365 ผลลัพธ์ สำหรับ *แย้ง*
หรือค้นหา: แย้ง, -แย้ง-

Longdo TH - TH
ไม้เบื่อไม้เมาไม่ลงรอยกัน, ขัดแย้งกันเป็นประจำ.

Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Contra-indicationสิ่งขัดแย้ง, ข้อบ่งห้าม(ใช้)

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
แย้ง(v) contradict, See also: argue, Syn. โต้เถียง, ท้วง, ท้วงติง, ค้าน, เถียง, Ant. ยอมตาม, ยินยอม
แย้ง(v) oppose, See also: protest, dissent, disagree, object, contradict, reject, Syn. ท้วง, คัดค้าน, ค้าน, ติง, ท้วงติง, Example: กลุ่มนักปฏิบัตินิยมได้ออกโรงแย้งอิทธิพลความคิดเห็นของชาวตะวันตก
แย้ง(v) contradict, See also: contrast, be incompatible, be contradictory, be contrary, Syn. ขัดกัน, ขัดแย้ง, Example: คำพูดของเขาแย้งกันอยู่ในตัว
ขัดแย้ง(v) oppose, See also: resist, withstand, disagree, be in conflict, Syn. ขัดกัน, แย้งกัน, Ant. เห็นด้วย, Example: ฝ่ายค้านขัดแย้งกับฝ่ายรัฐบาลอยู่เสมอเมื่อรัฐสภาเปิดอภิปรายเรื่องงบประมาณ, Thai Definition: ไม่ลงรอยกัน, ไม่เห็นพ้องต้องกัน
ข้อแย้ง(n) contradictory, See also: argument, dispute, Syn. ข้อโต้แย้ง, ข้อขัดแย้ง, Ant. ข้อยุติ, Example: ฝ่ายค้านมีข้อแย้งซึ่งที่ประชุมไม่ยอมรับ, Thai Definition: ความคิดที่ไม่ตรงกันหรือไม่เห็นด้วย
มุมแย้ง(n) alternate angle, See also: opposite angle, Count Unit: มุม, Thai Definition: มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง อยู่เยื้องกันคนละข้างของเส้นตัดภายในเส้นขนานคู่นั้น รวมกันแล้วได้ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก
โต้แย้ง(v) argue, See also: counter, oppose, contradict, dispute, Ant. เห็นด้วย, คล้อยตาม, Example: สถาปนิกโต้แย้งวิศวกรอย่างเอาจริงเอาจัง, Thai Definition: แสดงความเห็นขัดแย้งกัน
ฟ้องแย้ง(n) counter-claim, See also: counter-prosecution, countercharge, Syn. คำฟ้องแย้ง, Example: เขาฟ้องแย้งว่าอีกฝ่ายหนึ่งว่าผิดสัญญาก่อน, Thai Definition: การที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์, Notes: (กฎหมาย)
เห็นแย้ง(v) be opposed to, See also: disagree, dissent, Syn. ไม่เห็นด้วย, ไม่ยอมรับ, เห็นขัดแย้ง, Ant. เห็นดี, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน, Example: นักศึกษาบางคนเห็นแย้งกับคำสอนของอาจารย์ในบางเรื่อง, Thai Definition: มีความเห็นขัดกัน
ข้อขัดแย้ง(n) disagreement, Example: ข้อเสนอที่ทั้งประเทศต่างๆ เห็นพ้องต้องกันโดยไม่มีข้อขัดแย้งจะนำไปสู่ความร่วมมือที่ดีขึ้นในอนาคต, Count Unit: ข้อ
ข้อโต้แย้ง(n) argument, See also: dispute, debate, controversy, Syn. ข้อพิพาท, ข้อโต้เถียง, Example: ฝ่ายค้านมีข้อโต้แย้งที่จะขอคัดค้านฝ่ายเสนอ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: เนื้อหาสาระของการโต้แย้ง
ความขัดแย้ง(n) conflict, See also: opposition, disagreement, controversy, quarrel, argument, Syn. การขัดกัน, ความไม่ถูกกัน, ความไม่ลงรอยกัน, Example: ประเทศอภิมหาอำนาจจะพยายามแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างยิวและอาหรับ
แย้งกันอยู่ในตัว(v) be self-contradictory, Syn. ขัดแย้ง, ขัดกัน, Example: คำพูดของเขาแย้งกันอยู่ในตัว

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระย่องกระแย่งว. ย่องแย่ง.
ก้านแย่งน. ชื่อลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปโครงเป็นตาข่ายแย่งดอกแย่งก้านกัน.
แก่งแย่งก. พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน.
ขัดแย้งก. ไม่ลงรอยกัน.
คำฟ้องแย้งน. คำฟ้องที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง.
เครือแย่งน. ชื่อลายชนิดหนึ่ง.
ต่อแย้งก. ต่อสู้กัน, สู้รบกันไปมา, เช่น รุมกันพุ่งกันแทง เข้าต่อแย้งต่อยุทธ์ โห่อึงอุจเอาไชย (ลอ).
โต้แย้งก. แสดงความเห็นแย้งกัน.
ฟ้องแย้งก. การที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์.
ฟ้องแย้งน. คำฟ้องแย้ง.
มุมแย้งน. มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง อยู่เยื้องกันคนละข้างของเส้นตัดภายในเส้นขนานคู่นั้น รวมกันแล้วได้ ๑๘๐ องศา หรือ ๒ มุมฉาก.
ย่องแย่งว. ไม่ถนัด, ไม่แข็งแรง, (ใช้แก่อาการเดินที่เหยียบไม่ถนัด), กระย่องกระแย่ง ก็ว่า.
ยะแย้งก. ยื้อแย่ง.
แยกแย้งก. แยกไปคนละทาง, ไม่ลงรอยกัน.
แย่งก. ยื้อเอาไป เช่น ถูกแย่งของไปจากมือ, รีบฉวยหรือรีบทำเสียก่อน เช่น แย่งทาน.
แย่งกันเป็นศพมอญก. ยื้อแย่งกัน (ใช้ในความเปรียบเทียบ).
แย่งชิงก. ยึดถือเอาทรัพย์หรือประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้อื่น.
แย้งก. ไม่ตรงหรือลงรอยเดียวกัน เช่น ความเห็นแย้งกัน ข้อความแย้งกัน
แย้งต้านไว้, ทานไว้.
กระซ่องกระแซ่งว. กระย่องกระแย่ง, ซ่องแซ่ง ก็ว่า.
กลมกลืน(-กฺลืน) ก. เข้ากันได้ดี, ไม่ขัดแย้งกัน.
กลืนน้ำลายตัวเองก. พูดไว้อย่างหนึ่งแล้วกลับพูดแย้งคำที่พูดไว้เดิม เช่น เขาบอกว่าจะลงโทษคนที่ทุจริต พอลูกน้องตนเองทุจริตกลับกลืนน้ำลายตัวเองออกมาปกป้องลูกน้อง.
เกลียว(เกฺลียว) ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดแย้งกัน เรียกว่า ปีนเกลียว.
เกียงก. เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล (จารึกวัดโพธิ์), โดยมากใช้เป็น เกี่ยง.
แก้วชิงดวงน. ชื่อลายชนิดหนึ่ง เป็นลายแย่งดอกกันหรือเป็นดอกเกี่ยวกัน, ชิงดวง ก็ว่า.
ข้อพิพาทน. ข้อขัดแย้งหรือโต้แย้งระหว่างผู้เป็นคู่กรณี.
ข้อพิพาทแรงงานน. ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง.
ข้อหาคำกล่าวหาบุคคลว่าได้กระทำความผิดอาญา หรือคำกล่าวหาเกี่ยวกับข้อโต้แย้งสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลในทางแพ่ง.
ขัด ๑แย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน.
ขัดคอก. พูดแย้งขวางเข้ามา, ไม่ให้ทำได้โดยสะดวก.
คัดง้างก. ขัดแย้ง, ไม่ลงรอยกัน.
ค้านก. แย้งกัน เช่น ข้อความตอนหน้ากับตอนหลังค้านกัน, กล่าวแย้งไม่เห็นด้วย
คู่พิพาทน. บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปซึ่งมีข้อโต้แย้งกัน.
งัดข้อก. เกร็งแขนขัดกัน แล้วออกกำลังกดให้แขนอีกฝ่ายหนึ่งล้มลง, โดยปริยายหมายความว่า โต้เถียงกัน, มีความเห็นขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน.
แง่ง ๒, แง่ง ๆว. เสียงขู่ของหมาเมื่อจะกัดกันในเวลาแย่งอาหารกันเป็นต้น.
จริงอยู่แต่, จริงอยู่...แต่สัน. ใช้แสดงความยืนยันข้อความที่กล่าวมาแล้วข้างหน้า และแสดงว่ามีข้อความขัดแย้งตามมาข้างหลัง.
ฉกฉวยก. ยื้อแย่งเอาไปต่อหน้า.
ฉกชิงก. แย่งชิงเอาไปซึ่งหน้า.
ช่วง ๓ก. แย่ง, ชิง, มักใช้พูดเข้าคู่กับ ชิง เป็น ช่วงชิง.
ช่วงชิงก. แย่งชิง เช่น จะมาช่วงชิงนางอย่างผลไม้ ที่จะได้นางไปอย่าสงกา (อิเหนา).
ชิง ๑ก. แข่ง, แข่งขัน, เช่น ชิงรางวัล ชิงทุน, แย่ง เช่น ชิงอำนาจ.
ชิงช่วงน. การเล่นชนิดหนึ่ง เอาลูกไม้หรือของที่ลอยทิ้งลงในนํ้าแล้วแย่งชิงกัน.
ชิงเชิงก. แย่งชั้นเชิงกัน, คอยเอาทีกัน.
ชิงดวงน. ชื่อลายชนิดหนึ่งเป็นลายแย่งดอกกัน หรือเป็นดอกเกี่ยวกัน, แก้วชิงดวง ก็เรียก.
ชิงดีชิงเด่นก. แย่งกันเอาหน้าหรือเอาดีเอาเด่น, ขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของผู้อื่น เพื่อให้ตนดีเด่นแต่ผู้เดียว.
ชิงเปรตก. แย่งเครื่องเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษหรือผู้ที่ตายไปแล้ว ซึ่งเรียกว่า “เปรต” ในงานทำบุญวันสารทเดือน ๑๐ เมื่อเสร็จพิธีเซ่นแล้ว ถือว่าเครื่องเซ่นเหล่านั้นเป็นมงคล.
ซ่องแซ่งว. กระย่องกระแย่ง เช่น เขาไม่มีแรง เดินซ่องแซ่ง, กระซ่องกระแซ่ง ก็ว่า.
ดอก ๓ว. คำประกอบใช้ในความแย้งหรือปฏิเสธ เช่น ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี (ม.ร่ายยาว มัทรี), (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก.
ติงทุเลาก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ตีชิง, ตีชิงวิ่งราวก. ทำร้ายเจ้าทรัพย์แล้วแย่งเอาทรัพย์สินไป.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
proof by contradictionการพิสูจน์โดยข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
paradox of votingผลการออกเสียงลงคะแนนที่แย้งกันในตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
rebutโต้แย้ง, หักล้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
refuteโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
report, minorityบันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
replicationคำให้การ (ของโจทก์) แก้ฟ้องแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
self-contradictionความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
subsequent pleadingsการฟ้องแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
self contradictionข้อขัดแย้งในตัว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
opinion, dissentingความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
adverseเป็นปรปักษ์, ขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
alternate anglesมุมแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
alternate exterior anglesมุมแย้งภายนอก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
alternate interior anglesมุมแย้งภายใน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
argumentการให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
argument๑. คำแถลงการณ์ (ป. วิ. แพ่ง)๒. ข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
anthypophoraการแสร้งแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
antithesisบทแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
antithesisภาวะแย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
antithesisภาวะแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
argumentationการโต้แย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
jurisdictional disputeข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
minority reportบันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
consistency checkการตรวจสอบความเข้ากันได้, การตรวจสอบความไม่ขัดแย้งกัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
conditional appearanceการมาศาลโดยมีข้อโต้แย้ง (อำนาจศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradiction๑. ความขัดแย้งกัน๒. ข้อความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradictionการขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradictionข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
contradiction, proof byการพิสูจน์โดยข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
contradiction, self-ความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradictoryขัดแย้งกัน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradictory statementsข้อความขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
conflictความขัดแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
conflictข้อพิพาท, ข้อขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
conflict managementการจัดการกับความขัดแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
conflicting evidenceพยานหลักฐานที่ขัดแย้งกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
contrapositive; contrapositive propositionประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
contrapositive proposition; contrapositiveประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
controversyการโต้เถียง, การโต้แย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
counterchargeฟ้องแย้ง (คดีอาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
counterclaimฟ้องแย้ง (คดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dissenting opinionความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
dissenting opinionความเห็นแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
differenceข้อขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
disproveพิสูจน์แย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
dispute๑. ข้อพิพาท๒. โต้แย้ง, ค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dispute presumptionข้อสันนิษฐานที่ยังมีข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dispute, jurisdictionalข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
inconsistentแย้งกัน, ขัดกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
incontestable clauseข้อกำหนดไม่โต้แย้ง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Arab-Israeli conflictความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับ [TU Subject Heading]
Conflict managementการบริหารความขัดแย้ง [TU Subject Heading]
Contradictionความขัดแย้งกัน [TU Subject Heading]
Culture conflictความขัดแย้งทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1947-1949ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1947-1949 [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1965ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1965 [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1971ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1971 [TU Subject Heading]
Interpersonal conflictความขัดแย้งระหว่างบุคคล [TU Subject Heading]
Interpersonal conflict in motion picturesความขัดแย้งระหว่างบุคคลในภาพยนตร์ [TU Subject Heading]
Low-intensity conflicts (Military science)ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading]
Conflictข้อขัดแย้ง [เศรษฐศาสตร์]
Set off and counterclaimฟ้องแย้ง [TU Subject Heading]
Social conflictความขัดแย้งทางสังคม [TU Subject Heading]
Social conflict in mass mediaความขัดแย้งทางสังคมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
Break of Diplomatic Relationsการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต]
Confidence Building Measuresมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต]
Consular office Declared ?Non grata?เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต]
Duration of Diplomatic Privileges and Immunitiesระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต]
ethnic conflictความขัดแย้งที่เกิดจากความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ [การทูต]
national reconciliationการปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต]
Normal Diplomacyการติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต]
order at seaการจัดระเบียบทางทะเล " เช่น ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือไทย-เวียดนามในการลดความ ขัดแย้งในทะเลระหว่างกัน อาทิ การล่วงล้ำน่านน้ำและลักลอบทำประมง โดยมีมาตรการสำคัญ คือ การลาดตระเวนร่วมในพื้นที่ประชิดกันทางทะเลระหว่างกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย เป็นประจำ " [การทูต]
Peacebuilding Commissionคณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding) [การทูต]
peace keepingการรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต]
peace makingการทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต]
proactive foreign policyนโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น " [การทูต]
Shuttle Diplomacyการทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต]
Treaty of Amity and Cooperationสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต]
Waiver of Immunityการสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต]
Communication, Double Blindการสื่อความหมายที่มีความขัดแย้งกันเองในเวลา [การแพทย์]
Conflictความขัดแย้ง [การแพทย์]
Conflict, Approach-Approachความขัดแย้งชนิดเข้าหา-เข้าหา [การแพทย์]
Conflict, Approach-Avoidanceความขัดแย้งเข้าหา-หลีกหนี [การแพทย์]
Conflict, Avoidance-Avoidanceความขัดแย้งชนิดหลีกหนี-หลีกหนี [การแพทย์]
Conflict, Double Approach Avoidanceความขัดแย้งชนิดเข้าหา-หลีกหนีซ้อน [การแพทย์]
Conflict, Emotionalข้อขัดแย้งของจิตใจ [การแพทย์]
Conflict, Neuroticข้อขัดแย้งภายในจิตใจ [การแพทย์]
Conflict, Psychodynamicความขัดแย้งทางจิตพลวัต [การแพทย์]
Conflict, Unconsciousความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก, ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก [การแพทย์]
Conflict, Unconscious, Internalความขัดแย้งภายในจิตไร้สำนึก [การแพทย์]
Consensus, Highเนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์]
Controversial Issueกรณีโต้แย้ง [การแพทย์]
ความขัดแย้งความขัดแย้ง, สภาวะหรือเหตุการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อถึงเวลาที่เผชิญแล้ว บุคคลนั้นเกิดความลำบากใจ หนักใจ หรืออึดอัดใจในการตัดสินใจ ตกลงใจที่จะเลือกกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความขัดแย้งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ความขัดแย้งในใจที่บุคคลจะต้องต [สุขภาพจิต]
ตัวกระตุ้นทางใจตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต]
กลไกป้องกันทางจิตกลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต]
alternate-interior anglesมุมแย้ง, มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงใด ๆ ตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป ดังรูป      เป็นมุมแย้งของ    หรือกลับกัน    เป็นมุมแย้งของ    หรือกลับกัน   [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Lose-Lose Emphasisความขัดแย้งจากฝ่ายแพ้ทั้งคู่ [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยไม่โต้แย้ง[dōi mai tōyaēng] (adv) EN: without contradiction
ฟ้องแย้ง[føngyaēng] (v) EN: counterclaim ; file a cross-action ; file a cross-suit ; countersue
แก่งแย่ง[kaengyaēng] (v) EN: compete for ; vie for ; contest ; wrangle ; contend for ; struggle for ; scramble ; strive
แก่งแย่งชิงดี[kaengyaēng ching dī] (v, exp) EN: compete (for a better position) ; scramble ; strive ; vie
การฟ้องแย้ง[kān føng yaēng] (n, exp) EN: cross-action ; cross-suit ; cross petition
การแก่งแย่งกัน[kān kaengyaēng kan] (n, exp) EN: competition  FR: compétition [ f ]
การโต้แย้ง[kān tōyaēng] (n) EN: argument
การโต้แย้งด้วยเหตุผล[kān tōyaēng dūay hētphon] (n, exp) EN: dialectic  FR: dialectique [ f ]
การโต้แย้งข้อกล่าวหา[kān tōyaēng khøklāohā] (n, exp) EN: rebuttal
คำฟ้องแย้ง[khamføng yaēng] (n, exp) EN: counterclaim
ขัดแย้ง[khatyaēng] (v) EN: oppose ; contradict ; disagree ; resist ; withstand ; be in conflict  FR: contredire ; contester ; s'opposer
ขัดแย้งกับกฎหมาย[khatyaēng kap kotmāi] (v, exp) EN: come into collision with the law ; be against the law
ขัดแย้งกัน[khatyaēng kan] (v, exp) FR: être en désaccord ; être en opposition
ข้อขัดแย้ง[khø khatyaēng] (n, exp) EN: matter in contention ; point of contention ; matter in dispute ; disagreement
ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจโต้แย้งได้[khøthetjing thī mai āt tōyaēng dāi] (n, exp) EN: indisputable fact
ข้อโต้แย้ง[khøtōyaēng] (n) EN: argument ; counter-argument ; objection ; point in opposition ; opposing view ; dispute ; disagreement ; contention
เครือแย่ง[khreūayaēng] (n) EN: name of Thai design
ความเห็นแย้ง[khwāmhen yaēng] (n, exp) EN: dissenting opinion  FR: opinion divergente [ f ]
ความขัดแย้ง[khwām khatyaēng] (n, exp) EN: conflict ; contradiction
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์[khwām khatyaēng dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest
ความขัดแย้งกันในเชิงผลประโยชน์[khwām khatyaēng kan nai choēng phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest
ความขัดแย้งกันในด้านผลประโยชน์[khwām khatyaēng kan nai dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest
ความขัดแย้งระหว่างศาสนา[khwām khatyaēng rawāng sātsanā] (n, exp) FR: conflit interreligieux [ m ]
มุมแย้ง[mum yaēng] (n, exp) EN: alternate angle
สะสางความขัดแย้ง[sasāng khwām khatyaēng] (v, exp) EN: settle a conflict
โต้แย้ง[tōyaēng] (v) FR: disputer ; controverser (r.)
แย่ง[yaēng] (v) EN: snatch ; grab ; scramble for ; seize ; compete ; vie ; wrest ; catch  FR: accaparer ; s'approprier
แย้ง[yaēng] (v) EN: protest ; take exception to ; object to ; dispute ; counter ; conflict ; contradict ; oppose ; dissent ; disagree ; reject ; contrast ; be incompatible ; be contradictory ; be contrary  FR: contredire ; réfuter
แย่งชิง[yaēngching] (v) EN: snatch ; grab ; scramble for ; seize ; compete ; vie ; wrest ; catch  FR: ravir ; usurper
แย้งกัน[yaēng kan] (v) EN: oppose
แย้งกันอยู่ในตัว[yaēng kan yū nai tūa] (v, exp) EN: be self-contradictory
แย่งเก้าอี้[yaēng kao-ī] (v, exp) EN: contend for position
แย้งกลับ[yaēng klap] (x) EN: dismissed
แย่งตำแหน่ง[yaēng tamnaeng] (v, exp) EN: contend for position ; vie for a position ; strive for a position
ยื้อแย่ง[yeūyaēng] (v) EN: snatch ; take forcibly ; catch as catch can  FR: disputer ; batailler
ย่องแย่ง[yǿngyaēng] (adv) EN: limpingly ; totteringly ; haltingly ; stumblingly ; shufflingly ; teeteringly ; staggeringly ; dodderingly ; hobblingly ; lamely

Longdo Approved EN-TH
dissemination(n) การเปิดประเด็นเพื่อการถกเถียงและโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
my two cents(phrase) เป็นสำนวน ย่อมาจาก "to put my two cents in" ใช้กล่าวก่อนจะแสดงความเห็นของตน โดยเป็นการถ่อมตัวว่า ความเห็นของตนอาจจะไม่ได้มีค่าอะไรมาก (เงิน 2 cents เป็นจำนวนที่น้อยมาก) ก่อนจะให้ความเห็นที่อาจจะแย้งกับความเห็นของอีกฝ่าย เช่น "If I may put my two cents in, that hat doesn't do you any favors." แปลว่า หมวกใบนั้นไม่สวย ไม่เหมาะกับคุณ หรือ "My two cents is that you should sell that stock now." คุณควรจะขายหุ้นนั้นทิ้งซะตอนนี้ (ที่มา http://en.m.wikipedia.org/wiki/My_two_cents)

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
accepted(adj) ี่ที่ไม่สามารถคัดค้านได้, See also: ที่ไม่สามารถโต้แย้งได้, ที่ไม่สามารถปฏิเสธได้
against(prep) ดูขัดแย้งกับ, See also: ดูขัดกับ
antilogy(n) ความแย้งกันของความคิดหรือข้อคิดเห็น
antipathetic(adj) ที่ตรงกันข้าม, See also: ที่แย้งกัน, Syn. antipathetical, contrary, adverse, Ant. agreeable
antipathetical(adj) ที่ตรงกันข้าม, See also: ที่แย้งกัน, Syn. antipathetic, contrary, adverse, Ant. agreeable
antithesis(n) การใช้ถ้อยคำขัดแย้งกัน
arbitrate(vt) ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง
arbitrate(vi) เป็นผู้ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง, Syn. settle peacefully, smooth out
argue(vi) โต้เถียง, See also: โต้แย้ง, เถียง, Syn. quarrel, dispute
argument(n) การโต้แย้ง, See also: การแย้ง, การโต้เถียง, Syn. dispute, debate
argumentative(adj) ที่เกี่ยวกับการโต้แย้ง, Syn. controversial
argue against(phrv) ถกเถียงเพื่อต่อต้าน, See also: อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน
barrage(n) การโต้แย้ง, See also: การวิจารณ์
be against(phrv) ทำผิดต่อ, See also: ปฏิบัติขัดแย้งกับ, Syn. go against
be at loggerheads(idm) โต้แย้งกันอย่างแรง, See also: โต้เถียงกันอย่างแรง
be out(phrv) หยุดทำงาน (เพราะขัดแย้ง), See also: หยุดงานประท้วง, Syn. bring out
be up against(phrv) ขัดแย้งกับ, See also: มีปัญหากับ, Syn. bring up against, come up against
casus belli(n) เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดสงคราม, See also: ต้นเหตุของความขัดแย้ง
clash(vt) ขัดแย้ง
clash(vi) ขัดแย้ง, Syn. conflict, fail to harmonize
coherent(adj) ซึ่งสอดคล้อง, See also: ซึ่งเห็นพ้องตรงกัน, ไม่ขัดแย้งในตัวเอง, ซึ่งมีเหตุผล, Syn. consistent, harmonious
collide(vi) ขัดแย้งกัน, See also: เป็นปรปักษ์, Syn. clash, conflict, disagree, oppose, dispute
collision(n) การขัดแย้ง, Syn. clash, conflict, discord, contention, disagreement, disputation
combat(n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, opposition, strife
combatant(n) คนที่เถียงกัน, See also: คนที่โต้แย้งกัน
con(n) ข้อโต้แย้ง
conflict(vi) ขัดแย้ง
conflict(n) ความขัดแย้ง, Syn. confliction, disagreement, opposition
confliction(n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, disagreement, opposition
contention(n) การโต้แย้ง, See also: การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, Syn. argument, controversy, disagreement
contention(n) ความคิดเห็นในการโต้แย้ง
contradict(vt) ขัดแย้ง, Syn. go against
contradict(vt) โต้แย้ง, Syn. disclaim, deny
contradictory(adj) ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งไม่ไปในทางเดียวกัน, Syn. opposite, conflicting
contrary(adj) ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. opposed, against
contravene(vt) โต้แย้ง
controversial(adj) ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้ง, See also: เกี่ยวกับการโต้เถียง, Syn. arguable, controvertible, debatable
controversial(adj) ซึ่งชอบโต้แย้ง, See also: ซึ่งชอบโต้คารม, ซึ่งชอบสำบัดสำนวน
controversialist(n) คนที่ชอบโต้แย้ง, Syn. disputant
controvert(vt) โต้แย้ง, See also: โต้เถียง, Syn. refute, rebut
counter(vt) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ
counter(vi) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ
cross-purpose(n) จุดประสงค์ที่แย้งกัน, See also: จุดประสงค์ที่ไม่ตรงกัน
clash against(phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with
clash on(phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash over
clash over(phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash on
collide with(phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with
conflict with(phrv) เกิดขึ้นในเวลาเดียวกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash with, coincide with
conflict with(phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash against
crack open(phrv) ทำลายข้อโต้แย้ง, See also: ขจัดข้อโต้แย้ง

Hope Dictionary
agon(แอก' ออน) n., (pl. agones) การแข่งขันที่มีการให้รางวัล, ความขัดแย้ง
airing(แอ' ริง) n. การตาก, การสนทนาโต้แย้ง (ข้อ คิดเห็น, ข้อเสนอ) , การเดินหรือขับรถในที่โล่งแจ้ง
antinomy(แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction)
apodeictic(แอพพะดิค'ทิค) adj. ไม่เป็นที่สงสัย, ยืนยันอย่างเด็ดขาด, ไม่สามารถโต้แย้งได้ (incontestable)
argue(อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate
argumentative(อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้ง, Syn. disputatious, contentious, Ant. amenable
belie(บิไล') { belied, belieing, belies } vt. แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, ขัดแย้ง, ไม่ตรงกับ, ใส่ความ, ทำให้คนอื่นเข้าใจผิด, See also: belier n., Syn. disguise
challenge(แชล'ลินจฺ) v., n. (การ) ท้า, ท้าทาย, ท้าดวล, ขอประลองฝีมือ, เรียกร้อง, แสดงข้อคิดเห็นขัดแย้ง
clash(แคล?) { clashed, clashing, clashes } vi. เสียงดังกระทบกัน, ปะทะโครม, ขัดแย้ง vt. ชนเสียงดัง n. เสียงดังปะทะ, ความขัดแย้ง, การต่อสู้การต่อต้าน, สงคราม
collide(คะไลดฺ') { collided, colliding, collides } vi. ปะทะกันโครม, ชนกันโครม, ขัดแย้ง, Syn. smash -Conf. knock
collision(คะลิส'เชิน) n. การปะทะกันโครม, ความขัดแย้ง, , Syn. clash
combat(v. คัมแบท', n. คอม'แบท) { combated, combating, combats } vt. ต่อสู้, ต่อต้าน, รบกับ vi. ต่อสู้ n. การรบ, การต่อสู้, ความขัดแย้ง, Syn. fight
con(คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น
conflict(คอน'ฟลิคทฺ) n. การต่อสู้, การเป็นปรปักษ์, การขัดแย้ง, การทะเลาะ, สงคราม, การสู้รบ. vi. ปะทะ, ต่อสู้, ทะเลาะ, See also: conflictingly adv. confliction n. ดูconflict conflictive adj. ดูconflict conflictory adj. ดูconflict คำที่มีความหมายเหมือ
contest(n. คอน'เทสทฺ, -v. คันเทสทฺ') n. การต่อสู้กัน, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง. vt. ต่อสู้, ดิ้นรน, โต้แย้ง, โต้เถียง. vi.แข่งขัน, โต้เถียง, See also: contester n., Syn. strive
contestation(คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง
contradict(คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง., See also: contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict
contradiction(คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน
contradictory(คอนทระดิค'ทะรี) adj. ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งตรงกันข้าม n. ข้อเสนอที่ขัดแย้งกับข้อเสนออื่น.
contraindicatevt. (ยาชนิดหนึ่ง) ขัดแย้งกับ (ยาอีกชนิดหนึ่ง) โดยทำให้เกิดอาการได้, See also: contraindication n.
contrariant(คันแทร'เรียนท) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: contrariety n.
contravene(คอนทระ วีน') { contravened, contravening, contravenes } vt. ขัดแย้ง, ต่อต้าน., See also: contravener n. ดูcontravene, Syn. contradict, Ant. uphold
contravention. n. การขัดแย้ง, การต่อต้าน
controversial(คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, , See also: controversialism n. controversialist n., Syn. disputatious
counterclaim(เคา'เทอะเคลม) vt., vi., n. (การ) เรียกร้องแย้ง, อ้างสิทธิแย้ง, แย้งสิทธิ., See also: counterclaimant n. ดูcounterclaim
countermand(เคาเทอะมานด'ฺ) vt. ยกเลิก, สั่งถอน, ออกคำสั่งแย้งคำสั่ง, เรียกตัวกลับ. n. คำสั่งยกเลิกคำสั่งเดิม, Syn. revoke
demurraln. การคัดค้าน, การแย้ง, การรีรอ
demurrern. ผู้คัดค้าน, ผู้แย้ง, คำคัดค้าน
denegationn. การปฏิเสธ, การขัดแย้ง, การคัดค้าน
dialecticsn. วิธีการโต้แย้งด้วยเหตุผล
disagree(ดิสอะกรี') { disagreed, disagreeing, disagrees } vi. ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, ไม่เหมาะ, ทำความเสียหายแก่, Syn. dissent, quarrel
disagreement(ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift
discord(ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife
discordant(ดิสคอ'เดินทฺ) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, บาดหมางกัน, ทะเลาะกัน, ต่อสู้กัน, ไม่เข้าหู, ห้วน, Syn. contradictory
discrepancy(ดิสเครพ'เพินซี) n. ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่ตรงกัน, ความขัดแย้ง., See also: discrepance n., Syn. variance, difference, gap, Ant. similarity, unity
discrepant(ดิสเครพ'เพินทฺ) adj. ไม่ลงรอยกัน, ไม่ตรงกัน, แย้งกัน, ไม่ประสานกัน, Syn. differing, discordant
discussion(ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล
dismiss(ดิสมิส') vt. ไล่ออก, เลิก, บอกให้เลิกแถว, ไม่พิจารณา, แย้งกลับ, ไม่รับฟ้อง, ยกฟ้อง., See also: dismissible adj. ดูdismiss dismissive adj. ดูdismiss
disproofn. การพิสูจน์ว่าผิด, การพิสูจน์หักล้าง, การโต้กลับ, การโต้แย้ง
disputable(ดิสพิว'ทะเบิล) adj. ซี่งโต้แย้งได้, เถียงได้, เป็นปัญหา., See also: disputability n.
disputant(ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง
dispute(ดิสพิวทฺ') vi., vt., n. (การ) โต้เถียง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, See also: disputer n. ดูdispute, Syn. debate, argument
dissension(ดิเซน'เชิน) n. ความไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะ, ความขัดแย้ง, Syn. discord, disagreement
dissent(ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent
dissidence(ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent
fence(เฟนซฺ) { fenced, fencing, fences } n. รั้ว, เครื่องกั้น, คอกล้อม, พะเนียด, ศิลปะหรือกีฬาฟันดาบ, ความชำนาญในการโต้แย้ง, บุคคลผู้รับและจำหน่ายของโจร, สถานที่รับและจำหน่ายของโจร. -Phr. (sit on the fence เป็นกลาง, ไม่เข้าข้างฝ่ายใด) . vi. เล่นหรือฝึกฝนการฟันดาบ, ล้อมรั้ว,
friction(ฟริค'เชิน) n. การเสียดสี, การขัดสี, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน., See also: less adj., Syn. attrition
impugn(อิมพิวนฺ') vt. กล่าวหา, ประณาม, ตำหนิ, แย้ง., See also: impugnable adj. impugner n., Syn. challenge, oppose
inarguable(อินอาร์' กิวอะเบิล) adj. ซึ่งถกเถียงไม่ได้, ซึ่งแย้งไม่ได้., See also: inarguably adv.
incompatible(อินคัมแพท' ทะเบิล) adj. เข้ากันไม่ได้, ขัดแย้งกัน, ตรงกันข้าม, ต่อต้านกัน, ซึ่งไม่สามารถจะเป็นพร้อมกันได้, incompatibles บุคคลที่เข้ากันไม่ได้., See also: incompatibility, incompatibleness n. incompatibly adv. -S .unadapted, discrepant

Nontri Dictionary
adversative(adj) ตรงกันข้าม, สวนกัน, แย้งกัน
argue(vi, vt) โต้แย้ง, เถียง, ถกเถียง, โต้เถียง, โต้คารม
argument(n) การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การโต้คารม, การถกเถียง
argumentative(adj) ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง
clash(n) การทะเลาะ, การปะทะ, การขัดแย้ง
clash(vt) ปะทะกัน, ชนกัน, กระทบกัน, ขัดแย้งกัน, โต้แย้งกัน, ทะเลาะกัน
collide(vt) ชน, กระแทก, ปะทะกัน, ขัดแย้ง, ไม่เห็นด้วย
collision(n) การปะทะกัน, การกระทบกัน, ความขัดแย้ง
combat(n) การต่อสู้, การต่อต้าน, การรบ, ความขัดแย้ง
con(adv) ตรงข้าม, แย้ง, ต่อต้าน, โต้แย้ง
con(n) ความตรงข้าม, การแย้ง, การโต้แย้ง, การต่อต้าน, ผู้คัดค้าน
contend(vt, vi) ต่อสู้, ยืนยัน, โต้แย้ง, ชิงชัย, แข่งขัน
contentious(adj) ชอบทะเลาะวิวาท, ชอบต่อสู้, ชอบโต้เถียง, ชอบแย้ง
contest(n) การต่อสู้, การต่อกร, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง
contest(vt) ต่อสู้, ต่อกร, แข่งขัน, โต้แย้ง, โต้เถียง
contradict(vt) เถียง, แย้ง, โต้แย้ง
contradiction(n) การโต้แย้ง, การเถียง, การแย้ง, ความตรงกันข้าม
contradictory(adj) ซึ่งตรงกันข้าม, ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน
contradistinction(n) การแย้งกัน, ความตรงกันข้าม
controversial(adj) ซึ่งแย้งกัน, ที่เถียงกัน, เกี่ยวกับการโต้เถียง
controversy(n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม
controvert(vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย
counter(vt) ตอบโต้, โต้แย้ง, ต่อต้าน, สวน, ฝ่าฝืน, เป็นปรปักษ์
counterclaim(n) การแย้ง, การเรียกร้องแย้ง
debate(n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที
debate(vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย
disagree(vi) ไม่เห็นด้วย, ไม่ตกลงกัน, ทะเลาะกัน, โต้แย้ง
discrepancy(n) ความคลาดเคลื่อน, ความแย้งกัน, ความไม่ตรงกัน
disputable(adj) ยังเป็นปัญหาอยู่, โต้แย้งได้, เถียงได้, แย้งได้
disputant(n) ผู้โต้แย้ง, ผู้ถกเถียง, ผู้โต้เถียง
disputation(n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย
dispute(vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย
dissension(n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน
dissent(n) ความขัดแย้ง, ความแตกแยก, ความไม่เห็นด้วย, ความแตกร้าว
dissent(vi) ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ขัดแย้ง, แตกร้าว, ทะเลาะ, ไม่ลงรอยกัน
dissenter(n) ผู้คัดค้าน, ผู้ขัดแย้ง, ผู้ไม่เห็นด้วย
dissidence(n) ความขัดแย้ง, การไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน
expostulate(vt) ขัดแย้ง, ทัดทาน, ว่ากล่าว, ตักเตือน, เตือน
expostulation(n) การขัดแย้ง, การทัดทาน, การว่ากล่าว, การตักเตือน
factious(adj) ชอบขัดแย้ง, เป็นก๊กเป็นเหล่า, เล่นพรรคเล่นพวก
gainsay(vt) แย้ง, โต้แย้ง, คัดค้าน, ต้าน, ต่อต้าน
impugn(vt) ซักถาม, แย้ง, กล่าวหา, ประณาม
incompatible(adj) ขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน, เข้ากันไม่ได้
incontestable(adj) แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้
incontrovertible(adj) โต้แย้งไม่ได้, เปลี่ยนไม่ได้, เถียงไม่ได้
indefensible(adj) ป้องกันไม่ได้, โต้แย้งไม่ได้, แก้ตัวไม่ได้
indisputable(adj) โต้แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้, โต้ตอบไม่ได้
interfere(vi) แย้งกัน, สอดแทรก, แทรกแซง, รบกวน
irrefutable(adj) แย้งไม่ได้, หักล้างไม่ได้
objection(n) ข้อขัดข้อง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การโต้แย้ง

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
conferral(n, vt) การโต้แย้ง
conflict of opinion(phrase) ความขัดแย้งทางความคิด
contest(vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, See also: dispute, Syn. argue
irony(n) ย้อนแย้ง
irony(n) ขัดแย้ง
reply(n) คำให้การโจทก์ (ตอบคำฟ้องแย้งของจำเลย)

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
議論[ぎろん, giron] (n) การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง
矛盾[むじゅん, mujun] ขัดแย้ง ไปด้วยกันไม่ได้ ขัดกัน
争い[あらそい, arasoi] โต้เถียง, ขัดแย้ง, โต้แย้ง, ทะเลาะ

Longdo Approved DE-TH
jedoch(konj) แต่ (เป็นคำที่ไพเราะกว่า aber มักใช้ในภาษาเขียน ใช้บ่งสิ่งที่ขัดแย้งกัน) เช่น Er wollte seine Eltern besuchen, tat jedoch nicht. เขาอยากไปเยี่ยมพ่อแม่ แต่ก็ไม่ได้ทำ, See also: doch, Syn. aber
Kampf(n) |der, pl. Kämpfe| ความขัดแย้ง, See also: der Konflikt
seltsamerweise(adv) แปลกที่, ที่ขัดแย้งกัน
widersprechen(vi) |widersprach, hat widersprochen| โต้แย้ง, ไม่เห็นด้วย
Auseinandersetzung(n) |die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกัน, See also: Streit, Syn. Diskussion

Time: 0.0775 seconds, cache age: 2.414 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/