แย้ง | (v) contradict, See also: argue, Syn. โต้เถียง, ท้วง, ท้วงติง, ค้าน, เถียง, Ant. ยอมตาม, ยินยอม |
แย้ง | (v) oppose, See also: protest, dissent, disagree, object, contradict, reject, Syn. ท้วง, คัดค้าน, ค้าน, ติง, ท้วงติง, Example: กลุ่มนักปฏิบัตินิยมได้ออกโรงแย้งอิทธิพลความคิดเห็นของชาวตะวันตก |
แย้ง | (v) contradict, See also: contrast, be incompatible, be contradictory, be contrary, Syn. ขัดกัน, ขัดแย้ง, Example: คำพูดของเขาแย้งกันอยู่ในตัว |
แย้ม | (v) blossom, See also: bloom, Ant. หุบ |
แย้ม | (v) reveal, See also: disclose, divulge, Syn. บอก, เปรย, เผย |
ขัดแย้ง | (v) oppose, See also: resist, withstand, disagree, be in conflict, Syn. ขัดกัน, แย้งกัน, Ant. เห็นด้วย, Example: ฝ่ายค้านขัดแย้งกับฝ่ายรัฐบาลอยู่เสมอเมื่อรัฐสภาเปิดอภิปรายเรื่องงบประมาณ, Thai Definition: ไม่ลงรอยกัน, ไม่เห็นพ้องต้องกัน |
ข้อแย้ง | (n) contradictory, See also: argument, dispute, Syn. ข้อโต้แย้ง, ข้อขัดแย้ง, Ant. ข้อยุติ, Example: ฝ่ายค้านมีข้อแย้งซึ่งที่ประชุมไม่ยอมรับ, Thai Definition: ความคิดที่ไม่ตรงกันหรือไม่เห็นด้วย |
มุมแย้ง | (n) alternate angle, See also: opposite angle, Count Unit: มุม, Thai Definition: มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง อยู่เยื้องกันคนละข้างของเส้นตัดภายในเส้นขนานคู่นั้น รวมกันแล้วได้ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก |
โต้แย้ง | (v) argue, See also: counter, oppose, contradict, dispute, Ant. เห็นด้วย, คล้อยตาม, Example: สถาปนิกโต้แย้งวิศวกรอย่างเอาจริงเอาจัง, Thai Definition: แสดงความเห็นขัดแย้งกัน |
ฟ้องแย้ง | (n) counter-claim, See also: counter-prosecution, countercharge, Syn. คำฟ้องแย้ง, Example: เขาฟ้องแย้งว่าอีกฝ่ายหนึ่งว่าผิดสัญญาก่อน, Thai Definition: การที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์, Notes: (กฎหมาย) |
เห็นแย้ง | (v) be opposed to, See also: disagree, dissent, Syn. ไม่เห็นด้วย, ไม่ยอมรับ, เห็นขัดแย้ง, Ant. เห็นดี, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน, Example: นักศึกษาบางคนเห็นแย้งกับคำสอนของอาจารย์ในบางเรื่อง, Thai Definition: มีความเห็นขัดกัน |
ข้อขัดแย้ง | (n) disagreement, Example: ข้อเสนอที่ทั้งประเทศต่างๆ เห็นพ้องต้องกันโดยไม่มีข้อขัดแย้งจะนำไปสู่ความร่วมมือที่ดีขึ้นในอนาคต, Count Unit: ข้อ |
ข้อโต้แย้ง | (n) argument, See also: dispute, debate, controversy, Syn. ข้อพิพาท, ข้อโต้เถียง, Example: ฝ่ายค้านมีข้อโต้แย้งที่จะขอคัดค้านฝ่ายเสนอ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: เนื้อหาสาระของการโต้แย้ง |
สาวแรกแย้ม | (n) teenage girl, See also: young girl, Syn. สาวแรกรุ่น, สาววัยกำดัด, Count Unit: คน |
ความขัดแย้ง | (n) conflict, See also: opposition, disagreement, controversy, quarrel, argument, Syn. การขัดกัน, ความไม่ถูกกัน, ความไม่ลงรอยกัน, Example: ประเทศอภิมหาอำนาจจะพยายามแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างยิวและอาหรับ |
ยิ้มแย้มแจ่มใส | (v) be cheerful, See also: be in good spirits, be cheery, Syn. เบิกบาน, ชื่นบาน, Ant. บูดบึ้ง, บึ้งตึง, Example: คนเราหากยิ้มแย้มแจ่มใสจะช่วยให้ชีวิตยืนยาว, Thai Definition: ยิ้มอย่างชื่นบาน |
แย้งกันอยู่ในตัว | (v) be self-contradictory, Syn. ขัดแย้ง, ขัดกัน, Example: คำพูดของเขาแย้งกันอยู่ในตัว |
กระย่องกระแย่ง | ว. ย่องแย่ง. |
ก้านแย่ง | น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปโครงเป็นตาข่ายแย่งดอกแย่งก้านกัน. |
แก่งแย่ง | ก. พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน. |
ขัดแย้ง | ก. ไม่ลงรอยกัน. |
คำฟ้องแย้ง | น. คำฟ้องที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง. |
เครือแย่ง | น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง. |
ต่อแย้ง | ก. ต่อสู้กัน, สู้รบกันไปมา, เช่น รุมกันพุ่งกันแทง เข้าต่อแย้งต่อยุทธ์ โห่อึงอุจเอาไชย (ลอ). |
โต้แย้ง | ก. แสดงความเห็นแย้งกัน. |
นางแย้ม | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum chinense (Osbeck) Mabb. ในวงศ์ Labiatae ใบออกตรงข้ามกัน โคนใบเว้าแบบหัวใจ ขอบใบหยัก มีขนเล็กน้อย ดอกเป็นช่อสั้น ๆ เบียดกันแน่น กลีบดอกมักซ้อน สีขาวหรือแดงเรื่อ ๆ กลิ่นหอม, ปิ้งหอม ก็เรียก. |
พอแย้มปากก็เห็นไรฟัน | รู้ทันกัน, พออ้าปากก็เห็นลิ้นไก่ ก็ว่า. |
ฟ้องแย้ง | ก. การที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์. |
ฟ้องแย้ง | น. คำฟ้องแย้ง. |
มุมแย้ง | น. มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง อยู่เยื้องกันคนละข้างของเส้นตัดภายในเส้นขนานคู่นั้น รวมกันแล้วได้ ๑๘๐ องศา หรือ ๒ มุมฉาก. |
ย่อแย่ | ว. อ่อนแอ. |
ย็อกแย็ก, ย็อกแย็ก ๆ, ย็อก ๆ แย็ก ๆ | ว. อาการที่ทำอย่างไม่เอาจริงเอาจัง ไม่เข้าท่าเข้าทาง ไม่ถูกแบบถูกแผน หรือไม่ได้เรื่องได้ราว เป็นต้น เช่น ทำงานย็อกแย็ก เต้นย็อกแย็ก ๆ ทำย็อก ๆ แย็ก ๆ. |
ย่องแย่ง | ว. ไม่ถนัด, ไม่แข็งแรง, (ใช้แก่อาการเดินที่เหยียบไม่ถนัด), กระย่องกระแย่ง ก็ว่า. |
ย้อแย้ | ก. เดินป้อแป้อย่างเป็ด. |
ยะแย้ง | ก. ยื้อแย่ง. |
ยักแย่ยักยัน | ว. เขย้อแขย่ง, มีท่าทางเก้กัง. |
ย่ำแย่ | ก. เหน็ดเหนื่อยมาก, ลำบากมาก, เช่น ทำงานย่ำแย่ ถูกใช้เสียย่ำแย่. |
ย่ำแย่ | ว. เหลือทน. |
ยิ้มแย้ม, ยิ้มแย้มแจ่มใส | ก. ยิ้มอย่างชื่นบาน, แย้มยิ้ม ก็ว่า. |
แย่ | ก. แบะขาและย่อลง, ย่อลง. |
แย่ | ว. เต็มที, หนัก, เช่น ปลายเดือนการเงินแย่ อาการไข้แย่ เพียบลงทุกวัน. |
แย่แต้ | ว. หนักจนต้องย่อลง. |
แย้ ๑ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์ Uromastycidae ลำตัวแบนราบคล้ายกิ้งก่า ยาวประมาณ ๑๖ เซนติเมตร ข้างตัวมีสีสวย ไม่มีหนามสันหลัง อาศัยขุดรูอยู่ในดิน หากินตามพื้นดิน กินพืชและตัวอ่อนแมลง ไม่ขึ้นต้นไม้ ในประเทศไทยที่พบแล้วมี ๔ ชนิด คือ ชนิด Leiolepis belliana (Hardwick & Gray), L. reevesii (Gray), L. triploida Peters และ L. boehmei Darevski & Kupriyanova. |
แย้ ๒ | ก. ถ่วงหนักลง เช่น ก้นแย้ ท้องแย้. |
แยกแย้ง | ก. แยกไปคนละทาง, ไม่ลงรอยกัน. |
แย่ง | ก. ยื้อเอาไป เช่น ถูกแย่งของไปจากมือ, รีบฉวยหรือรีบทำเสียก่อน เช่น แย่งทาน. |
แย่งกันเป็นศพมอญ | ก. ยื้อแย่งกัน (ใช้ในความเปรียบเทียบ). |
แย่งชิง | ก. ยึดถือเอาทรัพย์หรือประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้อื่น. |
แย้ง | ก. ไม่ตรงหรือลงรอยเดียวกัน เช่น ความเห็นแย้งกัน ข้อความแย้งกัน |
แย้ง | ต้านไว้, ทานไว้. |
แยงแย่ | ว. อาการที่นั่งยอง ๆ แต่ถ่างขากว้าง เช่น นรสิงห์นั่งแยงแย่, อาการที่ยืนแบะขาและย่อเข่าลง เช่น ยักษ์วัดพระแก้วยืนแยงแย่. |
แยงแย้ | น. ไม้จำพวกเฟินเลื้อย ต้นเป็นเถาสั้น รากกระด้าง สีดำแดง เกาะตามหลืบหิน ใบคล้ายใบมะคำไก่. |
แย็บ | ก. ชกออกไปตรง ๆ และชักหมัดกลับโดยเร็ว |
แย็บ | โดยปริยายหมายความว่า ลองเชิง, หยั่งดูท่าที. |
แย้ม | ก. เผยอ, คลี่, บานแต่น้อย ๆ, เช่น กุหลาบแย้มกลีบ, เผยอริมฝีปากน้อย ๆ ไม่ถึงกับยิ้ม เช่น พระพุทธเจ้าทรงแย้มพระโอษฐ์, แย้มพราย. |
แย้มพราย | ก. เผยให้เห็นวี่แวว เช่น เขาแย้มพรายเรื่องของเขาให้ทราบ, แย้ม ก็ว่า. |
แย้มยิ้ม | ก. ยิ้มอย่างชื่นบาน, ยิ้มแย้ม หรือ ยิ้มแย้มแจ่มใส ก็ว่า. |
แย้มสรวล | ก. ยิ้มแย้ม ร่าเริง. |
รำแย้ | น. ชื่อพืชชนิดหนึ่ง เช่น กระเทียมหอมรำแย้ก็มี (ม. คำหลวง มหาพน). |
กระซ่องกระแซ่ง | ว. กระย่องกระแย่ง, ซ่องแซ่ง ก็ว่า. |
กระเทียมหอม | น. ต้นหอม เช่น กระเทียมหอมรำแย้ ก็มี (ม. คำหลวง มหาพน). |
กลมกลืน | (-กฺลืน) ก. เข้ากันได้ดี, ไม่ขัดแย้งกัน. |
กลืนน้ำลายตัวเอง | ก. พูดไว้อย่างหนึ่งแล้วกลับพูดแย้งคำที่พูดไว้เดิม เช่น เขาบอกว่าจะลงโทษคนที่ทุจริต พอลูกน้องตนเองทุจริตกลับกลืนน้ำลายตัวเองออกมาปกป้องลูกน้อง. |
เกลียว | (เกฺลียว) ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดแย้งกัน เรียกว่า ปีนเกลียว. |
เกียง | ก. เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล (จารึกวัดโพธิ์), โดยมากใช้เป็น เกี่ยง. |
แก้วชิงดวง | น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง เป็นลายแย่งดอกกันหรือเป็นดอกเกี่ยวกัน, ชิงดวง ก็ว่า. |
ขมึงทึง | (ขะหฺมึง-) ว. ลักษณะหน้าตาที่บูดบึ้งไม่ยิ้มแย้ม, หน้าตาน่ากลัว, ถมึงทึง ก็ว่า. |
proof by contradiction | การพิสูจน์โดยข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
paradox of voting | ผลการออกเสียงลงคะแนนที่แย้งกันในตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rebut | โต้แย้ง, หักล้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refute | โต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
report, minority | บันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
replication | คำให้การ (ของโจทก์) แก้ฟ้องแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
self-contradiction | ความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
subsequent pleadings | การฟ้องแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
self contradiction | ข้อขัดแย้งในตัว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
opinion, dissenting | ความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
adverse | เป็นปรปักษ์, ขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alternate angles | มุมแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
alternate exterior angles | มุมแย้งภายนอก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
alternate interior angles | มุมแย้งภายใน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
argument | การให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument | ๑. คำแถลงการณ์ (ป. วิ. แพ่ง)๒. ข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anthypophora | การแสร้งแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antithesis | บทแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antithesis | ภาวะแย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antithesis | ภาวะแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argumentation | การโต้แย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jurisdictional dispute | ข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
minority report | บันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
consistency check | การตรวจสอบความเข้ากันได้, การตรวจสอบความไม่ขัดแย้งกัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
conditional appearance | การมาศาลโดยมีข้อโต้แย้ง (อำนาจศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradiction | ๑. ความขัดแย้งกัน๒. ข้อความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradiction | การขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradiction | ข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
contradiction, proof by | การพิสูจน์โดยข้อขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
contradiction, self- | ความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradictory | ขัดแย้งกัน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradictory statements | ข้อความขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
conflict | ความขัดแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conflict | ข้อพิพาท, ข้อขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conflict management | การจัดการกับความขัดแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
conflicting evidence | พยานหลักฐานที่ขัดแย้งกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contrapositive; contrapositive proposition | ประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
contrapositive proposition; contrapositive | ประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
controversy | การโต้เถียง, การโต้แย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
countercharge | ฟ้องแย้ง (คดีอาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
counterclaim | ฟ้องแย้ง (คดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dissenting opinion | ความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dissenting opinion | ความเห็นแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
difference | ข้อขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disprove | พิสูจน์แย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
dispute | ๑. ข้อพิพาท๒. โต้แย้ง, ค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dispute presumption | ข้อสันนิษฐานที่ยังมีข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dispute, jurisdictional | ข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
inconsistent | แย้งกัน, ขัดกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
incontestable clause | ข้อกำหนดไม่โต้แย้ง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Arab-Israeli conflict | ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับ [TU Subject Heading] |
Conflict management | การบริหารความขัดแย้ง [TU Subject Heading] |
Contradiction | ความขัดแย้งกัน [TU Subject Heading] |
Culture conflict | ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1947-1949 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1947-1949 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1965 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1965 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1971 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1971 [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict | ความขัดแย้งระหว่างบุคคล [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict in motion pictures | ความขัดแย้งระหว่างบุคคลในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Low-intensity conflicts (Military science) | ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading] |
Conflict | ข้อขัดแย้ง [เศรษฐศาสตร์] |
Set off and counterclaim | ฟ้องแย้ง [TU Subject Heading] |
Social conflict | ความขัดแย้งทางสังคม [TU Subject Heading] |
Social conflict in mass media | ความขัดแย้งทางสังคมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Confidence Building Measures | มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
ethnic conflict | ความขัดแย้งที่เกิดจากความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ [การทูต] |
national reconciliation | การปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต] |
Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] |
order at sea | การจัดระเบียบทางทะเล " เช่น ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือไทย-เวียดนามในการลดความ ขัดแย้งในทะเลระหว่างกัน อาทิ การล่วงล้ำน่านน้ำและลักลอบทำประมง โดยมีมาตรการสำคัญ คือ การลาดตระเวนร่วมในพื้นที่ประชิดกันทางทะเลระหว่างกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย เป็นประจำ " [การทูต] |
Peacebuilding Commission | คณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding) [การทูต] |
peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] |
peace making | การทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต] |
proactive foreign policy | นโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น " [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Communication, Double Blind | การสื่อความหมายที่มีความขัดแย้งกันเองในเวลา [การแพทย์] |
Conflict | ความขัดแย้ง [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Approach | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-เข้าหา [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Avoidance | ความขัดแย้งเข้าหา-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Avoidance-Avoidance | ความขัดแย้งชนิดหลีกหนี-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Double Approach Avoidance | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-หลีกหนีซ้อน [การแพทย์] |
Conflict, Emotional | ข้อขัดแย้งของจิตใจ [การแพทย์] |
Conflict, Neurotic | ข้อขัดแย้งภายในจิตใจ [การแพทย์] |
Conflict, Psychodynamic | ความขัดแย้งทางจิตพลวัต [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious | ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก, ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious, Internal | ความขัดแย้งภายในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
Consensus, High | เนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์] |
Controversial Issue | กรณีโต้แย้ง [การแพทย์] |
Euphoria | ครึ้มอกครึ้มใจ, รู้สึกสบายใจ, อารมณ์เปลี่ยนแปลง, ความเคลิบเคลิ้มสุข, ความรู้สึกสบาย, การเคลิบเคลิ้มเป็นสุข, อาการเป็นสุข, เบิกบานใจมากผิดธรรมดา, อารมณ์ครื้นเครง, อารมณ์รื่นเริงสนุกสนาน, ครึ้มอกครึ้มใจ, รู้สึกสบายใจมาก, เคลิบเคลิ้ม, จิตใจสบาย, รู้สึกสบายยิ้มแย้มตลอดเวลา, อารมณ์รื่นเริงสนุกสนาน, รู้สึกเคลิ้มๆพอสบาย [การแพทย์] |
ความขัดแย้ง | ความขัดแย้ง, สภาวะหรือเหตุการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อถึงเวลาที่เผชิญแล้ว บุคคลนั้นเกิดความลำบากใจ หนักใจ หรืออึดอัดใจในการตัดสินใจ ตกลงใจที่จะเลือกกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความขัดแย้งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ความขัดแย้งในใจที่บุคคลจะต้องต [สุขภาพจิต] |
ตัวกระตุ้นทางใจ | ตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
alternate-interior angles | มุมแย้ง, มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงใด ๆ ตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป ดังรูป เป็นมุมแย้งของ หรือกลับกัน เป็นมุมแย้งของ หรือกลับกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Lose-Lose Emphasis | ความขัดแย้งจากฝ่ายแพ้ทั้งคู่ [การแพทย์] |
อากาศแย่มาก | [ākāt yaē māk] (xp) EN: what awful weather ! FR: quel temps détestable ! |
โดยไม่โต้แย้ง | [dōi mai tōyaēng] (adv) EN: without contradiction |
ฟ้องแย้ง | [føngyaēng] (v) EN: counterclaim ; file a cross-action ; file a cross-suit ; countersue |
แก่งแย่ง | [kaengyaēng] (v) EN: compete for ; vie for ; contest ; wrangle ; contend for ; struggle for ; scramble ; strive |
แก่งแย่งชิงดี | [kaengyaēng ching dī] (v, exp) EN: compete (for a better position) ; scramble ; strive ; vie |
การฟ้องแย้ง | [kān føng yaēng] (n, exp) EN: cross-action ; cross-suit ; cross petition |
การแก่งแย่งกัน | [kān kaengyaēng kan] (n, exp) EN: competition FR: compétition [ f ] |
การโต้แย้ง | [kān tōyaēng] (n) EN: argument |
การโต้แย้งด้วยเหตุผล | [kān tōyaēng dūay hētphon] (n, exp) EN: dialectic FR: dialectique [ f ] |
การโต้แย้งข้อกล่าวหา | [kān tōyaēng khøklāohā] (n, exp) EN: rebuttal |
คำฟ้องแย้ง | [khamføng yaēng] (n, exp) EN: counterclaim |
ขัดแย้ง | [khatyaēng] (v) EN: oppose ; contradict ; disagree ; resist ; withstand ; be in conflict FR: contredire ; contester ; s'opposer |
ขัดแย้งกับกฎหมาย | [khatyaēng kap kotmāi] (v, exp) EN: come into collision with the law ; be against the law |
ขัดแย้งกัน | [khatyaēng kan] (v, exp) FR: être en désaccord ; être en opposition |
ข้อขัดแย้ง | [khø khatyaēng] (n, exp) EN: matter in contention ; point of contention ; matter in dispute ; disagreement |
ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจโต้แย้งได้ | [khøthetjing thī mai āt tōyaēng dāi] (n, exp) EN: indisputable fact |
ข้อโต้แย้ง | [khøtōyaēng] (n) EN: argument ; counter-argument ; objection ; point in opposition ; opposing view ; dispute ; disagreement ; contention |
เครือแย่ง | [khreūayaēng] (n) EN: name of Thai design |
ความเห็นแย้ง | [khwāmhen yaēng] (n, exp) EN: dissenting opinion FR: opinion divergente [ f ] |
ความขัดแย้ง | [khwām khatyaēng] (n, exp) EN: conflict ; contradiction |
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งกันในเชิงผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng kan nai choēng phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งกันในด้านผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng kan nai dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งระหว่างศาสนา | [khwām khatyaēng rawāng sātsanā] (n, exp) FR: conflit interreligieux [ m ] |
ลายมือที่แย่ที่สุด | [lāimeū thī yaē thīsut] (n, exp) EN: shocking handwriting |
ไม่แย่นัก | [mai yaē nak] (adv) EN: not too bad |
มุมแย้ง | [mum yaēng] (n, exp) EN: alternate angle |
นางแย้ม | [nāngyaēm] (n) EN: Glory flower ; Fragrant clerodendrum |
นางแย้ม จีน | [nāngyaēm Jīn] (n, exp) EN: Glory flower |
สะสางความขัดแย้ง | [sasāng khwām khatyaēng] (v, exp) EN: settle a conflict |
โต้แย้ง | [tōyaēng] (v) FR: disputer ; controverser (r.) |
วัยแรกแย้ม | [wai raēk yaēm] (n, exp) EN: puberty (of a girl) ; age of budding FR: puberté (féminine) [ f ] |
แย่ | [yaē] (v) EN: suffer hardship ; be in straitened circumstances ; be in the soup ; be down and out ; be in a bad way ; bear the brunt ; be in the red |
แย่ | [yaē] (adj) FR: désespéré ; triste EN: terrible ; bad ; too bad ; horrible |
แย่ | [yaē] (adj) FR: affreux ; abominable ; détestable ; horrible |
แย่ | [yaē] (adv) EN: terribly ; badly |
แย้ | [yaē] (n) EN: ground lizard ; skink |
แย่เลย | [yaē loēi] (x) EN: that's awful |
แย้ม | [yaēm] (v) EN: blossom ; bloom ; open slightly ; bud FR: s'épanouir ; s'ouvrir |
แย้ม | [yaēm] (v) EN: disclose ; reveal ; divulge |
แย่มาก | [yaē māk] (adj) EN: terrible ; it's terrible ! ; it's awful ! |
แย้มปีนัง | [yaēm Pīnang] (n, exp) EN: Climbing oleander ; Cream fruit |
แย่ง | [yaēng] (v) EN: snatch ; grab ; scramble for ; seize ; compete ; vie ; wrest ; catch FR: accaparer ; s'approprier |
แย้ง | [yaēng] (v) EN: protest ; take exception to ; object to ; dispute ; counter ; conflict ; contradict ; oppose ; dissent ; disagree ; reject ; contrast ; be incompatible ; be contradictory ; be contrary FR: contredire ; réfuter |
แย่งชิง | [yaēngching] (v) EN: snatch ; grab ; scramble for ; seize ; compete ; vie ; wrest ; catch FR: ravir ; usurper |
แย้งกัน | [yaēng kan] (v) EN: oppose |
แย้งกันอยู่ในตัว | [yaēng kan yū nai tūa] (v, exp) EN: be self-contradictory |
แย่งเก้าอี้ | [yaēng kao-ī] (v, exp) EN: contend for position |
แย้งกลับ | [yaēng klap] (x) EN: dismissed |
แย่งตำแหน่ง | [yaēng tamnaeng] (v, exp) EN: contend for position ; vie for a position ; strive for a position |
accepted | (adj) ี่ที่ไม่สามารถคัดค้านได้, See also: ที่ไม่สามารถโต้แย้งได้, ที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ |
against | (prep) ดูขัดแย้งกับ, See also: ดูขัดกับ |
antilogy | (n) ความแย้งกันของความคิดหรือข้อคิดเห็น |
antipathetic | (adj) ที่ตรงกันข้าม, See also: ที่แย้งกัน, Syn. antipathetical, contrary, adverse, Ant. agreeable |
antipathetical | (adj) ที่ตรงกันข้าม, See also: ที่แย้งกัน, Syn. antipathetic, contrary, adverse, Ant. agreeable |
antithesis | (n) การใช้ถ้อยคำขัดแย้งกัน |
arbitrate | (vt) ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง |
arbitrate | (vi) เป็นผู้ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง, Syn. settle peacefully, smooth out |
argue | (vi) โต้เถียง, See also: โต้แย้ง, เถียง, Syn. quarrel, dispute |
argument | (n) การโต้แย้ง, See also: การแย้ง, การโต้เถียง, Syn. dispute, debate |
argumentative | (adj) ที่เกี่ยวกับการโต้แย้ง, Syn. controversial |
argue against | (phrv) ถกเถียงเพื่อต่อต้าน, See also: อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน |
barrage | (n) การโต้แย้ง, See also: การวิจารณ์ |
bloom | (vt) บาน, See also: คลี่, เบ่งบาน, แย้ม |
be against | (phrv) ทำผิดต่อ, See also: ปฏิบัติขัดแย้งกับ, Syn. go against |
be at loggerheads | (idm) โต้แย้งกันอย่างแรง, See also: โต้เถียงกันอย่างแรง |
be out | (phrv) หยุดทำงาน (เพราะขัดแย้ง), See also: หยุดงานประท้วง, Syn. bring out |
be up against | (phrv) ขัดแย้งกับ, See also: มีปัญหากับ, Syn. bring up against, come up against |
casus belli | (n) เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดสงคราม, See also: ต้นเหตุของความขัดแย้ง |
clash | (vt) ขัดแย้ง |
clash | (vi) ขัดแย้ง, Syn. conflict, fail to harmonize |
coherent | (adj) ซึ่งสอดคล้อง, See also: ซึ่งเห็นพ้องตรงกัน, ไม่ขัดแย้งในตัวเอง, ซึ่งมีเหตุผล, Syn. consistent, harmonious |
collide | (vi) ขัดแย้งกัน, See also: เป็นปรปักษ์, Syn. clash, conflict, disagree, oppose, dispute |
collision | (n) การขัดแย้ง, Syn. clash, conflict, discord, contention, disagreement, disputation |
combat | (n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, opposition, strife |
combatant | (n) คนที่เถียงกัน, See also: คนที่โต้แย้งกัน |
con | (n) ข้อโต้แย้ง |
conflict | (vi) ขัดแย้ง |
conflict | (n) ความขัดแย้ง, Syn. confliction, disagreement, opposition |
confliction | (n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, disagreement, opposition |
contention | (n) การโต้แย้ง, See also: การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, Syn. argument, controversy, disagreement |
contention | (n) ความคิดเห็นในการโต้แย้ง |
contradict | (vt) ขัดแย้ง, Syn. go against |
contradict | (vt) โต้แย้ง, Syn. disclaim, deny |
contradictory | (adj) ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งไม่ไปในทางเดียวกัน, Syn. opposite, conflicting |
contrary | (adj) ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. opposed, against |
contravene | (vt) โต้แย้ง |
controversial | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้ง, See also: เกี่ยวกับการโต้เถียง, Syn. arguable, controvertible, debatable |
controversial | (adj) ซึ่งชอบโต้แย้ง, See also: ซึ่งชอบโต้คารม, ซึ่งชอบสำบัดสำนวน |
controversialist | (n) คนที่ชอบโต้แย้ง, Syn. disputant |
controvert | (vt) โต้แย้ง, See also: โต้เถียง, Syn. refute, rebut |
counter | (vt) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ |
counter | (vi) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ |
cross-purpose | (n) จุดประสงค์ที่แย้งกัน, See also: จุดประสงค์ที่ไม่ตรงกัน |
clash against | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
clash on | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash over |
clash over | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash on |
collide with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
conflict with | (phrv) เกิดขึ้นในเวลาเดียวกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash with, coincide with |
conflict with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash against |
agon | (แอก' ออน) n., (pl. agones) การแข่งขันที่มีการให้รางวัล, ความขัดแย้ง |
airing | (แอ' ริง) n. การตาก, การสนทนาโต้แย้ง (ข้อ คิดเห็น, ข้อเสนอ) , การเดินหรือขับรถในที่โล่งแจ้ง |
allude | (อะลูด') vi. พูดถึง, พูดเป็นนัย, พาดพิงถึง, แย้ม, หมายถึง, Syn. refer, hint, indicate |
antinomy | (แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction) |
apodeictic | (แอพพะดิค'ทิค) adj. ไม่เป็นที่สงสัย, ยืนยันอย่างเด็ดขาด, ไม่สามารถโต้แย้งได้ (incontestable) |
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argumentative | (อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้ง, Syn. disputatious, contentious, Ant. amenable |
beaming | (บีม'มิง) adj. ปิติยินดี, ยิ้มแย้มแจ่มใส, เปล่งแสง, ฉายแสง, Syn. radiant, Ant. gloomy |
belie | (บิไล') { belied, belieing, belies } vt. แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, ขัดแย้ง, ไม่ตรงกับ, ใส่ความ, ทำให้คนอื่นเข้าใจผิด, See also: belier n., Syn. disguise |
blankly | (แบลง'คลี) adj. ไม่ยิ้มแย้มแจ่มใส, มีใบหน้าที่เฉยเมย, ทั้งหมด, ทุกแง่ทุกมุม, Syn. fully |
challenge | (แชล'ลินจฺ) v., n. (การ) ท้า, ท้าทาย, ท้าดวล, ขอประลองฝีมือ, เรียกร้อง, แสดงข้อคิดเห็นขัดแย้ง |
clash | (แคล?) { clashed, clashing, clashes } vi. เสียงดังกระทบกัน, ปะทะโครม, ขัดแย้ง vt. ชนเสียงดัง n. เสียงดังปะทะ, ความขัดแย้ง, การต่อสู้การต่อต้าน, สงคราม |
collide | (คะไลดฺ') { collided, colliding, collides } vi. ปะทะกันโครม, ชนกันโครม, ขัดแย้ง, Syn. smash -Conf. knock |
collision | (คะลิส'เชิน) n. การปะทะกันโครม, ความขัดแย้ง, , Syn. clash |
combat | (v. คัมแบท', n. คอม'แบท) { combated, combating, combats } vt. ต่อสู้, ต่อต้าน, รบกับ vi. ต่อสู้ n. การรบ, การต่อสู้, ความขัดแย้ง, Syn. fight |
con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
conbrio | (คอนบรี'โอ) ด้วยความแรง, ยิ้มแย้มสนุกสนาน |
conflict | (คอน'ฟลิคทฺ) n. การต่อสู้, การเป็นปรปักษ์, การขัดแย้ง, การทะเลาะ, สงคราม, การสู้รบ. vi. ปะทะ, ต่อสู้, ทะเลาะ, See also: conflictingly adv. confliction n. ดูconflict conflictive adj. ดูconflict conflictory adj. ดูconflict คำที่มีความหมายเหมือ |
contest | (n. คอน'เทสทฺ, -v. คันเทสทฺ') n. การต่อสู้กัน, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง. vt. ต่อสู้, ดิ้นรน, โต้แย้ง, โต้เถียง. vi.แข่งขัน, โต้เถียง, See also: contester n., Syn. strive |
contestation | (คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง |
contradict | (คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง., See also: contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict |
contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน |
contradictory | (คอนทระดิค'ทะรี) adj. ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งตรงกันข้าม n. ข้อเสนอที่ขัดแย้งกับข้อเสนออื่น. |
contraindicate | vt. (ยาชนิดหนึ่ง) ขัดแย้งกับ (ยาอีกชนิดหนึ่ง) โดยทำให้เกิดอาการได้, See also: contraindication n. |
contrariant | (คันแทร'เรียนท) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: contrariety n. |
contravene | (คอนทระ วีน') { contravened, contravening, contravenes } vt. ขัดแย้ง, ต่อต้าน., See also: contravener n. ดูcontravene, Syn. contradict, Ant. uphold |
contraventio | n. n. การขัดแย้ง, การต่อต้าน |
controversial | (คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, , See also: controversialism n. controversialist n., Syn. disputatious |
counterclaim | (เคา'เทอะเคลม) vt., vi., n. (การ) เรียกร้องแย้ง, อ้างสิทธิแย้ง, แย้งสิทธิ., See also: counterclaimant n. ดูcounterclaim |
countermand | (เคาเทอะมานด'ฺ) vt. ยกเลิก, สั่งถอน, ออกคำสั่งแย้งคำสั่ง, เรียกตัวกลับ. n. คำสั่งยกเลิกคำสั่งเดิม, Syn. revoke |
demurral | n. การคัดค้าน, การแย้ง, การรีรอ |
demurrer | n. ผู้คัดค้าน, ผู้แย้ง, คำคัดค้าน |
denegation | n. การปฏิเสธ, การขัดแย้ง, การคัดค้าน |
dialectics | n. วิธีการโต้แย้งด้วยเหตุผล |
disagree | (ดิสอะกรี') { disagreed, disagreeing, disagrees } vi. ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, ไม่เหมาะ, ทำความเสียหายแก่, Syn. dissent, quarrel |
disagreement | (ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift |
discord | (ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife |
discordant | (ดิสคอ'เดินทฺ) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, บาดหมางกัน, ทะเลาะกัน, ต่อสู้กัน, ไม่เข้าหู, ห้วน, Syn. contradictory |
discrepancy | (ดิสเครพ'เพินซี) n. ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่ตรงกัน, ความขัดแย้ง., See also: discrepance n., Syn. variance, difference, gap, Ant. similarity, unity |
discrepant | (ดิสเครพ'เพินทฺ) adj. ไม่ลงรอยกัน, ไม่ตรงกัน, แย้งกัน, ไม่ประสานกัน, Syn. differing, discordant |
discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล |
dismiss | (ดิสมิส') vt. ไล่ออก, เลิก, บอกให้เลิกแถว, ไม่พิจารณา, แย้งกลับ, ไม่รับฟ้อง, ยกฟ้อง., See also: dismissible adj. ดูdismiss dismissive adj. ดูdismiss |
disproof | n. การพิสูจน์ว่าผิด, การพิสูจน์หักล้าง, การโต้กลับ, การโต้แย้ง |
disputable | (ดิสพิว'ทะเบิล) adj. ซี่งโต้แย้งได้, เถียงได้, เป็นปัญหา., See also: disputability n. |
disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง |
dispute | (ดิสพิวทฺ') vi., vt., n. (การ) โต้เถียง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, See also: disputer n. ดูdispute, Syn. debate, argument |
dissension | (ดิเซน'เชิน) n. ความไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะ, ความขัดแย้ง, Syn. discord, disagreement |
dissent | (ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent |
dissidence | (ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent |
fence | (เฟนซฺ) { fenced, fencing, fences } n. รั้ว, เครื่องกั้น, คอกล้อม, พะเนียด, ศิลปะหรือกีฬาฟันดาบ, ความชำนาญในการโต้แย้ง, บุคคลผู้รับและจำหน่ายของโจร, สถานที่รับและจำหน่ายของโจร. -Phr. (sit on the fence เป็นกลาง, ไม่เข้าข้างฝ่ายใด) . vi. เล่นหรือฝึกฝนการฟันดาบ, ล้อมรั้ว, |
adversative | (adj) ตรงกันข้าม, สวนกัน, แย้งกัน |
argue | (vi, vt) โต้แย้ง, เถียง, ถกเถียง, โต้เถียง, โต้คารม |
argument | (n) การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การโต้คารม, การถกเถียง |
argumentative | (adj) ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง |
beaming | (adj) เปล่งแสง, ฉายแสง, ปีติยินดี, ยิ้มแย้มแจ่มใส |
clash | (n) การทะเลาะ, การปะทะ, การขัดแย้ง |
clash | (vt) ปะทะกัน, ชนกัน, กระทบกัน, ขัดแย้งกัน, โต้แย้งกัน, ทะเลาะกัน |
collide | (vt) ชน, กระแทก, ปะทะกัน, ขัดแย้ง, ไม่เห็นด้วย |
collision | (n) การปะทะกัน, การกระทบกัน, ความขัดแย้ง |
combat | (n) การต่อสู้, การต่อต้าน, การรบ, ความขัดแย้ง |
con | (adv) ตรงข้าม, แย้ง, ต่อต้าน, โต้แย้ง |
con | (n) ความตรงข้าม, การแย้ง, การโต้แย้ง, การต่อต้าน, ผู้คัดค้าน |
contend | (vt, vi) ต่อสู้, ยืนยัน, โต้แย้ง, ชิงชัย, แข่งขัน |
contentious | (adj) ชอบทะเลาะวิวาท, ชอบต่อสู้, ชอบโต้เถียง, ชอบแย้ง |
contest | (n) การต่อสู้, การต่อกร, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง |
contest | (vt) ต่อสู้, ต่อกร, แข่งขัน, โต้แย้ง, โต้เถียง |
contradict | (vt) เถียง, แย้ง, โต้แย้ง |
contradiction | (n) การโต้แย้ง, การเถียง, การแย้ง, ความตรงกันข้าม |
contradictory | (adj) ซึ่งตรงกันข้าม, ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน |
contradistinction | (n) การแย้งกัน, ความตรงกันข้าม |
controversial | (adj) ซึ่งแย้งกัน, ที่เถียงกัน, เกี่ยวกับการโต้เถียง |
controversy | (n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม |
controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย |
counter | (vt) ตอบโต้, โต้แย้ง, ต่อต้าน, สวน, ฝ่าฝืน, เป็นปรปักษ์ |
counterclaim | (n) การแย้ง, การเรียกร้องแย้ง |
debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที |
debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย |
disagree | (vi) ไม่เห็นด้วย, ไม่ตกลงกัน, ทะเลาะกัน, โต้แย้ง |
discrepancy | (n) ความคลาดเคลื่อน, ความแย้งกัน, ความไม่ตรงกัน |
disputable | (adj) ยังเป็นปัญหาอยู่, โต้แย้งได้, เถียงได้, แย้งได้ |
disputant | (n) ผู้โต้แย้ง, ผู้ถกเถียง, ผู้โต้เถียง |
disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย |
dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย |
dissension | (n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
dissent | (n) ความขัดแย้ง, ความแตกแยก, ความไม่เห็นด้วย, ความแตกร้าว |
dissent | (vi) ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ขัดแย้ง, แตกร้าว, ทะเลาะ, ไม่ลงรอยกัน |
dissenter | (n) ผู้คัดค้าน, ผู้ขัดแย้ง, ผู้ไม่เห็นด้วย |
dissidence | (n) ความขัดแย้ง, การไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
expostulate | (vt) ขัดแย้ง, ทัดทาน, ว่ากล่าว, ตักเตือน, เตือน |
expostulation | (n) การขัดแย้ง, การทัดทาน, การว่ากล่าว, การตักเตือน |
factious | (adj) ชอบขัดแย้ง, เป็นก๊กเป็นเหล่า, เล่นพรรคเล่นพวก |
frigid | (adj) หนาวจัด, เย็นชา, เยือกเย็น, ไม่ยิ้มแย้ม, ไม่ต้อนรับขับสู้, จืดชืด |
gainsay | (vt) แย้ง, โต้แย้ง, คัดค้าน, ต้าน, ต่อต้าน |
hint | (vt) แนะ, บอกใบ้, พูดเปรย, แย้ม |
iguana | (n) จิ้งเหลน, แย้ |
impugn | (vt) ซักถาม, แย้ง, กล่าวหา, ประณาม |
incompatible | (adj) ขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน, เข้ากันไม่ได้ |
incontestable | (adj) แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้ |
incontrovertible | (adj) โต้แย้งไม่ได้, เปลี่ยนไม่ได้, เถียงไม่ได้ |
indefensible | (adj) ป้องกันไม่ได้, โต้แย้งไม่ได้, แก้ตัวไม่ได้ |