add to Longdo] |
拿 | [拿] to hold; to seize; to catch; to apprehend; to take #445 [Add to Longdo] |
门 | [门 / 門] gate; door; CL:扇[ shan4 ]; gateway; doorway; CL:個|个[ ge4 ]; opening; valve; switch; way to do something; knack; family; house; (religious) sect; school (of thought); class; category; phylum or division (taxonomy); classifier for large guns; classifier for les #459 [Add to Longdo] |
接 | [接] to receive; to answer (the phone); to meet or welcome sb; to connect; to catch; to join; to extend; to take one's turn on duty; take over for sb #529 [Add to Longdo] |
类 | [类 / 類] kind; type; class; category; similar; like; to resemble #662 [Add to Longdo] |
指 | [指] finger; to point; to direct; to indicate; to refer to; to rely on; to count on; (hair) stands stiffly on end #700 [Add to Longdo] |
指出 | [指 出] to indicate; to point out #742 [Add to Longdo] |
简单 | [简 单 / 簡 單] simple; not complicated #817 [Add to Longdo] |
转发 | [转 发 / 轉 發] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo] |
应用 | [应 用 / 應 用] to use; to apply; application; applicable #884 [Add to Longdo] |
交通 | [交 通] transport; traffic; communication #889 [Add to Longdo] |
证 | [证 / 證] certificate; proof; to prove; to demonstrate; to confirm; certificate; proof #913 [Add to Longdo] |
下来 | [下 来 / 下 來] to come down; (after verb of motion, indicates motion down and towards us, also fig.); (indicates continuation from the past towards us); to be harvested (of crops); to be over (of a period of time); to go among the masses (said of leaders) #975 [Add to Longdo] |
教学 | [教 学 / 教 學] teacher and student; education #1,074 [Add to Longdo] |
担 | [担 / 擔] a picul (100 catties, 50 kg.); two buckets full #1,094 [Add to Longdo] |
表明 | [表 明] make known; make clear; state clearly; indicate; known; to make clear #1,150 [Add to Longdo] |
假 | [假] vacation #1,170 [Add to Longdo] |
累 | [累] implicate; tired #1,175 [Add to Longdo] |
通 | [通] to go through; to know well; to connect; to communicate; open #1,181 [Add to Longdo] |
抓 | [抓] to grab; to catch; to arrest; to snatch #1,190 [Add to Longdo] |
交流 | [交 流] exchange; give-and-take; to exchange; to alternate; communication; alternating current (elec.) #1,201 [Add to Longdo] |
体育 | [体 育 / 體 育] sports; physical education #1,281 [Add to Longdo] |
规范 | [规 范 / 規 範] norm; standard; specification; regulation; rule; within the rules; to fix rules; to regulate; to specify #1,303 [Add to Longdo] |
申请 | [申 请 / 申 請] to apply for sth; application (form etc) #1,372 [Add to Longdo] |
通知 | [通 知] to notify; to inform; notice; notification #1,407 [Add to Longdo] |
猫 | [猫 / 貓] cat #1,420 [Add to Longdo] |
看见 | [看 见 / 看 見] to see; to catch sight of #1,432 [Add to Longdo] |
位于 | [位 于 / 位 於] to be located at; to be situated at; to lie #1,468 [Add to Longdo] |
获 | [获 / 獲] to catch; to obtain; to capture #1,505 [Add to Longdo] |
咯 | [咯] (final particle similar to 了, indicating that sth is obvious) #1,567 [Add to Longdo] |
属 | [属 / 屬] category; genus (taxonomy); family members; dependents; to belong to; subordinate to; affiliated with; be born in the year of (one of the 12 animals); to be; to prove to be; to constitute #1,630 [Add to Longdo] |
理由 | [理 由] reason; grounds; justification #1,688 [Add to Longdo] |
明示 | [めいじ, meiji] TH: การระบุหรือชี้ให้เห็นอย่างชัดแจ้ง EN: specification (vs) |
酔う | [よう, you] TH: มึนเมา EN: to become intoxicated |
利用 | [りよう, riyou] TH: การประยุกต์ใช้ EN: application |
取り上げる | [とりあげる, toriageru] TH: ริบขึ้นมา EN: to confiscate |
聞き取る | [ききとる, kikitoru] TH: ฟังจับใจความ EN: catch (a person's words) |
明記 | [めいき, meiki] TH: รายละเอียด EN: specification (vs) |
夏休み | [なつやすみ, natsuyasumi] TH: วันหยุดภาคฤดูร้อนเดือนสิงหาคม EN: summer vacation |
申込 | [もうしこみ, moushikomi] TH: การสมัคร EN: application |
受け止める | [うけとめる, uketomeru] TH: รับไว้ EN: to catch |
指定 | [してい, shitei] TH: การระบุคุณสมบัติเฉพาะ EN: specification |
捕る | [とる, toru] TH: จับตัวไว้ EN: to catch |
識別 | [しきべつ, shikibetsu] TH: การระบุลักษณะเฉพาะ EN: identification |
出版 | [しゅっぱん, shuppan] TH: การตีพิมพ์ EN: publication (vs) |
電気通信大学 | [でんきつうしんだいがく, denkitsuushindaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเดงกิซือชิน EN: University of Electro-Communication |
使用 | [しよう, shiyou] TH: การประยุกต์ใช้ EN: application |
変更 | [へんこう, henkou] TH: แก้ไขใหม่ EN: modification |
散る | [ちる, chiru] TH: กระจัดกระจาย EN: to scatter (e.g. blossoms) |
捕まえる | [つかまえる, tsukamaeru] TH: จับ EN: to catch |
現す | [あらわす, arawasu] TH: ชี้ให้เห็น EN: to indicate |
お知らせ | [おしらせ, oshirase] TH: หมายประกาศ EN: Notification |
物語る | [ものがたる, monogataru] TH: บ่งบอก EN: to indicate |
の | [no] (prt) (See 乃) indicates possessive among other uses (for full details and examples see the main entry (linked)) #1 [Add to Longdo] |
に | [ni] (prt) indicates such things as location of person or thing, location of short-term action, etc.; (P) #2 [Add to Longdo] |
を | [wo] (prt) (1) indicates direct object of action; (2) indicates subject of causative expression; (3) indicates an area traversed; (4) indicates time (period) over which action takes place; (5) indicates point of departure or separation of action; (6) (See が) indicates object of desire, like, hate, etc.; (P) #3 [Add to Longdo] |
は | [ha] (prt) (1) (pronounced わ in modern Japanese) topic marker particle; (2) indicates contrast with another option (stated or unstated); (3) adds emphasis; (P) #4 [Add to Longdo] |
が | [ga] (prt) (1) indicates sentence subject (occasionally object); (2) indicates possessive (esp. in literary expressions); (prt, conj) (3) but; however; still; and; (P) #6 [Add to Longdo] |
た | [ta] (aux-v) (1) (だ after certain verb forms) (See だ・2) indicate past completed or action; (2) (See だ・3) indicates light imperative #7 [Add to Longdo] |
で | [de] (prt) (1) indicates location of action; at; in; (2) indicates time of action; (3) indicates means of action; cause of effect; by; (conj) (4) and then; so; (aux) (5) (alternate form of 〜て used for some verb types) (See て) indicates continuing action; (P) #8 [Add to Longdo] |
て | [te] (aux) (で after certain verb forms) (See で・5) indicates continuing action #9 [Add to Longdo] |
さ | [sa] (suf) (1) -ness (nominalizing suffix indicating degree or condition); (prt) (2) (sentence end, mainly masc.) indicates assertion; (int) (3) (See さあ) come; come now; (P) #15 [Add to Longdo] |
ます | [masu] (aux-v) (1) (pol) (See ませ) used to indicate respect for the listener (or reader); (2) (arch) (hum) used to indicate respect for those affected by the action #19 [Add to Longdo] |
利用 | [りよう, riyou] (n, vs) use; utilization; utilisation; application; (P) #20 [Add to Longdo] |
こと | [koto] (prt) (1) (particle always used at sentence-end) particle indicating a command; (2) (fem) (often as ことね) particle indicating mild enthusiasm; (3) particle indicating a gentle interrogative; (4) (at sentence end as ことよ) particle used to soften a judgment or conclusion #21 [Add to Longdo] |
な | [na] (prt) (1) (sentence end, mainly masc.) indicates emotion or emphasis; (2) (abbr) (from なさい) (used with masu stem verb) command; (3) (used with dictionary form verb) prohibition; (P) #24 [Add to Longdo] |
ない | [nai] (aux-adj) (1) not (verb-negating suffix; may indicate question or invitation with rising intonation); (suf, adj-i) (2) (See 忙しない) emphatic suffix (used after the root of an adjective); (P) #27 [Add to Longdo] |
へ | [he] (prt) (pronounced え in modern Japanese) indicates direction or goal (e.g. "to"); (P) #30 [Add to Longdo] |
か | [ka] (prt) (1) (was written with 歟) indicates question (sentence end); (2) indicates choice, doubt, etc.; (P) #35 [Add to Longdo] |
れる;られる | [reru ; rareru] (aux-v, v1) (1) (れる for 五段 verbs, られる for 一段. Follows the imperfective form of (v5) and (vs) verbs) (See 未然形, 迷惑の受身・めいわくのうけみ) indicates passive voice (inc. the "suffering passive"); (2) (no imperative form. Infrequently used in modern Japanese, e.g. 歩ける is favoured over 歩かれる) (See ら抜き言葉・らぬきことば) indicates the potential form; (3) (no imperative form) indicates spontaneous occurrence; (4) (hon) (no imperative form) used as an honorific for others' actions #41 [Add to Longdo] |
よう | [you] (aux-v) (1) (non-五段 verbs, e.g. 食べよう) indicates speculation; (2) indicates will; (3) indicates invitation #44 [Add to Longdo] |
う | [u] (aux-v) (1) (after the imperfective form of certain verbs and adjectives) indicates speculation; (2) indicates will; (3) indicates invitation #63 [Add to Longdo] |
ば | [ba] (prt) indicates supposition; if ... then; (P) #67 [Add to Longdo] |
だ | [da] (aux) (1) (See です) plain copula; (aux-v) (2) (た after certain verb forms) (See た・1) indicates past or completed action; (3) (See た・2) indicates light imperative; (P) #79 [Add to Longdo] |
家 | [んち, nchi] (suf) (See 政治家) -ist (used after a noun indicating someone's occupation, pursuits, disposition, etc.); -er #90 [Add to Longdo] |
性 | [せい, sei] (n) (1) nature (of a person); (2) sex; (3) gender; (suf) (4) (indicating quality or condition) -ty; -ity; -ness; -cy; (P) #103 [Add to Longdo] |
部 | [べ, be] (n, n-suf) (1) (higher than a 課) department (in an organization); division; bureau; (2) club; (3) part; component; element; (4) category; (ctr) (5) counter for copies of a newspaper or magazine; (P) #104 [Add to Longdo] |
上 | [じょう, jou] (n, adj-no, n-adv, n-suf) (1) above; up; over; elder (e.g. daughter); (2) top; summit; (3) surface; on; (4) before; previous; (5) superiority; one's superior (i.e. one's elder); (6) on top of that; besides; what's more; (7) upon (further inspection, etc.); based on (and occurring after); (8) matters concerning...; as concerns ...; (9) (as ...上は) since (i.e. "for that reason"); (n-suf) (10) (hon) (See 父上) suffix indicating higher social standing; (11) (arch) place of one's superior (i.e. the throne); (12) (arch) emperor; sovereign; shogun; daimyo; (13) (arch) noblewoman (esp. the wife of a nobleman); (P) #111 [Add to Longdo] |
一覧 | [いちらん, ichiran] (n, vs) (1) at a glance; (a) look; (a) glance; (a) summary; (2) (school) catalog; catalogue; (P) #119 [Add to Longdo] |
使用 | [しよう, shiyou] (n, vs) use; application; employment; utilization; utilisation; (P) #123 [Add to Longdo] |
たら(P);ったら(P) | [tara (P); ttara (P)] (conj, prt) (1) indicates supposition; if ... then; when; after; (prt) (2) (usu. ったら) (typically after someone's name) indicates exasperation; (P) #149 [Add to Longdo] |
化 | [か, ka] (suf) (See 化する) action of making something; -ification #151 [Add to Longdo] |
方 | [ほう, hou] (n) (1) direction; way; side; area (in a particular direction); (2) side (of an argument, etc.); one's part; (3) type; category; (4) field (of study, etc.); (5) indicates one side of a comparison; (6) way; method; manner; means; (7) length (of each side of a square); (P) #160 [Add to Longdo] |
元(P);本(P);素;基 | [もと, moto] (n) (1) (usu. 元) origin; source; (2) (esp. 基) base; basis; foundation; root; (3) (also 因, 原) cause; (4) (esp. 素) ingredient; material; (5) (元 only) (somebody's) side; (somebody's) location; (6) original cost (or capital, principal, etc.); (7) (plant) root; (tree) trunk; (8) (See 和歌) first section of a waka; (ctr) (9) (本 only) counter for blades of grass, tree trunks, etc., and for falcons (in falconry); (n) (10) handle (chopsticks, brush, etc.); grip; (P) #170 [Add to Longdo] |
大学(P);大學(oK) | [だいがく, daigaku] (n) (1) (See 総合大学) post-secondary education institution, incl. university, college, etc.; (2) (abbr) (See 大学寮, 国学・こくがく・2) former central university of Kyoto (established under the ritsuryo system for the training of government administrators); (3) (See 四書) the Great Learning - one of the Four Books; (P) #195 [Add to Longdo] |
変更 | [へんこう, henkou] (n, vs) change; modification; alteration; revision; amendment; (P) #196 [Add to Longdo] |
み | [mi] (suf) (1) (also written with the ateji 味) (See 甘み) -ness (nominalizing suffix, esp. of sensory or subjective adjectives); (2) (See 深み) nominalizing suffix indicating location; (3) (See 降りみ降らずみ) (as ...mi ...mi) alternating between ... and ... #210 [Add to Longdo] |
たり(P);だり | [tari (P); dari] (prt) (1) (as …たり…たり, after the ren'youkei forms of multiple verbs) -ing and -ing (e.g. "coming and going"); (2) (used adverbially) doing such things as...; (3) (as …たり…たり at sentence-end, after the ren'youkei forms of a repeated verb) expresses a command; (aux-v) (4) (たり only) (arch) (from とあり) (See たる) (after a noun) to be; (5) (たり only) (arch) (from 〜てあり, after the ren'youkei form of a verb) indicates completion or continuation of an action; (P) #213 [Add to Longdo] |
等 | [ら, ra] (suf) (1) pluralizing suffix (often humble, derogatory or familiar); and others; et alios; and the like; and followers; (2) (See あちら, いくら) or so (rough indicator of direction, location, amount, etc.); (3) (See 清ら) (after the stem of an adjective) nominalizing suffix #221 [Add to Longdo] |
等(P);抔 | [など, nado] (n, n-suf, prt) (1) (uk) et cetera; etc.; and the like; and so forth; (2) (indicating an approximate quote or vague suggestion) or something; (3) (lessening the significance or value of the previous word) the likes of; (P) #221 [Add to Longdo] |
初;初心;産;生 | [うぶ, ubu] (adj-na, n, adj-no) (1) (esp. 初, 初心) innocent; naive; unsophisticated; inexperienced; green; wet behind the ears; (n-pref) (2) (産, 生) birth- #250 [Add to Longdo] |
教育 | [きょういく, kyouiku] (n, adj-no, vs) training; education; (P) #283 [Add to Longdo] |
事 | [じ, ji] (n) (1) thing; matter; (2) incident; occurrence; event; something serious; trouble; crisis; (3) circumstances; situation; state of affairs; (4) work; business; affair; (5) after an inflectable word, creates a noun phrase indicating something the speaker does not feel close to; (n-suf) (6) (See 事・ごと・1) nominalizing suffix; (7) (See 事・ごと・2) pretending to ...; playing make-believe ...; (P) #353 [Add to Longdo] |
にて | [nite] (prt) indicates location of action (formal literary form of "de"); at; in; (P) #355 [Add to Longdo] |
代 | [だい, dai] (n, n-suf) (1) charge; cost; price; (2) (See 台・だい・6) generation; age; reign; (3) (geological) era; (4) (after someone's name or title) a representative of; on behalf of; for (someone); (5) (See 代表電話番号) used after a phone number to indicate that it is a switchboard number; (ctr) (6) (See 台・だい・6) counter for decades of ages, eras, etc.; (7) counter for generations (of inheritors to a throne, etc.); (8) (abbr) (See 代理申請会社) proxy application company #376 [Add to Longdo] |
ね(P);ねえ | [ne (P); nee] (prt) (1) (usu. ね) (sentence end) indicates emphasis, agreement, request for confirmation, etc.; is it so; (int) (2) (usu. ねえ) hey; come on; (P) #384 [Add to Longdo] |
出版 | [しゅっぱん, shuppan] (n, vs) publication; (P) #386 [Add to Longdo] |
発表 | [はっぴょう, happyou] (n, vs) announcement; publication; (P) #389 [Add to Longdo] |
約 | [やく, yaku] (adv) (1) approximately; about; (n) (2) promise; (3) shortening; reduction; simplification; (4) { ling } (See 約音) contraction (in phonetics); (P) #405 [Add to Longdo] |
指定 | [してい, shitei] (n, vs) designation; specification; assignment; appointment; pointing at; (P) #415 [Add to Longdo] |
よ | [yo] (prt) (1) (at sentence end) indicates certainty, emphasis, contempt, request, etc.; (2) (after a noun) used when calling out to someone; (3) (in mid-sentence) used to catch one's breath or get someone's attention; (int) (4) yo!; (P) #441 [Add to Longdo] |
× | [ばつ;ぺけ;ペケ, batsu ; peke ; peke] (n) (1) (See 罰点) x-mark (used to indicate an incorrect answer in a test, etc.); (2) (ペケ only) (uk) impossibility; futility; uselessness #448 [Add to Longdo] |
彼 | [かれ, kare] (n) (1) (uk) (See 何れ・1, 此れ・1, 其れ・1) that (indicating something distant from both speaker and listener (in space, time or psychologically), or something understood without naming it directly); (2) that person (used to refer to one's equals or inferiors); (3) (arch) over there; (4) (あれ only) (col) down there (i.e. one's genitals); (5) (あれ only) (col) period; menses; (int) (6) hey (expression of surprise or suspicion); eh?; (n) (7) that (something mentioned before which is distant psychologically or in terms of time); (P) #451 [Add to Longdo] |
1対1の通信 | [いちたいいちのつうしん, ichitaiichinotsuushin] one to one communication [Add to Longdo] |
2進データ同期通信 | [2しんデータどうきつうしん, 2 shin de-ta doukitsuushin] binary synchronous communication [Add to Longdo] |
あいまい度 | [あいまいど, aimaido] equivocation [Add to Longdo] |
あいまい量 | [あいまいりょう, aimairyou] equivocation [Add to Longdo] |
あふれ表示 | [あふれひょうじ, afurehyouji] overflow indication [Add to Longdo] |
べき乗打切り待機法 | [べきのりうちきりたいきほう, bekinoriuchikiritaikihou] truncated binary exponential back-off [Add to Longdo] |
アソシエーション | [あそしえーしょん, asoshie-shon] application-association, association [Add to Longdo] |
アソシエーション応答側応用エンティティ | [アソシエーションおうとうがわおうようエンティティ, asoshie-shon outougawaouyou enteitei] association-responding-application-entity, association-responder [Add to Longdo] |
アソシエーション起動側応用エンティティ | [アソシエーションきどうがわおうようエンティティ, asoshie-shon kidougawaouyou enteitei] association-initiating-application-entity, association-initiator [Add to Longdo] |
アドレス修飾 | [アドレスしゅうしょく, adoresu shuushoku] address modification [Add to Longdo] |
アドレス変更 | [アドレスへんこう, adoresu henkou] address modification [Add to Longdo] |
アプリケーションサーバ | [あぷりけーしょんさーば, apurike-shonsa-ba] application server [Add to Longdo] |
アプリケーションソフトウェア | [あぷりけーしょんそふとうえあ, apurike-shonsofutouea] application software [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラミングインタフェース | [あぷりけーしょんぷろぐらみんぐいんたふぇーす, apurike-shonpuroguraminguintafe-su] application programming interface (API) [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラム | [あぷりけーしょんぷろぐらむ, apurike-shonpuroguramu] application program [Add to Longdo] |
アプリケーション開発 | [アプリケーションかいはつ, apurike-shon kaihatsu] application development [Add to Longdo] |
アプリケーション層 | [アプリケーションそう, apurike-shon sou] application layer [Add to Longdo] |
アプリケーション部 | [アプリケーションぶ, apurike-shon bu] application part [Add to Longdo] |
アンダフロー表示 | [アンダフローひょうじ, andafuro-hyouji] underflow indication [Add to Longdo] |
インジケータ | [いんじけーた, injike-ta] indicator [Add to Longdo] |
インジケータランプ | [いんじけーたらんぷ, injike-taranpu] indicator light [Add to Longdo] |
インディケータ | [いんでいけーた, indeike-ta] indicator [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] extended memory specification (XMS) [Add to Longdo] |
エラー表示 | [エラーひょうじ, era-hyouji] error indication [Add to Longdo] |
エンドエンド通信パス | [エンドエンドつうしんパス, endoendo tsuushin pasu] end to end communication path [Add to Longdo] |
オーバーフロー表示 | [オーバーフローひょうじ, o-ba-furo-hyouji] overflow indication [Add to Longdo] |
オフィスアプリケーション | [おふぃすあぷりけーしょん, ofisuapurike-shon] office application [Add to Longdo] |
オブジェクト修飾 | [オブジェクトしゅうしょく, obujiekuto shuushoku] object modification [Add to Longdo] |
カタログ | [かたろぐ, katarogu] catalog (vs), catalogue [Add to Longdo] |
カタログドプロシジャ | [かたろぐどぷろしじゃ, katarogudopuroshija] cataloged procedure [Add to Longdo] |
カテゴリ | [かてごり, kategori] category [Add to Longdo] |
カテゴリィ | [かてごりい, kategorii] category [Add to Longdo] |
キー入力検証 | [キーにゅうりょくけんしょう, ki-nyuuryokukenshou] keystroke verification [Add to Longdo] |
キラーアプリケーション | [きらーあぷりけーしょん, kira-apurike-shon] "killer" application [Add to Longdo] |
クレジットカード与信照会用端末 | [クレジットカードよしんしょうかいようたんまつ, kurejittoka-do yoshinshoukaiyoutanmatsu] CAT, Credit Authorization Terminal [Add to Longdo] |
コード化 | [コードか, ko-do ka] encoding (vs), codification [Add to Longdo] |
コード透過形データ通信 | [コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] code-transparent data communication [Add to Longdo] |
コード独立形データ通信 | [コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] code-independent data communication [Add to Longdo] |
コネクションレス型 | [コネクションレスがた, konekushonresu gata] connectionless communication [Add to Longdo] |
コネクションレス型ネットワーク伝送 | [こねくしょんれすがたネットワークでんそう, konekushonresugata nettowa-ku densou] connectionless-mode (network communications) [Add to Longdo] |
コミュニケーション | [こみゅにけーしょん, komyunike-shon] communication [Add to Longdo] |
コミュニケーションシステム | [こみゅにけーしょんしすてむ, komyunike-shonshisutemu] communication system [Add to Longdo] |
コミュニケーション理論 | [コミュニケーションりろん, komyunike-shon riron] communication theory [Add to Longdo] |
コンピュニケーション | [こんぴゅにけーしょん, konpyunike-shon] computer communication [Add to Longdo] |
システム管理応用エンティティ | [システムかんりおうようエンティティ, shisutemu kanriouyou enteitei] systems-management-application-entity [Add to Longdo] |
システム管理応用サービス要素 | [システムかんりおうようサービスようそ, shisutemu kanriouyou sa-bisu youso] systems management application service element [Add to Longdo] |
システム管理応用プロセス | [システムかんりおうようプロセス, shisutemu kanriouyou purosesu] systems management application process [Add to Longdo] |
スタックポインタ | [すたっくぽいんた, sutakkupointa] stack pointer, stack indicator [Add to Longdo] |
ステータスインジケータ | [すてーたすいんじけーた, sute-tasuinjike-ta] status indicater [Add to Longdo] |
スペック | [すぺっく, supekku] specification (abbr) [Add to Longdo] |