บวก | (vt) จู่โจม ปะทะ โจมตี มักใช้กันในกลุ่มผู้เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ บ้างก็ว่ามาจากวงการมวย คือ จังหวะบวกสวน เอาแรงชกของคู่ต่อสู้ที่ชกมาแล้วพลาด สะท้อนสวนกลับไปให้แรงยิ่งขึ้น |
โจม | (v) rush, See also: spring, pounce, Thai Definition: โถมเข้าไป, กระโดดเข้าไป, เอื้อมเข้าไป |
โจม | (n) tent, See also: canopy, howdah, Syn. กระโจม, กูบ, Thai Definition: เครื่องบังแดดฝนทำเป็นซุ้มรวบยอด |
กระโจม | (n) tent, Syn. ซุ้ม, Example: นักเดินป่าต้องกางกระโจมสำหรับนอนในเวลากลางคืน, Count Unit: หลัง, Thai Definition: สิ่งที่ตามปกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลม |
จู่โจม | (v) attack, See also: burst into, intrude, assault, Syn. โจมตี, รุกราน, เล่นงาน, Example: เมื่อตอนชุมนุมประท้วงผมเคยถูกตำรวจจู่โจมเข้าจับถึงกับต้องกระโดดหน้าต่างหนี, Thai Definition: เข้ากระทำการโดยไม่ให้รู้ตัว |
โจมทัพ | (n) herd of war elephants, See also: war-elephant troop, Thai Definition: พลช้างเหล่าหนึ่ง |
กระโจมอก | (v) pull up one's lower garment so as to cover the breasts, See also: wear a skirt to cover her breast, Syn. นุ่งกระโจมอก, Example: สาวๆ ในหมู่บ้านต่างพากันกระโจมอกว่ายน้ำในคลอง |
กระโจมไฟ | (n) light-house, Syn. ประภาคาร, เรือนตะเกียง, Example: กระโจมไฟให้แสงสว่างได้มาก, Count Unit: หลัง |
กระโจมทอง | (n) howdah, Syn. กูบช้าง |
กล่าวโจมตี | (v) attack verbally, See also: assault, strike, verbally, criticize, Syn. จวก, สับ, Example: นายประมวลออกมากล่าวโจมตีรัฐมนตรีคลังเรื่องดอกเบี้ย, Thai Definition: กล่าวถึงความไม่ดีหรือความผิดของผู้อื่นอย่างรุนแรง |
เข้ากระโจม | (v) have the water vapour bath in a small tent in the sun, Example: ป้าแนะนำให้ฉันเข้ากระโจมเพื่อรักษาโรคหืดหอบที่เป็นอยู่ให้ทุเลาลง, Thai Definition: เข้าไปอยู่ในผ้าที่ทำเป็นกระโจมเพื่ออบให้เหงื่อออก, เข้าไปอบควันในกระโจม |
กระโจมกระจาม | (v) dash against, See also: rush, burst, storm, reach over, hurry, Syn. พรวดพราด, Example: โดยไม่ทันดูตาม้าตาเรือเขาก็กระโจมกระจามเปิดประตูเข้ามา, Thai Definition: พรวดพราดอย่างลุกลน (เป็นคำที่ใช้ในทางที่ติ) |
นุ่งกระโจมอก | (v) put on cloth covering the breasts, Example: ผู้หญิงที่อยู่ตามริมคลองมักนุ่งกระโจมอกอาบน้ำกัน, Thai Definition: นุ่งผ้าถุงสูงปิดอก |
การโจมตีทางอากาศ | (n) air strike, Example: การรบเมื่อวานนี้เป็นปฏิบัติการร่วมระหว่างทหารราบสหรัฐกับการโจมตีทางอากาศที่เขตภูเขาในเมืองการ์เดซ, Thai Definition: ใช้กำลังบุกเข้าสู้รบทางอากาศ |
กระโจม ๑ | น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลมเป็นต้น, โจม ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึง สิ่งที่รวมกันเข้าเป็นลอม เช่น กระโจมปืน หรือสิ่งที่ผูกรวบยอดให้รวมกัน เช่น ปากผูกกระโจม หรือผ้าที่ทำเป็นลอมเพื่อเข้าไปอยู่ให้เหงื่อออก เช่น เข้ากระโจม. |
กระโจมไฟ | น. หอสูงซึ่งตามไฟฉายแสงอย่างแรงไว้บนยอดเพื่อใช้บอกสัญญาณในการเดินเรือเป็นต้น, ประภาคาร หรือ เรือนตะเกียง ก็เรียก. |
กระโจมอก | ก. นุ่งผ้าสูงปิดอก. |
กระโจมอก | ว. อาการที่นุ่งผ้าสูงปิดอก ในความว่า นุ่งผ้ากระโจมอก. |
กระโจม ๒ | กูบที่มีด้านเปิดโล่ง ๔ ด้าน, โจม ก็ว่า |
กระโจมทอง | น. เครื่องกันแดดและฝนเปิดโล่ง ๔ ด้าน อยู่บนสัปคับหลังช้างพระที่นั่ง เขียนลายปิดทองรดน้ำ. |
กระโจม ๓ | เครื่องสวมศีรษะอย่างหนึ่ง เช่น กระจอนหูแปงประดับแก้วเครื่องเลิศอุดมกระโจมคำสุบเก้าเกษ (ม. ภาคอีสาน นครกัณฑ์). |
กระโจม ๔ | ก. โถมเข้าไป เช่น ไม่ได้ทีอย่ากระโจมเข้าโรมรัน (รามเกียรติ์ ร. ๒) |
กระโจม ๔ | ข้ามลำดับไป ในความว่า กินข้าวต้มกระโจมกลาง. |
กระโจมกระจาม | ก. พรวดพราดอย่างลุกลน (เป็นคำใช้ในทางที่ติ). |
กินข้าวต้มกระโจมกลาง | ก. ทำอะไรด้วยความใจร้อนไม่พิจารณาให้รอบคอบ มักเป็นผลเสียแก่ตน. |
เข้ากระโจม | ก. เข้าไปอยู่ในผ้าที่ทำเป็นกระโจมเพื่ออบให้เหงื่อออก, เข้าไปอบควันยาในกระโจม. |
จู่โจม | ก. ตรงเข้าไปถึงตัวอย่างรวดเร็ว เช่น สกัดกั้นทันนางกลางโพยม จู่โจมจับเป็นไม่เข่นฆ่า (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนนางลอย) |
จู่โจม | เข้ากระทำการโดยไม่ให้รู้ตัว เช่น ตำรวจจู่โจมจับบ่อนพนัน, โจมจู่ ก็ว่า. |
โจม ๑ | น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลมเป็นต้น |
โจม ๑ | กูบที่มีด้านเปิดโล่ง ๔ ด้าน |
โจม ๑ | กระโจม ก็ว่า. |
โจม ๒ | ก. โถมเข้าไป, กระโดดเข้าไป, เช่น โจมจับ โจมฟัน. |
โจมจับ | น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่เข้าโจมตีข้าศึก, ช้างโจมทัพ ก็เรียก. |
โจมจู่ | ก. เข้ากระทำการโดยไม่ให้รู้ตัว, จู่โจม ก็ว่า. |
โจมตี | ก. ใช้กำลังบุกเข้าตี เช่น โจมตีข้าศึก, โดยปริยายหมายความว่า พูดหรือเขียนว่าหรือกล่าวหาผู้อื่นอย่างรุนแรง เช่น ๒ พรรคการเมืองโจมตีกันและกัน หนังสือพิมพ์โจมตีผู้บริหารที่ทุจริต. |
โจมทัพ ๑ | น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่เข้าโจมตีข้าศึก, ช้างโจมจับ ก็เรียก. |
โจมทัพ ๒ | ก. เข้าตีกองทัพ. |
นุ่งกระโจมอก | ก. นุ่งผ้าถุงสูงปิดอก. |
มุ้งกระโจม | น. มุ้งที่มีรูปร่างอย่างจอมแห ใช้แขวนจากเพดาน ให้ชายด้านล่างคลุมเตียงหรือที่นอนจนถึงพื้นโดยรอบ. |
เรือเร็วโจมตี | น. เรือรบขนาดเล็กระวางขับน้ำประมาณ ๓๐๐-๖๐๐ ตัน มีความเร็วสูงตั้งแต่ ๒๕ นอตขึ้นไป มีอาวุธที่มีอำนาจในการทำลายสูงหลายประเภทขึ้นอยู่กับภารกิจของเรือนั้น ๆ เช่น ปืน อาวุธนำวิถีระยะปานกลางหรือระยะไกล. |
กระบี่ ๑ | น. ลิง เช่น ขุนกระบี่มีกำลังโดดโลดโผน กระโจมโจนจับยักษ์หักแขนขา (รามเกียรติ์ ร. ๒). |
กองหน้า | น. หน่วยหน้า, ตำแหน่งในกีฬาฟุตบอลที่ผู้เล่นมีหน้าที่จู่โจมในการรุกเข้ายิงประตูฝ่ายตรงข้าม. |
กิริเนศวร | (-เนสวน, -เนด) น. ช้างสำคัญ เช่น ทรงนั่งกิริเนศวรโจมทอง (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ขับพล | ก. ยกทัพ, เคลื่อนกองทัพเข้าโจมตีข้าศึก. |
คอมมานโด | น. ทหารหรือตำรวจในกลุ่มที่ได้คัดเลือกเป็นพิเศษ เพื่อฝึกการต่อสู้ประชิดตัว การโจมตีโฉบฉวย จู่โจม และยุทธวิธีข่มขวัญอื่น ๆ, หน่วยรบเฉพาะกิจ. |
โชรม | รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น โชรมป่ายโชรมปืนโชรมโจม โชรมรุกโชรโชรม รเร่งรโรมโรมรุม (อนิรุทธ์). |
ต้าย | น. เสารั้วหรือเสาเขื่อนที่ปักเป็นแนวอย่างกำแพง เช่น ครั้นถึงพฤบพลจับ โจมใหญ่ คุงค่อนต้ายล้มแล้ว คล่าวคลา (ยวนพ่าย). |
ถาโถม | ก. ถลาเข้าไปด้วยกำลังแรง, โจมเข้าไป. |
บก | ย่อยยับหมดกำลัง เช่น โจมปรปักษบกบาง (ตะเลงพ่าย). |
ประภาคาร | น. กระโจมไฟ, เรือนตะเกียง ก็เรียก. (ดู กระโจมไฟ ที่ กระโจม ๑). |
เป้าหมาย | น. บุคคลหรือสิ่งที่ใช้เป็นเป้าแห่งการโจมตี หรือเป็นศูนย์กลางแห่งความใส่ใจหรือสังเกต |
ไพร่พล | น. กำลังคน, กำลังทหาร, หมู่คนในราชการ, เช่น ยกไพร่พลเข้าโจมตี. |
รุกไล่ | ก. ไล่โจมตีให้หนีไป เช่น รุกไล่ข้าศึก. |
เรือบรรทุกเครื่องบิน | น. เรือสำหรับบรรทุกเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ในการโจมตีหรือปราบเรือดำน้ำเป็นต้น มีลานบินและทางสำหรับเครื่องบินขึ้นลงได้ด้วย. |
เรือยกพลขึ้นบก | น. เรือที่ใช้ในการลำเลียงขนส่งทหาร พัสดุ และอาวุธยุทโธปกรณ์ในการรบแบบสะเทินน้ำสะเทินบก มีหลายขนาด เช่น เรือคอมมานโด เรือยกพลจู่โจม. |
เรือนตะเกียง | น. กระโจมไฟ. (ดู กระโจมไฟ ที่ กระโจม). |
โรงมหรสพ | น. สถานที่สำหรับเล่นมหรสพ เช่น งิ้ว ลิเก ละคร ภาพยนตร์ เพื่อเก็บเงินจากคนดู ไม่ว่าจะปลูกเป็นตึก เรือน โรง หรือกระโจมและที่ปลูกกำบังอย่างใด ๆ. |
วับแวม | ว. มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แลเห็นแสงไฟจากกระโจมไฟวับแวม, วับ ๆ แวม ๆ ก็ว่า. |
เห็จ | ก. เหาะ, ไปในอากาศ, เช่น รณบุตรเห็จเข้าโจมฟัน รณาภิมุขผัน หฤทัยเสาะสุดแรง (สมุทรโฆษ). |
อัศวเมธ | น. ชื่อพระราชพิธีเพื่อประกาศพระบรมเดชานุภาพของพระราชาธิราชในวรรณคดีอินเดีย โดยจะทรงปล่อยม้าอุปการพร้อมทั้งกองทัพให้เข้าไปในประเทศต่าง ๆ ถ้าประเทศใดไม่ยอมอ่อนน้อมกองทัพจะเข้าโจมตี เมื่อครบ ๑ ปีแล้วกองทัพก็ยกกลับพร้อมทั้งพระราชาที่ถูกปราบ พระราชาธิราชก็จะจัดพระราชพิธีโดยฆ่าม้านั้นบูชายัญ เรียกว่า พิธีอัศวเมธ. |
polemic | บทโจมตี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
steam tent | กระโจมอบไอน้ำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
second strike | การตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
second strike capability | สมรรถภาพที่จะตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
supratentorial | เหนือกระโจมสมองน้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
oxygen tent | กระโจมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
assault risk | ภัยจากการจู่โจมทำร้าย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
capability, first strike | สมรรถภาพที่จะโจมตีก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
capability, second strike | สมรรถภาพที่จะตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
capacity, first strike | วิสัยสามารถที่จะโจมตีก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
first strike | การโจมตีก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
first strike capability | สมรรถภาพที่จะโจมตีก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
first strike capacity | วิสัยสามารถที่จะโจมตีก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tent, oxygen | กระโจมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tent, steam | กระโจมอบไอน้ำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tent | ๑. กระโจม๒. จุกถ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Pearl Harbor (Hawaii), Attack on, 1941 | การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ (ฮาวาย), ค.ศ. 1941 [TU Subject Heading] |
September 11 Terrorist Attacks, 2001 | การโจมตีโดยผู้ก่อการร้าย 11 กันยายน ค.ศ. 2001 [TU Subject Heading] |
North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Regional Organizations | คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต] |
Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
Arch, Tented | โค้งกระโจม (ของลายนิ้วมือ) [การแพทย์] |
Attack | ถูกโจมตี, ระยะชัก, เข้าจับโจม [การแพทย์] |
Attack, Suppressing | โจมตีการกด [การแพทย์] |
Croup Tent | กระโจมออกซิเจน [การแพทย์] |
Face Tents | กระโจมหน้า [การแพทย์] |
Ischemic Attacks , Transient | การขาดเลือดเฉพาะแห่งจับโจมเป็นพัก ๆ [การแพทย์] |
โจม | [jōm] (n) EN: tent ; canopy ; howdah FR: tente [ f ] ; camp [ m ] |
โจม | [jōm] (v) EN: rush ; spring ; pounce |
โจมทัพ | [jōmthap] (n) EN: herd of war elephants ; war-elephant troop ; elephant batallion |
โจมตี | [jōmtī] (v) EN: attack ; assault ; raid FR: attaquer ; charger ; assaillir |
โจมตี | [jōmtī] (v) EN: criticize ; lambaste FR: critiquer |
จู่โจม | [jūjōm] (v) EN: attack ; burst into ; intrude ; assault ; make a sudden and violent attack |
การโจมตี | [kān jōmtī] (n) EN: attack FR: attaque [ f ] |
การโจมตีทางอากาศ | [kān jōmtī thāng ākāt] (n, exp) EN: air strike FR: attaque aérienne [ f ] |
การซุ่มโจมตี | [kān sum jōmtī] (n, exp) EN: ambush ; ambuscade FR: embusacde [ f ] |
กระโจม | [krajōm] (n) EN: tent ; marquee ; pavilion FR: tente [ f ] ; chapiteau [ m ] |
กระโจมไฟ | [krajōmfai] (n) EN: lighthouse FR: phare [ m ] |
กระโจมอก | [krajōm-ok] (v) EN: wear a skirt to cover her breast |
นุ่งกระโจมอก | [nung krajōm-ok] (v, exp) EN: put on cloth covering the breasts |
ผู้โจมตี | [phū jōmtī] (n, exp) EN: attacker |
ซุ่มโจมตี | [sum jōmtī] (n) EN: ambush FR: embuscade [ f ] ; guet-apens [ m ] ; embûche [ f ] |
ซุ่มโจมตี | [sum jōmtī] (v, exp) FR: tendre une embuscade (contre) |
air raid | (n) การโจมตีทางอากาศ, See also: การโจมตีโดยเครื่องบิน |
ambuscade | (n) การซุ่มโจมตี, Syn. ambush |
ambuscade | (vi) ซุ่มโจมตี, Syn. ensnare, lie in wait for |
ambush | (n) การซุ่มโจมตี, See also: การดักลอบทำร้าย, การโจมตีที่ไม่ได้คาดคิด, Syn. ambuscade |
ambush | (vi) ซุ่มโจมตี (จากตำแหน่งที่ซ่อนอยู่) |
ambush | (vt) ซุ่มโจมตี (จากตำแหน่งที่ซ่อนอยู่) |
assail | (vt) โจมตี, See also: รุกราน, ถล่ม, Syn. attack, assault |
assault | (n) การจู่โจม, See also: การโจมตี, การทำร้ายร่างกาย, Syn. attack, charge, onslaught |
assault | (vi) โจมตี, See also: เล่นงาน, จู่โจม |
assault | (vt) โจมตี, See also: จู่โจม, เล่นงาน, Syn. attack, assail |
attack | (n) การโจมตี, Syn. assault, charge, strike |
attack | (vi) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี |
attack | (vt) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี, Syn. assault, strike |
advance on | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance upon |
advance upon | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance on |
assail with | (phrv) จู่โจมด้วย (มักใช้รูป passive voice), See also: โจมตีด้วย, รุกรานด้วย |
barrage | (n) การโจมตี, See also: การระดมยิงปืน, Syn. bombardment |
barrage | (vt) โจมตีคู่ต่อสู้ไม่หยุด |
batter | (vt) ทุบตีติดต่อกัน, See also: ตีติดต่อกัน, โจมตีติดต่อกัน, Syn. beat |
battery | (n) การทำร้ายร่างกาย, See also: การโจมตี, การต่อสู้ |
beaten | (adj) ถูกโจมตี, See also: พ่ายแพ้ |
besiege | (vt) โอบล้อมด้วยศัตรู, See also: ล้อม, โจมตี, Syn. beleaguer |
blindside | (vt) โจมตีจากทิศทางที่มองไม่เห็น |
blitz | (n) การโจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, Syn. bombardment, attack |
blitz | (vt) โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, See also: ี, Syn. bombard |
blitzkrieg | (n) การโจมตีทางทหารทันทีเพื่อเอาชนะอย่างรวดเร็ว |
bombard | (vt) โจมตีโดยการใช้ระเบิดหรือปืนที่มีอานุภาพร้ายแรง, See also: ถล่ม, กระหน่ำ, จู่โจม, Syn. assail, attack |
bombardment | (n) การโจมตีโดยการใช้ระเบิดหรือปืนที่มีอานุภาพร้ายแรง, Syn. attack |
broadside | (n) การกล่าวโจมตี |
brunt | (n) การโจมตีอย่างรุนแรง, Syn. attack |
bulldog | (vt) จู่โจม |
be at | (phrv) โจมตี |
be at each other's throats | (idm) ทำให้กลัว (ด้วยการกระทำหรือคำพูด), See also: กล่าวโจมตี, ขู่ให้กลัว |
bombard with | (phrv) กระหน่ำด้วย (สิ่งทำลายสูง), See also: โจมตีด้วย สิ่งที่ส่งทำลายสูง |
charge | (vt) โจมตี, See also: จู่โจม, Syn. bear down, attack, assault |
charger | (n) ผู้จู่โจม, See also: ผู้ที่เข้าไปชาร์จตัว ประกัน |
commando | (n) สมาชิกของหน่วยจู่โจม, See also: สมาชิกของหน่วยรบเฉพาะกิจ, สมาชิกหน่วนคอมมานโด, Syn. paratrooper, raider, soldier |
commando | (n) หน่วยจู่โจม, See also: หน่วยรบเฉพาะกิจ, หน่วยคอมมานโด, Syn. army |
counteroffensive | (n) การรุกตอบโต้, See also: การโจมตีตอบโต้ |
call down | (phrv) สั่งให้เริ่มโจมตีทางอากาศ (ทางทหาร) |
charge at | (phrv) พุ่งชน, See also: จู่โจม |
close in on | (phrv) ใกล้เข้ามา (เพื่อจู่โจมหรือโจมตี), Syn. close in, move in on |
come after | (phrv) ไล่ตาม (เพื่อโจมตี), See also: ตามหลัง เพื่อโจมตี, Syn. be after, come for, get after, keep after, make after |
declaim against | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declare for |
declare for | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declaim against |
descend on | (phrv) จู่โจม, Syn. descend upon, swoop on |
descend upon | (phrv) จู่โจม, Syn. descend upon, swoop on |
do over | (phrv) จู่โจมและทำร้าย, Syn. beat up |
draw in one's claws | (idm) หยุดโจมตี |
engage with | (phrv) เข้าโจมตี (ข้าศึก), Syn. join with |
about-ship | (อะเบาท' ชิพ) vt. โจมตี |
airraid | (แอร์' เรด) n. การโจมตีโดยเครื่องบิน (โดยเฉพาะการทิ้งลูกระเบิด) . -air-raid adj. -air raider n. |
all clear | สัญญาณที่ว่าการโจมตีทางอากาศได้ผ่านพ้นไปแล้ว |
ambuscade | (แอมบัสเคด') n., vt., vi. การซุ่มโจมตี, การคอยดักทำร้าย. -ambuscader n., Syn. ambush |
ambush | (แอม' บุช) n., vt. การซุ่มโจมตี, การคอยดักทำร้าย, ที่ที่คอยดักทำร้าย, ที่ซุ่มโจมตี, ผู้ซุ่มโจมตีหรือทำร้าย, ซุ่มโจมตีหรือทำร้าย. -ambusher n. -ambushlike adj., Syn. waylaying, hiding, cover |
assail | (อะเซล') vt. โจมตี, ป้ายร้าย, รุกราน, กล่าวหา, ทำร้าย-assailer, assailment n. |
assailant | (อะเซ'เลินทฺ) n. ผู้โจมตี, ผู้ป้ายร้าย |
assault | (อะซอลทฺ') n. การโจมตีอย่างรุนแรง, การจู่โจม, การข่มขืน, การทำลาย (ชื่อเสียง) -vt. โจมตี, จู่โจม, ทำลาย, ข่มขืน -assaulter n., Syn. attack, abuse, rape |
attack | (อะแทค') vt., vi., n. โจมตี, เข้าตี, ทำร้าย, เล่นงาน, ลงมือทำ, (โรค) เป็น, (ไข้) จับ, ลงมือทำ, เริ่มขึ้น, เริ่มต้น, ข่มขืน, พยายามข่มขืน |
awning | (ออ'นิง) n. กระโจม, ผ้าใบบังแดด, ที่พัก |
barrage | (บะราจฺ') { barraged, barraging, barrages } n. การระดมยิงคุ้มกัน, เครื่องกั้น, ม่านไฟ, การระดมโจมตี, การทะลัก, ปริมาณเหลือล้น, เขื่อน vt. ระดมยิง, Syn. artiller |
bash | (แบช) vt. โจมตี, ตีแรง, ทุบบู้บี้, ทุบเสียงดัง n. การตีอย่างแรง, การสโมสรหรือการเลี้ยงที่รื่นเริง, Syn. wallop |
batter { battered | vt. ทุบติดต่อกัน, ตีติดต่อกัน, โจมตีติดต่อกัน, ใช้จนเสีย, นวด - n. ผู้ตี, ผู้นวด, มือตีเบสบอล (หรือคริกเก็ต) |
battering | vt. ทุบติดต่อกัน, ตีติดต่อกัน, โจมตีติดต่อกัน, ใช้จนเสีย, นวด - n. ผู้ตี, ผู้นวด, มือตีเบสบอล (หรือคริกเก็ต) |
batters } | vt. ทุบติดต่อกัน, ตีติดต่อกัน, โจมตีติดต่อกัน, ใช้จนเสีย, นวด - n. ผู้ตี, ผู้นวด, มือตีเบสบอล (หรือคริกเก็ต) |
battery | (แบท'เทอรี) n. แบตเตอรี่, หม้อกำเนิดไฟฟ้า, กองร้อยทหารปืนใหญ่, ชุดปืนเรือ, กลุ่มอาวุธยุทธภัณฑ์, การทุบตี, การทำโจมตี, Syn. troop |
beacon | (บี'เคิน) n. กระโจมไฟ, สัญญาณไฟ, ดวงประทีป, เครื่องเตือน, กองไฟสัญญาณ vt. เตือน, เป็นสัญญาณให้, นำทาง, เป็นสัญญาณไฟให้, Syn. warning |
beaten | (บีท'เทิน) adj. ถูกโจมตี, พ่ายแพ้, เก่า, ถูกเหยียบจนเรียบ, หมดเรี่ยวแรง, เป็นผงหรือที่ตีแล้ว, Syn. defeated, Ant. optimistic |
belt | (เบลทฺ) { belted, belting, belts } n. เข็มขัด, สายคาดเอว, สาย, ทางโค้ง, ทางรถไฟฟ้า, ดื่มอึกใหญ่, การโจมตี, แนว, เทือก vt. รัดเข็มขัด, คาดสาย, ใช้สายคาด, ใช้เข็มขัดหรือสายคาดตี, ตี, ร้อง (เพลง) เสียงดัง, Syn. girdle |
beset | (บิเซท') { beset, beset, besetting, besets } vt. โจมตีทุกด้าน, กลุ้มรุม, รบกวน, ห้อมล้อม, See also: besetment n. ดูbeset besetter n. ดูbeset, Syn. annoy |
besetting | (บิเซท'ทิง) adj. ซึ่งโจมตีหรือกลุ้มรุมอย่างไม่หยุดยั้ง |
besiege | (บีซีจฺ') { besieged, besieging, besieges } vt. ล้อม, โอบล้อม, ล้อมโจมตี, กลุ้มรุมด้วย (คำถาม/งาน/การรบกวนหรืออื่น ๆ), See also: besiegement n. besieger n. |
biff | (บิฟ) n. การชก, การต่อย, การโจมตี-vi ชก, ต่อย, ตี, Syn. blow |
blast | (บลาสทฺ) { blasted, blasting, blasts } n. การระเบิด, การเป่าแตร, การเป่านกหวีด, เสียงระเบิด, เสียงอึกกระทึก, ลมแรงจัด, ลมอัดเข้าไปในเตา, คลื่นกระทบ, ความเร็วสุดขีด, กำลังสุดขีด vt. ทำให้เกิดเสียงดังมาก, เป่าแตร, ทำให้เหี่ยว, ทำลาย, ระเบิด, ส่งลมเข้าไป, โจมตี, วิจารณ์อย่างเผ็ |
blitz | (บลิทซ) { blitzed, blitzing, blitzs } n. การรบแบบสายฟ้าแลบ, การทิ้งลูกระเบิดอย่างดุเดือด, การโจมตีอย่างรวดเร็ว vt. โจมตีอย่างรวดเร็ว, Syn. attack |
bombard | (บอมบาร์ด') vt. ระดมยิง, ยิงกระหน่ำ, ทิ้งระเบิด, โจมต, See also: bombarder, bombardment n. |
bricole | n. การโจมตีทางอ้อม, ศรหินโบราณ |
broadside | n. ข้างเรือทั้งหมด, ปืนเรือทั้งหมดของข้างหนึ่งของเรือ, การโจมตีหรือวิจารณ์อย่างรุนแรง, ยกหน้าเดียว adj., vi. เอาด้านกว้างกว่าเข้าหา, Syn. volley |
brunt | (บรันทฺ) n. แรงกดดันที่หนักที่สุด, ส่วนหนักที่สุดที่ได้รับหรือกระทบ, การโจมตีอย่างรุนแรง |
cannonade | (แคน'นะเนด') { cannonaded, cannonading, cannonades } n. การระดมยิงด้วยปืนใหญ่ . vt. vi. โจมตีด้วยปืนใหญ่ |
charge | (ชาร์ดจฺ) vt. บรรจุ, ประจุ, อัดไฟ, ทำให้เต็ม, วางเงื่อนไข, สั่ง, ตักเตือน, แนะนำ, กล่าวหา, ฟ้องร้อง, เรียกเก็บเงิน, โจมตี, เป็นภาระ บันทึกเป็นหนี้ -vi. พุ่งเข้าไป, พุ่งไปข้างหน้า, โจมตี, เรียกเก็บ, หมอบลง (ตามคำสั่ง) -n. การอัดประจุไฟฟ้า, กระแสไฟที่อัด, ปริมาณดินระเบิด, ภาระ |
commando | (คะมาน'โด) n. หน่วยจู่โจมที่ได้รับการฝึกเป็นพิเศษ, หน่วยคอมมานโด, สมาชิกของหน่วยดังกล่าวนี้ -pl. commandos, commandoes |
counteroffensive | (เคา'เทอะออฟเฟน'ซิฟว) n. การรุกกลับ, การโจมตีข้าศึกที่กำลังรุกเข้ามา, สงครามตอบโต้ |
coup de grace | (ดุคะกราส') n., Fr. การโจมตีให้ตายทันที, การโจมตี, ให้ได้ชัยชนะอย่างชัดเจน |
descend | (ดิเซนดฺ') vi. ตก, ตกลงมา, สืบสายโลหิต, ตกเป็นสมบัติของ, โจมตี, ถ่อมตัว, ลดเกียรติ. vi. เคลื่อนลง, นำไปสู่ |
descent | (ดิเซนทฺ') การตกลงมา, การเคลื่อนต่ำลงมา, การเอียงลาดลงมา, ทางลง, ทางเนิน, การโจมตีอย่างกะทันหัน, สายโลหิต, การสืบเชื้อสาย, การถ่อมตัว, การลดเกียรติ, Syn. slope, fall |
encampment | n. การตั้งค่าย, การปักกระโจม, ค่าย, ที่พัก, Syn. camp |
envelopment | (เอนเวล'เลิพเมินทฺ) n. การหุ้มห่อ, สิ่งหุ้มห่อ, การโจมตีปีกของแนวข้าศึก |
exposed | (อิคซฺโพซดฺ') adj. ซึ่งเปิดออก, ซึ่งไม่มีที่ปิดบัง, ไม่มั่นคง, ซึ่งอาจถูกโจมตีได้, See also: exposedness n. |
feint | (เฟนทฺ) n. การโจมตีแบบกลลวง, การเสแสร้ง. vt. โจมตีแบบกลลวง, เสแสร้ง |
forage | (ฟอ'ริจฺ) n. อาหารปศุสัตว์, การหามาซึ่งอาหารปศุสัตว์, การออกหาเสบียงอาหาร, การตรวจค้น. vi. หาอาหาร, ตรวจค้น, ค้นหา, จู่โจม. vt. ค้นหา, หาอาหาร, จู่โจม, ปล้นสะดม, See also: forager n., Syn. search |
foray | (ฟอ'เร) n. การจู่โจมอย่างรวดเร็ว (มักเพื่อปล้นสะดม) , การโจมตีอย่างรวดเร็ว. vi. โจมตี, จู่โจม, ปล้นสะดม, ทำลาย, ล้างผลาญ -forayer n., Syn. raid, invade, destroy |
foul | (เฟาล์) adj. เหม็น, เน่า, สกปรก, เปรอะเปื้อน, เสีย, ชั่ว, ชั่วร้าย, ร้ายกาจ, เลวร้าย, น่าเกลียด, น่าชัง, เลวทราม, ทารุณ, ลามก, ไม่เหมาะ สำหรับการเดินเรือ, ผิดกติกา, ผิดกฎ, ยุ่ง, พันกันยุ่ง, ตรงกันข้าม adv. หยาบคาย, เลว, เลวทราม, ผิดกติกา -Phr. (fall foul of ชนกับ, ประทะกับ, โจมต |
fusilade | (ฟิว'ซะเลด, -ลาด) n. การระดมยิงพร้อมกัน, การปล่อยออกมาอย่างโหมระดม. vt. ระดมยิง, โหมระดม, โหมโจมตีติดต่อกัน |
heartland | (ฮาร์ท'แลนด์) n. ดินแดนส่วนกลางที่ยากแก่การถูกโจมตีมักมีความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง |
hit | (ฮิท) vt. ตี, ต่อย, ชก, โจมตี, ฟัน, แทง, ชน, ตำ, ทำให้ได้รับ, ทำให้โดน, ตีได้สำเร็จ, ร้องขอ, บรรจุบังเอิญพบ, มาถึง, ตกลง, เดาถูก, เริ่มเดินทาง, ถูกใจ, ถูกรสนิยม, ปะทะ, ชน, ปรากฎขึ้น., See also: hit it off เข้ากันได้กับ n. การปะทะ, การชน, การตี, การต่อย, การชก คำที่มีค |
incursion | (อินเคอ' เชิน) n. การบุกรุก, การโจมตี, การรุกล้ำ, Syn. inroad, raid, attack |
incursive | (อินเคอ' ซิฟว) adj. บุกรุก, โจมตี, รุกล้ำ (making incursions) |
inroad | (อิน'โรด) n. การรุกล้ำ, การบุกรุก, การจู่โจม, Syn. incursion |
insult | (อิน'ซัลทฺ) vt., ดูถูก, สบประมาท, โจมตี, จู่โจม. n. การสบประมาท, การโจมตี, สิ่งที่สบประมาท, บาดแผล., See also: insulter n. insultingly adv., Syn. abuse |
AIR air raid | (n) การโจมตีทางอากาศ |
ambush | (n) การซุ่มทำร้าย, การดักโจมตี, ที่ซุ่ม |
ambush | (vt) ดักโจมตี, ดักทำร้าย, ซุ่มทำร้าย |
assail | (vt) ทำร้าย, ก้าวร้าว, ด่าว่า, โจมตี, รุกราน, ต่อสู้ |
assailant | (n) ผู้ทำร้าย, ผู้โจมตี, ผู้ป้ายร้าย |
assault | (n) การเข้าทำร้าย, การจู่โจม, การโจมตี, การข่มขืน |
assault | (vt) ทำร้าย, โจมตี, จู่โจม, ข่มขืน |
attack | (vt) ต่อสู้, โจมตี, จู่โจม, ทำร้าย, เล่นงาน |
batter | (vt) โจมตี, ทำลาย, ปะทะ |
beacon | (n) ไฟสัญญาณ, ประภาคาร, กระโจมไฟ, ดวงประทีป |
beset | (vt) โจมตี, กลุ้มรุม, จู่โจม, ห้อมล้อม, ทำให้จนแต้ม |
biff | (n) การต่อย, การชก, การโจมตี |
biff | (vt) ต่อย, ชก, โจมตี, ตี |
blitz | (n) การโจมตีแบบสายฟ้าแลบ |
blow | (n) การตี, การชก, การต่อย, การโจมตี, เสียงพัด |
bombard | (vt) ระดมยิง, กระหน่ำยิง, ทิ้งระเบิด, โจมตี |
bombardment | (n) การระดมยิง, การทิ้งระเบิด, การกระหน่ำยิง, การโจมตี |
commando | (n) หน่วยจู่โจม, หน่วยคอมมานโด |
descend | (vi) ลงมา, สืบทอด, สืบสายเลือด, ตกลงมา, เข้าโจมตี |
encamp | (vi) ตั้งค่าย, ตั้งแคมป์, ตั้งที่พัก, พักแรม, ตั้งกระโจม |
flank | (vt) โจมตีทางปีก, ขนาบข้าง, โอบปีก |
forage | (vt) หาอาหาร, ค้น, ปล้นสะดม, จู่โจม |
foray | (n) การปล้นสะดม, การจู่โจม, การโจมตี, การล้างผลาญ |
foray | (vt) ปล้นสะดม, จู่โจม, โจมตี, ทำลายล้าง, ล้างผลาญ |
fusillade | (vt) ระดมยิง, กระหน่ำยิง, ระดมโจมตี |
incursion | (n) การบุกรุก, การจู่โจม, การโจมตี |
inroad | (n) การโจมตี, การบุกรุก, การรุกราน |
irruption | (n) การบุกรุก, การระเบิด, การไหลบ่า, การจู่โจม |
lead | (n) ตะกั่ว, ลูกปืน, ตัวอย่าง, การนำ, การเล็งปืน, การโจมตี |
leap | (vi) กระโดด, กระโจน, เผ่น, ข้าม, เต้น, จู่โจม |
lighthouse | (n) กระโจมไฟ, ประภาคาร |
onset | (n) การบุกรุก, การโจมตี, การจู่โจม, การเริ่มต้น |
onslaught | (n) การโจมตี, การบุกรุก, การจู่โจม |
outflank | (vt) เป็นต่อ, มีชัย, รุก, จู่โจม, โอบล้อม |
paroxysm | (n) การกำเริบ, การปะทุ, การโจมตีกะทันหัน |
pavilion | (n) ปะรำ, พลับพลา, กระโจม, ศาลา |
pelt | (vt) โยน, ขว้างปา, เขวี้ยง, รุกราน, ระดมยิง, โจมตี |
raid | (n) การจู่โจม, การโจมตี, การตรวจค้น, การเข้าปล้น |
raid | (vt) จู่โจม, โจมตี, ตรวจค้น, เข้าปล้น |
raider | (n) เครื่องบินจู่โจม, ผู้โจมตี, ผู้ตรวจค้น, ผู้เข้าปล้น |
rush | (n) การจู่โจม, ความเร่งรีบ, ความกุลีกุจอ, การพรวดพราด, ต้นกก |
rush | (vi, vt) โจมตี, เร่ง, ผลักไส, พรวดพราด, กรูกันไป, ยื้อแย่ง, ถลัน |
shock | (vt) ทำให้สะเทือน, ทำให้สะดุ้ง, กระตุก, ตะลึง, จู่โจม |
storm | (vi, vt) ระดมยิง, เข้าโจมตี, โหมกระหน่ำ, พูดรุนแรง |
strike | (n) การนัดหยุดงาน, การตี, การลดลง, การโจมตี, การกระตุก |
strike | (vi) โจมตี, นัดหยุดงาน, ทุบ, รื้อถอน, ยกเลิก, ชักธงขาว |
surprise | (n) การโจมตี, ความประหลาดใจ, การจู่โจม, เรื่องแปลก |
surprise | (vt) โจมตี, ทำให้ประหลาดใจ, จู่โจม, ทำให้ตื่นใจ |
swoop | (vi) โฉบ, โผลงมา, จิกหัว, ถา, จู่โจม, โจมตี |
tabernacle | (n) ศาลเจ้า, ปะรำ, กระโจม, ห้องพระ |
army ranger | (n) หน่วยจู่โจม (กองทัพบกสหรัฐ) หรือทับศัพท์ว่า เรนเจอร์ |
brush house | (n) กระท่อม, กระโจม, หรือบ้านที่ทำจากกิ่งไม้ |
brush house | (n) กระท่อม, กระโจม, หรือบ้านที่ทำจากกิ่งไม้, See also: brush, house |
glamping | (n) การพักแรมในกระโจมที่หรูหราและสะดวกสบายกว่าปกติ ('glamorous'+'camping') |
pre-emptive | (adj) ชิงโจมตีก่อน ชิงลงมือก่อน exp. pre-emptive war |
raid row | (phrase) ดาหน้าเข้าจู่โจม, เรียงแถวเข้าหา, เดินหน้าเข้าหา |
stand down | (n) การหยุดการโจมตี(ปฏิบัติการ)ชั่วคราว |
warison | [\WAIR-uh-sun\] (n) เสียงแตรสั่งโจมตี |
ตุ๋ย | (vt, slang) กิริยาอย่างหนึึ่งหมายถึงการกระทำจากข้างหลัง เช่นกิจกรรมทางเพศของพวกเกย์ หรือกรณีในเกมเช่น DotA หมายถึงการซุ่มโจมตีโดยอีกฝ่ายไม่ทันระวังตัว, See also: Tui, DotA, Noob, Grean, Syn. Backdoor |
奇襲 | [きしゅう, kishuu] ลอบโจมตี |
襲う | [おそう, osou] TH: เข้าโจมตี |
撃つ | [うつ, utsu] TH: โจมตี EN: to attack |
攻める | [せめる, semeru] TH: โจมตี EN: to attack |
Luftangriff | (n) |der, pl. Angriffe| การโจมตีทางอากาศ ในสงคราม |
Bombenanschlag | (n) |der, pl. Bombenanschläge| การโจมตีทางอากาศด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด |
bewaffnet | (adj) mit etw. bewaffnet ที่พกด้วยอาวุธหนึ่งๆ เช่น Mit einem Messer bewaffnet ging er auf mich los. = เขา(ซึ่งพกอาวุธด้วยมีดหนึ่งด้าม)ตรงเข้าจู่โจมฉัน |
Überfall | (n) |der, pl. Überfalle| การโจมตี, การทำร้าย เช่น Sind es auch solche Überfalle, bei welchen Mehrere auf ein einzelnes Opfer einschlagen, es misshandeln und demütigen?, Syn. Angriff |