76 ผลลัพธ์ สำหรับ *ไบต์*
หรือค้นหา: ไบต์, -ไบต์-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ไบต์(n) BYTE, See also: binary digit eight
กิโลไบต์(n) Kilobyte, See also: Kbyte, Syn. เคไบต์, ขนาดหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
กิโลไบต์(n) kilobyte, See also: 1,024 bytes, Example: ดอสที่ยืดได้นี้สามารถใช้หน่วยความจำได้มากกว่า 640 กิโลไบต์, Thai Definition: จำนวน 1, 024 ไบต์, Notes: (อังกฤษ)

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
albiteแอลไบต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
albite-epidote-hornfels faciesชุดลักษณ์แอลไบต์-เอพิโดต-ฮอร์นเฟลส์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
byteไบต์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
byte codeรหัสไบต์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
byte modeวิธีส่งเป็นไบต์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
byte modeวิธีส่งเป็นไบต์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
byteไบต์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
gigabyteจิกะไบต์, กิกะไบต์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
KB (kilobyte)เคบี (กิโลไบต์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
kilobyte (KB)กิโลไบต์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
kilobyte (KB)กิโลไบต์ (เคบี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Megabyteเมกะไบต์ [คอมพิวเตอร์]
gigabyteกิกะไบต์ หน่วยนับจำนวนไบต์ มีค่าโดยประมาณเท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ ส่วนค่าจริงคือ 1, 073, 741, 824 ไบต์ [คอมพิวเตอร์]
Columbite-Tantaliteโคลัมไบต์-แทนทาไลต์, Example: แหล่ง - พบอยู่ในแหล่งแร่ดีบุก ในจังหวัดตรัง พังงา ภูเก็ต ระนอง สงขลา ชุมพร กาญจนบุรี ราชบุรี อุทัยธานีและเชียงใหม่ ประโยชน์ - ถลุงเอาโลหะโคลัมเบียมและแทนทาลัมซึ่งเป็นธาตุหายาก โลหะโคลัมเบียมใช้เป็นตัวเพิ่มเข้าไปในการผลิตเหล็กกล้า เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในการทำผนังกั้นชั้นหนึ่งในเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู สำหรับโลหะแทนทาลัม นำไปใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ [สิ่งแวดล้อม]
Siderite or Chalybiteซิเดอร์ไรต์ หรีอ คาลีไบต์, Example: แหล่ง - พบในจังหวัดลำปาง พบเป็นเพื่อนแร่ดีบุกที่จังหวัดยะลา พบเป็นเม็ดกลมเล็ก ๆ ได้หลายแห่งในบริเวณลานแร่ดีบุกพบเกิดร่วมกับควอร์ตซ์ ประโยชน์ - เป็นสินแร่เหล็กที่มีความสำคัญเป็นบางแหล่งเช่นที่ เกรทบริเตน และออสเตรีย แต่ที่อื่น ๆ ยังเป็นแหล่งสำคัญทางเศรษฐกิจ [สิ่งแวดล้อม]
Stilbiteสติลไบต์, Example: แหล่ง - พบที่อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ประโยชน์ - เป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษา [สิ่งแวดล้อม]
Byteไบต์, Example: ไบต์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เป็นเลขฐานสองจำนวน 8 หลัก หรือ 8 บิต ที่ใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เพียง 1 ตัว ตามรหัสแอสกี (ASCII) เช่น A B C ก ข ค ง ฯลฯ เป็นต้น หรือจำนวนเต็ม 1 จำนวน (128 ถึง 127 เมื่อคิดเครื่องหมายหรือ 0 ถึง 255 เมื่อไม่คิดเครื่องหมาย) เช่น 01000001 คือ ตัว A หรือ 01100010 คือ ตัว B โดย 8 บิตเท่ากับ 1 ไบต์ ไบต์จึงเป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่าบิทและนิยมใช้เป็นหน่วยวัดความจุในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์หรือสื่อบันทึกข้อมูลด้วย หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ นิยมวัดเป็นกิโลไบต์ (Kilobyte) เมกะไบต์ (Megabyte) กิกะไบต์ (Gigabyte) และเทระไบต์ (Terabyte) ซึ่งหน่วยวัดข้อมูลของคอมพิวเตอร์ มีดังนี้ <br><br style="margin-left: 40px">1 ไบต์ = 8 บิต <br style="margin-left: 40px">1 กิโลไบต์ = 1, 024 ไบต์ <br style="margin-left: 40px">1 เมกะไบต์ = 1, 048, 576 ไบต์ หรือ 1, 024 กิโลไบต์ <br style="margin-left: 40px">1 กิกะไบต์ = 1, 073, 741, 824 ไบต์ หรือ 1, 024 เมกะไบต์ <br style="margin-left: 40px">1 เทระไบต์ = 1, 099, 511, 627, 776 ไบต์ หรือ 1, 024 กิกะไบต์<br> <br>นอกจากนี้ยังมี เพตะไบต์ (Petabyte) เอกซะไบต์ (Exabyte) เซตตะไบต์ (Zettabyte) และยอตตะไบต์ (Yottabyte) หากแต่ในปัจจุบันยังไม่มีสื่อบันทึกข้อมูลใดที่สามารถเก็บข้อมูลได้มากขนาดนั้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
byteไบต์, หน่วยของข้อมูล ที่แทนด้วยตัวเลขฐานสองขนาด 8 บิต ใช้เก็บตัวอักขระ 1 ตัว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ไบต์[bai = bait] (n) EN: byte  FR: octet [ m ] ; byte [ m ]
กิกะไบต์[kikabai] (n) EN: gigabyte  FR: gigabyte [ m ]
กิโลไบต์[kilōbait] (n) EN: kilobyte ; 1, 024 bytes ; Kbyte

Longdo Approved EN-TH
terabyte(n) ใช้ตัวย่อว่า TB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 TB เท่ากับหนึ่งล้านล้านไบต์

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
byte(n) ไบต์ (หน่วยเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต)
kilobyte(n) กิโลไบต์
megabyte(n) เมกะไบต์, See also: หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ มีค่าเท่ากับ 1, 048, 576 ไบต์, Syn. meg
moby(sl) เมกกะไบต์ (หน่วยวัดขนาดความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์)

Hope Dictionary
alphabetic codeรหัสตัวอักษร <คำแปล>เป็นรหัสตัวอักษรที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์แล้วคอมพิวเตอร์สามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำได้ ตัวอักษร 1 ตัวจะใช้รหัสเป็นชุดของบิต 1 ชุดเรียกว่า "ไบต์" (byte) ดู byte ประกอบ
bank switchingการสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้
bit(บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ
byte(ไบทฺ) n. หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่ากับ 1 อักขระหรือ 8 บิต, ข้อมูลจำนวน 8 บิต, ชุดของบิต (bit) ซึ่งคอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมล 1 ชุด คอมพิวเตอร์ต่างชนิดจะจัดชุดของบิตไว้ไม่เท่ากัน เช่น เครื่อง IBM 360 จัดบิตไว้เป็นชุด ๆ ละ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ โดยปกติ ใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำ หรือจานบันทึกว่า มีขนาดเก็บได้กี่ตัวอักษร หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น วัดกันเป็นกิโลไบต์ (kilobyte) เรียกว่า K byte เท่ากับประมาณ 1 พันไบต์ หรือหนึ่งพันตัวอักษร, เมกะไบต์ (mega byte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านไบต์ , กิกะไบต์ (gigabyte) เท่ากับประมาณ 1 พันล้านไบต์ และเทราไบต์ (terabyte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านล้านไบต์เช่น เราอาจพูดว่า ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องนี้มีขนาดความจุ 2 กิกะไบต์ (หมายความว่าสามารถเก็บข้อความได้สองพันล้านตัวอักษร) อนึ่ง หน่วยวัดที่นิยมใช้มีดังนี้ 1 KB (kilobyte) = 1, 024 ไบต์ 1 MB (Megabyte) = 1, 048, 576 ไบต์ (หรือ 1, 024 Kbytes) 1 GB (gigabyte) = 1, 073, 741, 824 ไบต์ (หรือ 1, 024 Mbytes) 1 TB (terabyte) = 1, 099, 511, 627, 776 ไบต์ (หรือ 1, 024 Gbytes)
bytes per inchไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย
cd-rom(ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง
compact diskใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง
compression(คัมเพรส'เชิน) n. การอัด, การบีบ, การกด, ผลจากการถูกอัด, ความกดดัน, ภาวะที่ปริมาตร (ในห้องเครื่อง) ต่ำลงและความกดดันของอากาศสูงขึ้นก่อนการเผาไหม้., Syn. compressure การอัดแน่นหมายถึง นำข้อมูลหรือคำสั่งจำนวนมาก ๆ มาอัดให้แน่น เพื่อ ให้ใช้ที่เก็บในหน่วยความจำ หรือจานบันทึกน้อยลง โดยปกติ จะมีโปรแกรม หรือคำสั่ง ในดอส 6.0 ที่สามารถอัดโปรแกรม ใหญ่ ๆ ที่กินเนื้อที่มาก ๆ ให้เหลือน้อยลง เพื่อจะได้เก็บลงในแผ่นจานบันทึกได้ จานบันทึกชนิดอ่อน floppy disk ในปัจจุบัน มีความสูงสุด 1.44 เมกะไบต์ ฉะนั้น ถ้าแฟ้มข้อมูลใหญ่มาก ก็จะไม่สามารถเก็บลงในแผ่นได้ จึงต้องจัดการอัดให้แน่นเสียก่อน อย่างไรก็ตาม เมื่อจะเรียกมาใช้ จะต้องนำมาคลายออกก่อน เรียกว่า "decompress" การอัดแน่นก็ดี การคลายคืนก็ดี จะต้องมีโปรแกรมเฉพาะจัดทำให้ ในระบบดอส นิยมใช้ PKZip/Unzip ในระบบ Windows 95 โปรแกรมที่นิยมชื่อ WinZip ในระบบยูนิกซ์ ใช้ Gunzipดู expand, decompress เปรียบเทียบ
conventional memoryหน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว)
disketteแผ่นบันทึกหมายถึง จานบันทึกขนาดเล็ก เฉพาะที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะอ่อน จึงเรียกว่า แผ่นบันทึก บรรจุไว้ในซองกระดาษ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับจานบันทึกแม่เหล็ก ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว มีความจุประมาณ 360 เคไบต์ (K byte) หรือ 360, 000 ตัวอักษร และ 1.2 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร บางทีเรียกกันว่า floppy disk นอกจากนั้น มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว บรรจุอยู่ในซองที่แข็งกว่า มีความจุประมาณ 720 เคไบต์ และ 1.44 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสี่แสนตัวอักษร ในปัจจุบัน อาจใช้เก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ทำให้บรรจุข้อมูลได้มาก (เดิมบรรจุข้อมูลได้หน้าเดียว) หรือบางทีอาจทำให้ข้อมูลเบียดอัดมากขึ้น เรียกว่า double density (DD) ชนิดธรรมดาเรียกว่า single density (เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว) และหากเก็บข้อมูลได้หน้าเดียว เรียกว่า single sided (SS) ซึ่งเดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว หากเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า เรียกว่า double sided (DS) แผ่นบันทึกชนิดที่มีความจุพิเศษ คือจุได้ถึง 1.2 ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 5.25 นิ้ว และจุได้ 1.44ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 3.5 นิ้ว เรียกว่า high density (HD) ดู disk ประกอบ
extended memoryหน่วยความจำส่วนเพิ่มหมายถึง หน่วยความจำชุด 80286, 80386 และ 80486 ซึ่งขยายแล้ว จุได้มากว่า 1 เมกะไบต์
file sizeขนาดแฟ้มข้อมูลหมายถึง จำนวนเนื้อที่ที่แฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้มใช้เมื่อเก็บลง ในจานบันทึก โดยปกติ จะวัดกันเป็นไบต์ (byte) , หรือ เคไบต์ (K byte)
floppy diskจานบันทึกอ่อนหมายถึง จานแบน ๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กไว้บนผิวหน้า ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันนี้ มีอยู่สองขนาด คือขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งจะมีปลอก กระดาษหุ้ม กับขนาด 3.5 นิ้วซึ่งจะอยู่ในปลอกพลาสติก ทำให้แข็งและทนกว่า มีความจุในการบันทึกต่าง ๆ กัน ชนิดที่มีความหนาแน่นสองเท่า (double density) จะจุ 360 - 720 K (ประมาณ 360, 000 - 720, 000 ตัว อักขระ) ชนิดความหนาแน่นสูง (high density) จะจุ 1.2 - 1.44 เมกะไบต์ (ประมาณ 1.2 ล้าน - 1.4 ล้านตัวอักขระ) บางทีเรียก diskette เพื่อให้แตกต่างกับจานบันทึกที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า disk มีความหมายเหมือน diskette
gb(จีบี) ย่อมาจากคำว่า gigabyte (อ่านว่า กิกะไบต์) เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 GB เท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ (หรือ 230) หรือ หนึ่งพันล้านตัวอักขระ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำ จานบันทึก หรือ ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ฯ
gigabyte(กิกะไบต์) ใช้ตัวย่อว่า GB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 GB เท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ (หรือ 230 หรือ 10243 หรือ หนึ่งพันล้านตัวอักขระ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำ จานบันทึก หรือ ฮาร์ดดิสก์ ฯ
hard disk(ฮาร์ดดิสก์) จานบันทึกแบบแข็งหมายถึง จานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ใช้เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ๆ โดยปกติจะบรรจุไว้ในกล่องมิดชิด บางที เรียก fixed disk เพื่อให้เห็นแตกต่างกับจานบันทึกขนาดเล็กที่นำไปไหนมาไหนได้ ที่เรียกว่า floppy disk ในปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์เป็นของจำเป็นมาก และมีอยู่ภายในไมโครคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ความจุขนาดปกติจะ มีตั้งแต่ 40 - 1, 000 เมกะไบต์ ยิ่งจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
hdabbr. hearingdistance, hodgkin's disease, heart disease, hemodialysis <คำย่อ>เอชดี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า high density แปลว่า ความหนาแน่นสูง ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ
high capacityความจุสูงใช้เรียกจานบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง (high density) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด ที่มีความหนาแน่นสูง จะมีความจุถึง 1.2 เมกกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู high density ประกอบ
high densityความหนาแน่นสูงใช้ตัวย่อว่า HD (อานว่า เอชดี) ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ
high memoryหน่วยความจำสูงหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจำที่มีขนาดระหว่าง 640 K ถึง 1 เมกะไบต์ดู memory ประกอบ
high memory areaเขตปฏิบัติการหน่วยความจำสูงใช้ตัวย่อว่า HMA หมายถึงขนาดของหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส (เดิมมี 64 K) ที่สามารถนำมาขยายเพิ่มขึ้นให้เกิน กว่า 1 เมกะไบต์ได้
hma(เอชเอ็มเอ) ย่อมาจากคำว่า high memory area (เขตปฏิบัติการหน่วยความจำสูง) หมายถึงขนาดของหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส (เดิมมี 64 K) ที่สามารถนำมาขยายเพิ่มขึ้นให้เกิน กว่า 1 เมกะไบต์ได้
k(เค) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 11, เสียง K ย่อมาจาก kilobyte (กิโลไบต์) มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า KB ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก ฯ 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ
kbย่อมาจาก kilobyte มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า K เฉย ๆ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ
kbs(เคบีเอส) ย่อมาจาก kilobyte per second (กิโลไบต์ต่อวินาที) 1 KBS เท่ากับ 1024 ไบต์ต่อวินาที ใช้เป็นหน่วยวัดอัตราการส่งข้อมูล เช่น ในการสื่อสาร
kiiobyteใช้ตัวย่อว่า K หรือ KB มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า KB ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก ฯ 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ
kilobyte(กิโลไบต์) ใช้ตัวย่อว่า KB มีค่าเท่ากับ 1, 024 (2 ยกกลง 10) ไบต์ เช่น ถ้าพูดว่าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำ 64 เคไบต์ หมายความว่า มีเนื้อที่ในหน่วยความจำ 65, 536 ไบต์ สามารถเก็บตัวอักขระได้ 65, 536 ตัวอักขระ
laser diskจานเลเซอร์เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกและล้างข้อมูล มีความจุมากกว่าจานบันทึกธรรมดามาก (ประมาณ 600 เมกะไบต์ ถึง 1.3 กิกะไบต์) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว ข้อดีอีกข้อหนึ่งก็คือ ทนทานต่อการขูดขีด ในการใช้ ต้องมีหน่วยบันทึกหรือหน่วยขับ (drive) พิเศษ ต่างไปจากหน่วยจานบันทึกธรรมดา ปัจจุบัน นิยมนำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มากขึ้น มักใช้บรรจุโปรแกรมหรือข้อมูลที่ต้องไม่มีการแก้ไข (เช่นพจนานุกรม) ราคาถูกลงมาก และนับว่าคุ้มค่า (มีลักษณะเหมือนจานบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์) มีความหมายเหมือน compact disk
mb(เอ็มบี) ย่อมาจากคำว่า megabyte เท่ากับหนึ่งล้านไบต์ (ตัว B ใหญ่ ใช้แทนคำว่า byte ส่วน b เล็กใช้แทน bit หรือ binary digit) ดู byte ประกอบดู Mb เปรียบเทียบ
meg(เมก) ใช้ตัวย่อว่า M เป็นคำเรียกสั้น ๆ ของเมกะไบต์ (megabyte) หมายถึง จำนวน 1 ล้านไบต์โดยประมาณ จริง ๆ แล้ว 1 เมกะไบต์จะเท่ากับ 1, 024 กิโลไบต์ หรือเท่ากับ 1, 048, 576 ไบต์ คิดคร่าว ๆ เท่ากับ 1ล้านไบต์ (กฎหมายของอเมริกามีกำหนดไว้ชัดเจนว่า 1 เมกะไบต์ เท่ากับ 1 ล้านไบต์เท่านั้น)
megabyte(เมก' กะไบท์) n. 220 ไบต์หรือ 1, 048, 576 ไบต์ : ย่อว่า MB, ใช้ตัวย่อว่า MB (เอ็มบี) เท่ากับหนึ่งบ้านไบต์ ใช้บอกขนาดของหน่วยความจำ เช่น คอมพิวเตอร์ ขนาด 16 เมกะไบต์ หมายความว่า มีขนาดหน่วยความจำ 16 ล้านไบต์ หรือบอกความจุของสื่อ เช่น จานแม่เหล็ก หรือจานบันทึก ว่ามีความจุ 1.2 เมกะไบต์ ก็หมายความว่า เก็บข้อมูลได้ 1.2 ล้านตัวอักษร เป็นต้น
nibble(นิบ'เบิล) { nibbled, nibbling, nibbles } vi., vt. แทะ, ตอด, กินหรือตัดออกเป็นชิ้น เล็ก ๆ n. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, การแทะ, การตอด., See also: nibbler n. นิบเบิล <คำอ่าน>หมายถึง ครึ่งหนึ่งของหนึ่งไบต์หรือเท่ากับสี่บิต เพราะ 8 บิตเท่ากับ 1 ไบต์ ดู byte ประกอบ
numeric codeรหัสตัวเลขเป็นรหัสตัวเลขที่ใช้ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลข 1 จำนวน จะใช้ที่เก็บเป็นชุดของไบต์ 4 ชุด เรียกว่า wordดู word ประกอบ
odd even checkการตรวจสอบภาวะคู่หรือคี่หมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจสอบแต่ละหน่วยข้อมูลไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) หรือเป็นคำ (word) ว่ามีจำนวนบิต (bit) ที่เป็น 1 เป็นจำนวนคู่หรือคี่ โดยการเพิ่มหนึ่งบิตที่เรียกว่า บิตเสริม (parity bit) เข้าที่ท้ายหรือต้นข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้จำนวนบิตที่เป็น 1 เป็นเลขคี่หรือคู่เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน, บันทึก, หรือถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริมก็จะถูกนำมาคำนวณและเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากันก็แปลว่าการอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้อ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน parity check
parity checkการตรวจสอบภาวะเสริมหมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจแต่ละหน่วยข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) คำ (word) ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน บันทึก หรือ ถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริม (parity bit) ก็จะถูกนำมาคำนวณแล้วเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากัน ก็แปลว่า การอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้มีการอ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน odd even check
ram(แรม) n. แกะตัวผู้, กลุ่มดาวแกะ, เครื่องกระทุ้ง, เครื่องกะแทก, เครื่องตอกเสาเข้ม, การยัดเยียดเรื่องราวลงในสมอง., แรมย่อมาจาก random access memory แปลว่า หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่ม หมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ดู ROM เปรียบเทียบ vt. กระทุ้ง, ตอก, กระแทก, ยัด, ยัดเยียด, ดันอย่างแรง., See also: rammer n., Syn. strike, batter, cram
random access memoryหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มใช้ตัวย่อว่า RAM (อ่านว่า แรม) เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่วางขายทั่วไปจะมีแรมประมาณ 1 - 8 เมกะไบต์ ปัจจุบันโปรแกรมสำเร็จใหญ่ ๆ หลายโปรแกรม เจาะจงว่าจะต้องใช้กับคอมพิวเตอร์ที่มีแรมอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ดู read only memory เปรียบเทียบ
random access storageหน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่มเป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) หน่วยเก็บในที่นี้หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด นอกจากนั้นยังหมายถึงจานบันทึก ซึ่งใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเท่ากันหมดเช่นกัน
relative addressเลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น
rounding offการปัดเศษหมายถึง การตัดตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุดออก เพื่อให้ตัวเลขกลม แม้จะมีค่าผิดพลาดบ้าง แต่ก็ควรให้น้อยมากจนสามารถยอมรับได้ เช่น 1, 048, 576 ไบต์ ปัดเศษให้เหลือเพียง 1 ล้านไบต์ เรียกว่า 1 เมกะไบต์ (รับรองตามกฎหมายของสหรัฐ)
segment(เซก'เมินทฺ) n. ส่วน, ตอน, ท่อน, ข้อ, ปล้อง, ซีก, เสี้ยว, ชั้น, กลีบ, ส่วนตัดของรูป vt., vi. แยกหรือแบ่งออกเป็นส่วน (ตอน, ท่อน, ข้อ...) เซ็กเมนต์หน่วยความจำในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด 1 เมกะไบต์ จะถูกแบ่งออก เป็น 16 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า "เซ็กเมนต์ " แต่ละเซ็กเมนต์จะมีความจุ 64 เคไบต์ (เฉพาะชิป (chip) 8088 หรือ 8086), See also: segmentary adj., Syn. part
storage capacityความจุของหน่วยเก็บข้อมูลหมายถึง จำนวนข้อมูลที่หน่วยเก็บ เช่น จานบันทึก ฮาร์ดดิสก์ แถบแม่เหล็ก สามารถรับข้อมูลไปเก็บไว้ได้ โดยปกติจะวัดกันเป็น เคไบต์ (K bytes)
streamer(สทรีม'เมอะ) n. 1. สิ่งที่ไหล, สิ่งที่ปลิวเป็นทาง, ธง, ชายธง, สายที่สะบัดพริ้ว, ลำแสง, การพาดหัวข่าวเต็มหน้า, 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลจากฮารด์ดดิสก์ลงในตลับแถบบันทึก (casette tape) ซึ่งทำได้เร็วมาก และวางใจได้ว่าข้อมูลไม่ศูนย์หาย มีหลายชนิด ตั้งแต่ 20-50 เมกะไบต์ ราคาถูกกว่าฮาร์ดดิสก์, Syn. long
virtual memoryหน่วยความจำเสมือนหมายถึง การเขียนโปรแกรมให้ใช้หน่วยความจำได้มากกว่าที่เครื่องมีอยู่ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำหลัก 8 เมกะไบต์ แต่สามารถใช้ได้เสมือนมีหน่วยความจำ 1 กิกะไบต์ เป็นต้น การที่จะทำเช่นนี้ได้ย่อมขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (operating system) และตัวเครื่อง (hardware) ด้วย
winchester diskจานบันทึกวินเชสเตอร์หมายถึง จานบันทึกแบบหนึ่ง ที่บริษัทไอบีเอ็มสร้างขึ้นใช้เป็นครั้งแรก สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 30 เมกะไบต์ (30 ล้านตัวอักษร) ในแต่ละด้าน คล้ายฮาร์ดดิสก์ในปัจจุบัน กล่าวคือ ไม่สามารถถอดเข้าออกได้ คำ Winchester นั้นอันที่จริงเป็นชื่อถนน ซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์วิจัยของบริษัทที่ผลิตจานบันทึกชนิดนี้

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
columbite[โคลัมไบต์] (n) แร่โคลัมไบต์ (สินแร่ชนิดหนึ่งของธาตุแทนทาลัมในธรรมชาติ)
Terabit(n) หน่วยเทราไบต์ (TB) , 1TB มีค่า 1, 000GB

Time: 1.3616 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/