แร่ธาตุ | น. แร่. |
กาฝาก ๑ | น. ชื่อพืชเบียนหลายชนิดในหลายวงศ์ที่อาศัยเกาะดูดนํ้าและแร่ธาตุ หรือสารอาหารที่สังเคราะห์แล้วจากพรรณไม้ที่อาศัย ส่วนใหญ่มักใช้เรียกไม้พุ่มที่อาศัยเกาะเบียนไม้ต้นชนิดต่าง ๆ ในวงศ์ Loranthaceae, Santalaceae และ Viscaceae. |
ทรัพยากรธรณี | น. ทรัพย์อันอยู่ใต้แผ่นดิน เช่น แร่ธาตุ นํ้ามัน. |
บ่อน้ำร้อน | น. บ่อที่มีนํ้าผุดขึ้นมาจากใต้ดิน และมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ เกิดจากนํ้าไหลซึมซาบลงไปใต้ดินลึกมาก เมื่อไปกระทบอุณหภูมิสูง ทำให้นํ้าร้อนจัดขึ้น และขยายตัวหรือกลายเป็นไอเกิดแรงดันตัวเองขึ้นมาตามรอยแยกของชั้นหินและดินขึ้นมาสู่ผิวดิน ทั้งละลายเอาแก๊ส แร่ธาตุ และสารเคมีที่มีอยู่ตามชั้นดินต่าง ๆ ติดมาด้วย ที่พบเสมอมักจะเป็นธาตุกำมะถันและแก๊สไข่เน่า นํ้าในบ่อนํ้าร้อนบางแห่งจึงอาจมีสมบัติทางยาได้. |
เปลือกโลก | น. ส่วนของโลกที่เป็นของแข็งหุ้มห่ออยู่รอบนอกสุด ประกอบด้วย หิน ดิน และแร่ธาตุต่าง ๆ. |
เภสัชเวท | (เพสัดชะเวด) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยยาที่ได้จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุโดยตรง หรือสารที่เกิดจากสิ่งเหล่านั้น, วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยสมุนไพร. |
โภชนาหาร | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. สารองค์ประกอบสำคัญของอาหารที่ทำให้อาหารมีคุณค่าในการบำรุงเลี้ยงร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํ้า. |
สมุนไพร | (สะหฺมุนไพฺร) น. ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และแร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุงร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ เช่น กระเทียม นํ้าผึ้ง รากดิน (ไส้เดือน) เขากวางอ่อน กำมะถัน ยางน่อง โล่ติ๊น. |
Minerals in animal nutrition | แร่ธาตุในโภชนาการสัตว์ [TU Subject Heading] |
Tooth demineralization | การสูญเสียแร่ธาตุของฟัน [TU Subject Heading] |
Trace elements | แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย [TU Subject Heading] |
Mineralization | การเปลี่ยนเป็นแร่ธาตุ, Example: กระบวนการที่องค์ประกอบธาตุในอินทรีย์สารที่ ยังมีชีวิตอยู่หรือตายแล้ว เปลี่ยนไปเป็นสารอนินทรีย์ซึ่งสามารถถูกใช้ในวัฏจักรของสิ่งมีชีวิต [สิ่งแวดล้อม] |
Demineralization | การลดแร่ธาตุ, Example: การลดปริมาณแร่ธาตุในน้ำโดยวิธีการทางกายภาพ ทางเคมี หรือทางชีววิทยา [สิ่งแวดล้อม] |
Assimilation | การยอมรับสภาพความเป็นจริงของสิ่งแวดล้อม, การหมักแร่ธาตุ, การปรับเข้า, กระบวนการรับความรู้สึกด้วยประสาททั้ง 5 [การแพทย์] |
Bone Mineral Content | แร่ธาตุในกระดูก [การแพทย์] |
Daily Allowance, Recommended | แร่ธาตุสำคัญที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน [การแพทย์] |
Elements, Acid Forming | แร่ธาตุสร้างกรด [การแพทย์] |
Elements, Essential | โลหะที่จำเป็น, แร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย, แร่ธาตุที่จำเป็น [การแพทย์] |
Elements, Essential Trace | แร่ธาตุพวกที่จำเป็น [การแพทย์] |
Elements, Major | แร่ธาตุหลัก [การแพทย์] |
Elements, Non-Essential | แร่ธาตุที่ไม่จำเป็น [การแพทย์] |
mineral salts | แร่ธาตุ, สารอาหารประเภทที่ไม่ให้พลังงานแต่มีความจำเป็นสำหรับกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกาย เช่น เกลือของโซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
fertilizer | ปุ๋ย, สารซึ่งประกอบด้วยแร่ธาตุที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mixed fertilizer | ปุ๋ยผสม, ปุ๋ยเคมีที่ได้จากการผสมแร่ธาตุอาหารหลักของพืชตามอัตราส่วนต่าง ๆ กัน เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต มีธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
earth crust | เปลือกโลก, ชั้นนอกสุดของโลกมีความหนาโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร ประกอบด้วยหิน ดิน และแร่ธาตุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
humus | ฮิวมัส, ซากพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังทับถมกันปะปนอยู่ในดิน ทำให้ดินมีแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์เหมาะแก่การเพาะปลูก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
natural resources | ทรัพยากรธรรมชาติ, สิ่งที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่ในธรรมชาติ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในการดำรงชีพของมนุษย์ ได้แก่ อากาศ น้ำ พืช สัตว์ ดิน และแร่ธาตุต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
soil | ดิน, เป็นวัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เกิดจากส่วนผสมของแร่ธาตุต่าง ๆ ที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงและสลายตัวของเปลือกโลกกับอินทรียวัตถุที่เน่าเปื่อยผุพังอยู่รวมกันเป็นชั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
subsoil | ดินชั้นกลาง, ดินที่อยู่ข้างล่างถัดจากดินชั้นบนลงไป เป็นชั้นดินที่ไม่ค่อยมีความอุดมสมบูรณ์ขาดแร่ธาตุที่จำเป็นสำหรับพืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
single fertilizer | ปุ๋ยเดี่ยว, ปุ๋ยเคมีที่มีแร่ธาตุอาหารหลักเพียงอย่างเดียว เช่น ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสเฟต หรือปุ๋ยโพแทส เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tracheophyta | เทรคีโอไฟตา, พืชที่มีเนื้อเยื่อโฟลเอ็มและไซเลมสำหรับสำเลียงน้ำ แร่ธาตุและอาหาร เช่น พื่ชมีดอก เฟิน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Macroelements | แร่ธาตุในร่างกาย [การแพทย์] |
Malnutrition | โรคขาดอาหาร, ทุโภชนาการ, ทุพโภชนาการ, การขาดอาหาร, การขาดสารอาหาร, การขาดแคลนอาหารแร่ธาตุและวิตามินต่าง ๆ, ภาวะทุพโภชนาการ, ขาดอาหาร [การแพทย์] |
Metalloenzymes | เอมไซม์ที่มีโลหะ, แร่ธาตุเข้ารวมกับเอ็นไซม์, เมทัลโลเอ็นซัยม์, เหล็กจับแน่นในโมเลกุล [การแพทย์] |
Mineral Requirements | ความต้องการแร่ธาตุ [การแพทย์] |
Mineralization | การจับตัวของเกลือแร่, มีแคลเซียมฟอสเฟตมาจับ, การจับเกาะของเกลือแร่ที่เนื้อกระดูก, การจับตัวของแร่ธาตุ, การเกาะจับของเกลือแร่ [การแพทย์] |
Minerals | แร่, แร่ธาตุ, เกลือแร่ [การแพทย์] |
Minerals, Acid-Forming | แร่ธาตุที่สร้างกรด [การแพทย์] |
Minerals, Alkaline-Forming | แร่ธาตุที่สร้างเบส [การแพทย์] |
Minerals, Essential | แร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย [การแพทย์] |