ดาวน์ซินโดรม | (n) Down's syndrome, Example: มารดาที่มีอายุมากขึ้นโอกาสมีบุตรเป็นดาวน์ซินโดรมก็จะเพิ่มขึ้น, Thai Definition: ความผิดปกติทางโครโมโซมที่ทำให้พัฒนาการทางสมองล่าช้า, Notes: (อังกฤษ) |
ดาวน์ซินโดรม | (n) Down's syndrome, Thai Definition: ความผิดปกติทางโครโมโซมที่ทำให้พัฒนาการทางสมองล่าช้า, Notes: (อังกฤษ) |
ไฮโดรคาร์บอน | (n) hydrocarbon, Example: ไฮโดรคาร์บอนทำให้ระคายเคืองนัยน์ตา และคันตามผิวหนัง, Thai Definition: สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจนเท่านั้น, Notes: (อังกฤษ) |
ระเบิดไฮโดรเจน | (n) hydrogen bomb, See also: H - bomb, Example: การค้นพบระเบิดไฮโดรเจนทำให้อากาศ พื้นดิน คน สัตว์ และพืชได้รับอันตรายอย่างมาก, Thai Definition: ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวกันเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก, Notes: (อังกฤษ) |
โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต | (n) sodium hydrogen sulphate, Thai Definition: เกลือกรดชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของแข็ง ละลายน้ำได้ ใช้ประโยชน์เป็นสารทำความสะอาดแผ่นเหล็กก่อนที่จะฉาบด้วยดีบุก, Notes: (อังกฤษ) |
โซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต | (n) sodium hydrogen glutamate, Syn. ผงชูรส, Thai Definition: เกลือกรดชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายน้ำได้ ใช้ประโยชน์ชูรสอาหาร, Notes: (อังกฤษ) |
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต | (n) sodium hydrogen carbonate, Syn. ผงฟู, Thai Definition: เกลือกรดชนิดหนึ่งลักษณะเป็นผงสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำให้ขนมมีลักษณะฟูพรุน เช่น ขนมปัง ใช้เป็นองค์ประกอบเคมีในเครื่องดับเพลิง ทางแพทย์ใช้เป็นตัวลดกรดในกระเพาะอาหาร, Notes: (อังกฤษ) |
โซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร HOOC·(CH2)2·CH(NH2) COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ชูรสอาหาร มักเรียกกันว่า ผงชูรส. |
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHCO3 ลักษณะเป็นผงสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำให้ขนมมีลักษณะฟูพรุน เช่น ขนมปัง ใช้เป็นองค์ประกอบเคมีในเครื่องดับเพลิง ทางแพทย์ใช้เป็นตัวลดกรดในกระเพาะอาหาร. |
โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHSO4 ลักษณะเป็นของแข็ง ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์เป็นสารทำความสะอาดแผ่นเหล็กก่อนที่จะฉาบด้วยดีบุก. |
โดร | (โดน) ก. หอม, มีกลิ่นหอมที่ฟุ้งไป, เช่น กระทึงทองลำดวนโดร รสอ่อน พี่แม่ (กำสรวล). |
โดรณ, โดรณะ | (โดน, โดระนะ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เช่น แขลโขลญทวารจริจรวจ ตรดวจดารโดรณ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), นางจรัลโดรณจรวจจรี เชิงเทินคือคิรี คิรินทรเรืองรอบคอบ (อนิรุทธ์). |
พิโดร | (พิโดน) ก. ฟุ้งไป (ใช้แก่กลิ่น). |
ไพโดร | (-โดน) ก. พิโดร, กลิ่นฟุ้งไป. |
ระเบิดไฮโดรเจน | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. |
ไฮโดรคาร์บอน | (-โดฺร-) น. สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเท่านั้น เช่น มีเทน (CH4) เอทิลีน (C2H4) อะเซทิลีน (C2H2) เบนซีน (C6H6). |
ไฮโดรเจน | (-โดฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๑ สัญลักษณ์ H เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไวไฟมาก เบาที่สุดในบรรดาแก๊สทั้งสิ้น ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย เมทิลแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมทำให้นํ้ามันพืชแข็งตัว. |
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ | (-โดฺร-) น. แก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า เป็นแก๊สพิษ ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและกำมะถัน มีสูตร H2S เกิดขึ้นในธรรมชาติเนื่องจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน, แก๊สไข่เน่า ก็เรียก. |
ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ | (-โดฺร-) น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร H2O2 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค และตัวฟอกจาง. |
ไฮโดรมิเตอร์ | (-โดฺร-) น. เครื่องมือสำหรับวัดความถ่วงจำเพาะของของเหลว. |
กรด ๑ | มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกำหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเจนไอออน (H+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้ |
เกลือกรด | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4). |
เกลือปรกติ | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4). |
คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. |
ไซยาไนด์ | น. เกลือปรกติของกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) เช่น โพแทสเซียมไซยาไนด์ (KCN) โซเดียมไซยาไนด์ (NaCN) เกลือไซยาไนด์ทั้งหมดเป็นพิษอย่างร้ายแรง. |
น้ำ | น. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยนํ้าหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส มีประโยชน์มาก เช่นใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก, โบราณถือว่าเป็น ธาตุ ๑ ในธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นนํ้าหรือเหลวเหมือนนํ้า เช่น นํ้าตา นํ้าปลา นํ้าส้ม |
นิวเคลียส | น. ส่วนใจกลางของอะตอมของธาตุทุกชนิด ส่วนนี้ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ ๒ ชนิด คือ โปรตอน และ นิวตรอน (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน), ส่วนที่สำคัญยิ่งของเซลล์ ลักษณะเหนียวข้นเป็นก้อนประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ อีกหลายชนิด มักอยู่ตอนกลางของเซลล์ที่ยังอ่อนอยู่ และอาจร่นไปอยู่ริมเซลล์เมื่อแก่เข้า. |
นิวตรอน | น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุทุกชนิด ยกเว้นไฮโดรเจนธรรมดา อนุภาคนี้ไม่มีประจุไฟฟ้าและมีมวล ๑.๖๗๔๘๒ x ๑๐-๒๗ กิโลกรัม. |
ปิโตรเลียม | น. นํ้ามันดิบ ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์อื่น ๆ อีกมาก องค์ประกอบไม่แน่นอนแล้วแต่แหล่งที่พบ. |
ผงชูรส | น. เกลือกรดชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต หรือโมโนโซเดียมกลูทาเมต มีสูตร HOOC·(CH2)2·CH(NH2)·COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ใช้ในการปรุงแต่งรสอาหาร. |
ผงฟู | น. สารผสมชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อเปียกนํ้าหรือทำให้ร้อนจะให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต มีสูตร NaHCO3 ปนแป้ง ผสมคลุกเคล้ากับสารอื่นซึ่งมักเป็นกรดทาร์ทาริก มีสูตร HOOC·CHOH·CHOH· COOH หรือโพแทสเซียมไฮโดรเจนทาร์เทรต มีสูตร KHC4H4O6 หรือแคลเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต มีสูตร Ca(H2PO4)2 หรือสารส้ม ใช้ประโยชน์ทำให้ขนมปังและขนมบางประเภทมีเนื้อฟูพรุน. |
มอร์ฟีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H19O3N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๒๕๔ °ซ. มีในฝิ่น เป็นยาเสพติดอย่างแรง ทางแพทย์ใช้เกลือไฮโดรคลอไรด์หรือเกลือแอซีเทต หรือเกลือซัลเฟตของมอร์ฟีนเป็นยาระงับความปวด. |
ยางมะตอย | น. สารผสมประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนมากชนิด และสารอินทรีย์อื่น ๆ ซึ่งเรียกรวม ๆ กันว่า สารบิทูเมน ลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด หรือเป็นกึ่งของแข็ง สีดำ หรือสีนํ้าตาลแก่แกมดำ เกิดตามธรรมชาติ และเป็นผลพลอยได้จากการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ใช้ประโยชน์ราดทำผิวถนนหรือใช้ผสมกับหินขนาดเล็กทำพื้นถนนได้, แอสฟัลต์ ก็เรียก. |
รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. |
รีดักชัน | น. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุไฮโดรเจนมารวมตัวด้วย, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารสูญเสียธาตุออกซิเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น. |
ลิกไนต์ | น. ถ่านหินชนิดหนึ่ง สีนํ้าตาลเข้มหรือสีดำแกมนํ้าตาล มีปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนสูงกว่าถ่านหินธรรมดา ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ แต่ให้ปริมาณความร้อนตํ่ากว่าถ่านหินธรรมดา. |
ลูกโป่งสวรรค์ | น. ลูกโป่งที่อัดด้วยแก๊สไฮโดรเจนทำให้ลอยได้, ลูกสวรรค์ ก็ว่า. |
ลูกสวรรค์ | น. ลูกโป่งที่อัดด้วยแก๊สไฮโดรเจนทำให้ลอยได้, ลูกโป่งสวรรค์ ก็ว่า. |
สมมูลเคมี | น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. |
สัญลักษณ์ | (สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. |
สูตรเคมี | น. หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า ๑ โมเลกุลของสารนั้น ๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม เช่น H2O เป็นสูตรเคมีที่เขียนขึ้นแทนนํ้า เพื่อแสดงว่านํ้า ๑ โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน ๒ อะตอม และธาตุออกซิเจน ๑ อะตอม. |
อนุมูลกรด | น. ส่วนหนึ่งของโมเลกุลของกรดที่ปรากฏอยู่หลังจากที่ไฮโดรเจนไอออนแยกตัวออกไปแล้ว เช่น อนุมูลกรดคาร์บอเนต (-CO3) อนุมูลกรดไฮโดรเจนซัลเฟต (-HSO4). |
ออกซิเดชัน | น. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุออกซิเจนมารวมตัวด้วย หรือทำให้สารสูญเสียธาตุไฮโดรเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนไป. |
อัลตราไวโอเลต | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐-๗เมตร กับ ๕ x ๑๐-๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗-ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7-dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีเหนือม่วง ก็เรียก. |
เฮโมโกลบิน | (-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. |
Hydrogen as fuel | ไฮโดรเจน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hydroponics | ไฮโดรพอนิกส์ หรือการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน, Example: <p>ไฮโดรพอนิกส์ (hydroponics) คือ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยให้รากแช่อยู่ในน้ำที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่ และส่วนลำต้นและส่วนอื่นๆ จะอยู่เหนือระดับสารละลาย โดยมีวัสดุพยุงไว้อย่างเหมาะสม <p> <p>เทคนิคการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์มีการพัฒนาขึ้นหลายรูปแบบโดยแต่ละรูปแบบมีวิธีปลูก วัสดุปลูก และการให้สารละลายธาตุอาหารพืช และอื่นๆ ที่แตกต่างกัน เทคนิคที่นำมาใช้ในเชิงการค้ามีเพียง 6 รูปแบบดังนี้ <p> <p>1. เทคนิคการให้อากาศ เป็นเทคนิคเก่า มีการให้อากาศโดยใช้เครื่องเป่าลมหรืออากาศ การให้ออกซิเจนลงในน้ำจะคล้ายกับการให้อากาศในตู้เลี้ยงปลา เทคนิคนี้ไม่มีการหมุนเวียนของน้ำหรือสารละลาย <p>2. เทคนิคน้ำหมุนเวียน เทคนิคนี้มีหลักการคล้ายเทคนิคการให้อากาศแต่จะต่างกันคือ การให้ออกซิเจนลงในน้ำอาศัยการไหลเวียนของน้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืช <p>3. เทคนิคเอ็นเอฟที (Nutrient Flow Technique, NFT) เป็นเทคนิคที่มีน้ำหรือสารละลายไหลเวียน มีหลักการว่ารากพืชจะต้องแช่อยู่ในรางแบนๆ ที่มีความลาดเอียงร้อยละ 1 - 3 และมีน้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืชไหลผ่านเป็นชั้นแผ่นผิวบางๆ ตามช่วงเวลาที่กำหนด เพื่อรากจะได้รับความชื้นและออกซิเจนที่เหมาะสม <p>4. เทคนิคฉีดพ่นราก เป็นเทคนิคที่มีน้ำหมุนเวียน รากพืชไม่ได้แช่ในน้ำหรือสารละลายแต่ยกลอยขึ้นในตู้ปลูกที่เป็นห้องมืดและรักษาความชื้นด้วยละอองน้ำจากหัวฉีดที่วางเป็นระยะๆ <p>5. เทคนิคปลูกพืชเพื่อเลี้ยงสัตว์ เป็นเทคนิคการปลูกพืชเพื่อใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง จะปลูกในตู้ปลูกที่มีการควบคุมสภาพแวดล้อม ให้น้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืชด้วยน้ำหมุนเวียนโดยการฉีดเป็นละอองฝอยให้ทั่วกระบะหรือใช้วิธีน้ำหยด <p>6. เทคนิควัสดุปลูก เป็นเทคนิคที่นิยมใช้กันมาก มีการลงทุนต่ำกว่า ดูแลง่ายกว่า และสามารถปลูกพืชที่มีอายุยาวได้ดีกว่าการปลูกด้วยเทคนิคที่ใช้น้ำหรือสารละลาย วัสดุปลูก ได้แก่ วัตถุต่างๆ ที่เลือกมาใช้ปลูกพืชแทนการใช้ดินและสามารถทำให้พืชเจริญเติบโตได้เป็นปกติ วัตถุดังกล่าวอาจเป็นอินทรียวัตถุคือ วัตถุที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต เช่น กาบมะพร้าว ชานอ้อย แกลบ หรือเป็นอนินทรียวัตถุคือ วัตถุที่ได้มาจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น กรวด ทราย <p> <p>ข้อดีของการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์คือ <p> <p>1. สามารถปลูกในพื้นที่ที่มีข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ เช่น พื้นที่ที่มีภูเขาสูงชัน เป็นทะเลทราย หรือในพื้นที่ที่มีสภาพดินที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืช เช่น ดินเปรี้ยวจัด เค็มจัด <p>2. ใช้น้ำและปุ๋ยได้อย่างประหยัด ไม่สูญเสียน้ำและปุ๋ยจากการไหลทิ้ง และยังสามารถนำปุ๋ยกลับมาใช้ได้อีก <p>3. ใช้แรงงานในทุกขั้นตอนน้อยกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา <p>4. สามารถปลูกพืชให้หนาแน่นได้มากกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา เพราะมีระบบการให้สารละลายธาตุอาหารที่เพียงพอ นอกจากนี้การปลูกพืชสามารถทำได้ทันทีหลังเก็บผลผลิตโดยไม่ต้องรอการเตรียมแปลงปลูก <p>5. สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ของรากได้ดีกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา ทำให้พืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงทำให้ได้พืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง <p> <p>ข้อเสียของการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์คือ <p> <p>1. มีการลงทุนสูงกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดามาก เช่น ต้องใช้เทคโนโลยีสูง ต้องใช้น้ำที่สะอาด รวมทั้งต้องใช้โรงเรือนที่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้ <p>2. ต้องใช้ประสบการณ์และการดูแลเอาใจใส่มากกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา <p>3. หากแก้ไขการขัดข้องของกระแสไฟฟ้าหรือการชำรุดของเครื่องมือไม่ทันจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตรวมถึงการตายของพืช <p>4. มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในน้ำสูงเพราะโรคพืชโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกิดกับรากสามารถแพร่กระจายได้ง่ายในน้ำ <p>5. ไม่สามารถใช้ปุ๋ยอินทรีย์ได้และยังทำให้พืชขาดจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อพืชบางชนิดในดิน <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> วัฒนา เสถียรสวัสดิ์. (2553). ไฮโดรพอนิกส์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 27, หน้า 132-163). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hydrogen peroxide | ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hydrogenation | ไฮโดรจีเนชัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cap Rock | ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน, ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน ปิดทับอยู่ด้านบนของชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียม และปิดกั้นไม่ให้ไฮโดรคาร์บอนหนีออกมาถึงพื้นผิวดินได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Glucosephosphate dehydrogenase | กลูโคสฟอสเฟต ดีฮัยโดรจีเนส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Glutamate dehydrogenase | กลูตะเมตดีฮัยโดรจีเนส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Butane | ไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอน 4 อะตอม และไฮโดรเจน 10 อะตอม, Example: ปรกติอยู่ในสภาพก๊าซ แต่ทำให้เหลวได้ง่ายเพื่อการขนส่งและจัดเก็บ ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน รถยนต์ และอุตสาหกรรมบางประเภท [ปิโตรเลี่ยม] |
Petroleum | สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example: ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม] |
Conversion Refinery | โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา, โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูง, Example: โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Cracking | กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง, Example: เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking [ปิโตรเลี่ยม] |
Sour Gas | ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example: ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ในปริมาณมากเกินเกณฑ์มาตรฐานการซื้อขาย ซึ่งจะให้มีได้ประมาณ 0.25 กรัม/100 ลูกบาศก์ฟุต หรือ 4 ppm sour gas จะมีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่าและมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่ออุปกรณ์การเจาะและการผลิต โดยทั่วไปจะใช้สาร alkanolamine เพื่อกำจัดธาตุกำมะถันก่อนที่จะนำก๊าซมาใช้หรือก่อนการขนส่ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Sour Oil | น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example: น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ ซึ่งปริมาณขั้นต่ำของกำมะถันที่อนุญาตให้มีได้ในน้ำมัน จะแตกต่างกันไปแล้วแต่โรงกลั่นและกฎระเบียบของแต่ละประเทศ แต่โดยทั่วไปมากกว่า 1% โดยน้ำหนัก [ปิโตรเลี่ยม] |
Sweet Oil or Sweet Gas | น้ำมันที่แยกเอาก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ออก, Example: น้ำมันหรือก๊าซธรรมชาติที่ผ่านขบวนการแยกเอาก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ออกแล้ว [ปิโตรเลี่ยม] |
Hydrocarbon | ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียม, ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) ในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) นอกจากนี้ก็มีสารอื่นๆที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม เช่น กำมะถัน (S) ไนโตรเจน (N) และอื่นๆ, Example: สารที่นอกเหนือจากไฮโดรคาร์บอนถือเป็นสิ่งแปลกปลอมและไม่เป็นที่ต้องการ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมนั้น อาจอยู่ในสภาพของก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ขึ้นอยู่กับจำนวนและการจัดตัวของอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอมจะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอม จะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอมขึ้นไป จะมีสถานะเป็นของแข็ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Hydrogen | ไฮโดรเจน, Example: ธาตุเคมีH และมีเลขอะตอมเท่ากับ 1 ที่อุณหภูมิ (อุณหภูมิห้อง)และความดันมาตรฐาน(ความดันบรรยากาศ) ไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่โมเลกุลมี 2 อะตอม ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟง่าย ไม่เป็นโลหะ และมีอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (วาเลนซ์อิเล็กตรอน) ตัวเดียว เป็นธาตุที่เบาที่สุด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Antimatter | ปฏิสสาร, สสารที่มีอะตอมประกอบด้วยปฏิยานุภาค เช่น อะตอมของแอนติไฮโดรเจนประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีแอนติโปรตอนจำนวน 1 อนุภาค และมีโพซิตรอน 1 อนุภาคโคจรอยู่รอบๆ (ดู antiparticle ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Element | ธาตุ , สารที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีเลขเชิงอะตอมเดียวกัน และไม่สามารถแบ่งแยกเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี เช่น ไฮโดรเจน ตะกั่ว ยูเรเนียม [นิวเคลียร์] |
Radiolysis | การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์] |
Nucleus | นิวเคลียส, แกนกลางของอะตอม มีประจุเป็นบวก และขนาดเล็กประมาณ 10-15 เมตร หรือประมาณ 1 ใน 10, 000 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของอะตอม เป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม ทุกนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ยกเว้นนิวเคลียสของไฮโดรเจนธรรมดาที่มีเพียงโปรตอนหนึ่งอนุภาค [นิวเคลียร์] |
Nuclear bomb | ลูกระเบิดนิวเคลียร์, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของธาตุเบา เช่น ลูกระเบิดไฮโดรเจน หรือจากการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ลูกระเบิดอะตอม, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] |
Isotope | ไอโซโทป, อะตอมของธาตุเดียวกัน ซึ่งในนิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ได้แก่ $ ^{ 1 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 2 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 3 }_{ 1 } H $ ไอโซโทปของธาตุเดียวกัน จะมีสมบัติทางเคมีเหมือนกัน แต่สมบัติทางฟิสิกส์ต่างกัน [นิวเคลียร์] |
ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] |
Hydrogen bomb | ลูกระเบิดไฮโดรเจน, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของไอโซโทปของไฮโดรเจนภายใต้อุณหภูมิสูงมากจากการจุดระเบิดด้วยปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส, Example: [นิวเคลียร์] |
Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] |
Heavy water | น้ำมวลหนัก, น้ำที่มีองค์ประกอบของอะตอมไฮโดรเจนมวลหนัก ต่ออะตอมไฮโดรเจนธรรมดาสูงกว่าสัดส่วนตามธรรมชาติ (1 ส่วนต่อ 6, 500 ส่วน) อย่างมีนัยสำคัญ ใช้เป็นตัวลดความเร็วนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์บางชนิด [นิวเคลียร์] |
Heavy hydrogen | ไฮโดรเจนมวลหนัก, ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่มีเลขมวลเท่ากับ 2 นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอน 1 อนุภาคและนิวตรอน 1 อนุภาค มีชื่อเฉพาะเรียกว่า ดิวเทอเรียม <br>(ดู deuterium, <sup>2</sup>H, D ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Deuterium | ดิวเทอเรียม ไอโซโทปของไฮโดรเจน, นิวเคลียยสประกอบด้วยโปรตรอน และ นิวตรอน อย่างละ 1 อนุภาคมีมวลเป็นสองเท่าของไฮโดรเจน [นิวเคลียร์] |
คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] |
Aeromonas hydrophila | แอร์โรโมแนส ไฮโดรฟิลล่า [TU Subject Heading] |
Andrographis | แอนโดรกราฟิส [TU Subject Heading] |
Andrographoside | แอนโดรกราโฟไซด์ [TU Subject Heading] |
Andrographoside | แอนโดรกราโฟไซด์ [TU Subject Heading] |
Dehydrogenation | การลดไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Dihydroflate reductase | ไดไฮโดรโฟเลท รีดักเทส [TU Subject Heading] |
Eucalyptus citriodor | ยูคาลิป (ยูคาลิปตัส ซิทริโอโดรา) [TU Subject Heading] |
Eudora (Computer file) | ยูโดรา (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Glucosephosphate dehydrogenase deficiency | ภาวะพร่องกลูโคสฟอสเฟต ดีฮัยโดรจีเนส [TU Subject Heading] |
Hydrocarbons | ไฮโดรคาร์บอน [TU Subject Heading] |
Hydrochloric acid | กรดไฮโดรคลอริก [TU Subject Heading] |
Hydrogel | ไฮโดรเจล [TU Subject Heading] |
Hydrogen as fuel | ไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง [TU Subject Heading] |
Hydrogen bomb | ระเบิดไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Hydrogenation | การเติมไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Hydrogenolysis | การแยกสลายด้วยไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
tritium | ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้น, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้นมีเลขมวลเท่ากับ 3 และครึ่งชีวิตเท่ากับ 12.32 ปี ทริเทียมสลายให้อนุภาคบีตาพลังงาน 18 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ใช้เป็นสารกัมมันตรังสีตามรอยในทางการแพทย์และอุตสาหกรรม (ดู hydrogen, H และ deuterium, $^2$H, D ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Nucleopolyhedrovirus | ไวรัสนิวคลีโอโพลิฮีโดร [TU Subject Heading] |
Polycyclic aromatic hydrocarbons | โพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน [TU Subject Heading] |
achondroplasia | (แอคคอนโดรเพล' เซีย) n. ความบกพร่องของการเปลี่ยนจากกระดูกอ่อนเป็นกระดูก ทำให้ร่างแคระ. -achondroplastic adj. |
aerodrome | (แอ' โรโดรม) n. สนามบิน |
aerodrone | (แอ' โรโดรน) n. เครื่องร่อน |
airdrome | (แอร์' โดรม) สนามบิน., Syn. aerodrome |
alkylation | (แอลคิเล' ชัน) chem. การแทนที่อะตอมของไฮโดรเจนในอินทรียสารประกอบด้วย alkyl group, การเติมพาราฟินลงใน olefin |
amide | สารประกอบที่ได้จากแอมโมเนีย โดยการแทนที่อะตอมของไฮโดรเจนด้วย acyl radical หรือจาก acid จาก OH เป็น NH2 |
androgen | (แอน' โดรเจน) n. สารที่กระตุ้นให้มีหรือเพิ่มลักษณะความเป็นชาย. -androgenic adj. (.... masculine characteristics) |
androsphinx | (แอน' โดรสฟิงคซฺ) n., (pl. -sphinxes, sphinges) ตัวสัตว์ประหลาดในนวนิยายกรีก (sphinx) ที่มีหัวเป็นคน |
carburet | (คาร์'บะเรท) vt. ผสมกับคาร์บอนหรือไฮโดรคาร์บอน |
carotene | (แค'ระทีน) n. ไฮโดรคาร์บอนสีแดงที่พบในพืชหลายชนิด |
deuterium | (ดูเทีย'เรียม) n. ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่มีมวลเป็นสองเท่าของมวลไฮโดรเจนธรรมดา, heavy hydrogen |
door | (ดอร์, โดร์) n. ประตู, ทางเข้า, ทางผ่าน, บ้านที่มีประตูริมทาง, วิธีการ -Id. (show someone the door ขอให้ออกไปได้), Syn. doorway, means |
droll | (โดรล) adj. น่าขำ, น่าหัวเราะ, ตลก. n. คนตลก, คำพูดน่าขำ, ตัวตลก, เรื่องน่าขำ., See also: drollness n. drolly adv., Syn. comic |
drone | (โดรน) n. ผึ้งตัวผู้, กาฝาก, เครื่องบินไร้คนขับที่ควบคุมด้วยวิทยุทางไกล, เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, คนที่พูดเสียงที่น่าเบื่อ v. (ทำ) เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, ค |
drove | (โดรฟว) v. อดีตกาลของdrive n. ฝูงสัตว์, ฝูงชน, ที่เจียร์หิน. vt., vi. ต้อนสัตว์เป็นฝูง, เจียร์หิน |
drover | (โดร'เวอะ) n. ผู้ต้อนฝูงสัตว์ไปขาย |
fusion bomb | n. ระเบิดไฮโดรเจน |
gasolene | (แกส'ซะลีน) n.น้ำมันเชื้อเพลิงจากปิโตรเลียม เป็นส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน, See also: gasolinic adj., Syn. petrol |
gasoline | (แกส'ซะลีน) n.น้ำมันเชื้อเพลิงจากปิโตรเลียม เป็นส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน, See also: gasolinic adj., Syn. petrol |
hidrosis | (ไฮโดร'ซิส) n. ภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ., See also: hedrotic adj |
hippodrome | (ฮิพ'พะโดรม) n. สนามแข่งม้าหรืออื่น ๆ |
hydro | (ไฮ'โดร) adj. เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานน้ำ. -n. พลังไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานน้ำ, เครื่องกำเนิดพลังงานดังกล่าว |
hydrofoil | (ไฮ'โดรฟอย) n. เรือปีกน้ำ, ปีกที่ติดกับข้างเรือให้แฉลบน้ำ |
hydrogen | (ไฮ'ดระเจน) n. ธาตุแก๊สไฮโดรเจน |
hydrogen bomb | ระเบิดไฮโดรเจน |
octane | (ออค'เทน) n. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง |
padrone | (พะโดรน') n. นาย, นายจ้าง, เจ้าของ, หัวหน้า, กัปตันเรือ, เจ้าของเรือ, เจ้าของโรงแรม, See also: padronism n. |
reduction | (รีดัค'เชิน) n. การลดลง, การย่อ, การทำให้หด, การทด, การทอน, การทำให้เจือจาง, การเอาออกซิเจนออกจากออกไซด์, การเพิ่มไฮโดรเจนแก่สาร, การได้อิเล็กตรอนของสาร, การลดวาเลนซีของธาตุที่มีประจุบวกในสารประกอบ, See also: reductional adj. -S... |
syndrome | (ซิน'โดรม, ซิน'ดระมี) n. กลุ่มของอาการโรค, See also: syndromic adj. |
valence | (เว'เลินซฺ) n. วาเลนซี่, เป็นตัวเลขแสดงถึงจำนวนอะตอมของไฮโดรเจนที่สามารถรวมกับหนึ่งอะตอมของธาตุอื่น., Syn. valency |
velodrome | (วี'ละโดรม) n. สนามวงกลมมีกำแพงสำหรับแข่งถีบจักรยาน |