ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. |
แชร์ | น. การลงหุ้นเป็นจำนวนเงินและตามวาระที่กำหนดแล้วประมูลว่าจะให้ดอกเบี้ยเท่าไร ผู้ลงหุ้นที่ให้ดอกเบี้ยสูงสุดจะได้รับเงินก่อน เวียนไปจนครบจำนวนผู้เล่น, เรียกการลงหุ้นเช่นนั้น ว่า เล่นแชร์. |
ตกเบิก | ก. ได้รับเงินที่ค้างจ่ายย้อนหลัง. |
ตั๋วเงินรับ | น. ตั๋วแลกเงินของฝ่ายเจ้าหนี้ที่จะได้รับเงินตามสัญญา ลงบัญชีในช่องทรัพย์สิน. |
เบี้ยประกันภัย | น. จำนวนเงินที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องชำระให้แก่ผู้รับประกันภัยตามสัญญา เพื่อที่จะได้รับเงินผลประโยชน์หรือค่าสินไหมทดแทนเมื่อตนเสียชีวิต หรือเมื่อได้รับความเสียหายตามชนิดของภัยที่ได้เอาประกันภัยไว้. |
ใบรับ | น. หนังสือที่แสดงว่าได้รับเงินหรือสิ่งของเป็นต้นไว้แล้ว. |
ใบเสร็จ | น. เอกสารที่แสดงว่าได้รับเงินเป็นการถูกต้องแล้ว. |
เปียแชร์ | ก. ประมูลแชร์ว่าจะให้ดอกเบี้ยเท่าใด ผู้ลงหุ้นที่ให้ดอกเบี้ยสูงสุดจะได้รับเงินก่อน เวียนไปจนครบจำนวนผู้เล่น. |
ภาษีเงินได้ | น. ภาษีที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ได้รับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่น ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน. |
หุ้นกู้ | น. ตราสารแห่งหนี้ที่แบ่งเป็นหน่วยแต่ละหน่วยมีมูลค่าเท่ากันและกำหนดประโยชน์ตอบแทนไว้เป็นการล่วงหน้าในอัตราเท่ากันทุกหน่วย โดยบริษัทออกให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเงินหรือผู้ซื้อ เพื่อแสดงสิทธิที่จะได้รับเงินหรือผลประโยชน์อื่นของผู้ถือตราสารดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงตั๋วเงิน. |
reasonable financial provision | ข้อกำหนดให้ได้รับเงินค่าเลี้ยงชีพตามสมควร (จากกองมรดก) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
raise the wind for | (idm) ขอเงิน, See also: ได้รับเงิน |
salaried | (adj) ซึ่งได้รับเงินเดือน, See also: paid |
stack up | (phrv) ได้รับเงิน |
annuitant | (อะนุ' อิเทินทฺ) n. ผู้ได้รับเงินรายปี |
annuity | (อะนู' อิที) n. เงินรายได้เป็นรายปี, สิทธิที่จะได้รับเงินดังกล่าว, Syn. allowance |
grantee | (กรานที') n. ผู้ได้รับสิ่งของ, ผู้ได้รับทุน, ผู้ได้รับเงิน, ผู้รับ |
vicar | (วิค'เคอะ) n. (ศาสนาคริสต์นิกายโบสถ์อังกฤษ) พระ, พระที่ได้รับเงินเดือนเล็กน้อย, ผู้ช่วยบิชอพ, ตัวแทน, ผู้แทน, See also: vicarly adj. vicarship n. |
เมื่อไหร่ | เมื่อไหร่จะได้รับเงิน |