แบบแผน | น. ขนบธรรมเนียมที่กำหนดใช้หรือที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา. |
ภาษากึ่งแบบแผน | น. ภาษาราชการ. |
ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. |
กระบวน | น. หมู่คนหรือพาหนะเป็นต้นที่จัดเป็นแถวเป็นแนวหรือเป็นหมวดเป็นหมู่ตามแบบแผน เช่น กระบวนพยุหยาตรา กระบวนทัพ, แบบแผน เช่น กระบวนหนังสือไทย, ชั้นเชิง เช่น ทำกระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสน่ห์งำ |
กระบวนความ | น. แบบแผนของเนื้อความหรือเรื่องราว เช่น ครบถ้วนกระบวนความ. |
ขนบประเพณี | น. จารีตประเพณีที่วางเป็นระเบียบแบบแผนไว้แล้ว. |
เข้าตำรา | ก. ถูกแบบแผน, ตรงตามแบบอย่างที่เคยมีมา, ถูกกับเรื่องราวที่เคยเล่ากันมา. |
เข้าแบบ, เข้าแบบเข้าแผน | ก. ถูกต้องตามแบบแผน, เป็นไปตามแบบ, เช่น ตัวละครเข้าแบบ. |
เข้ารูปเข้ารอย | ก. ถูกกับแบบแผน. |
ฉันทลักษณ์ | (ฉันทะลัก) น. ลักษณะแบบแผนคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยลักษณะของคำประพันธ์. |
ต้นตำรับ | น. สูตรหรือตำราดั้งเดิม เช่น ยาหอมต้นตำรับ ต้นตำรับชาววัง, ผู้เป็นต้นคิดประดิษฐ์จนเป็นแบบแผนสืบต่อมา เช่น ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ เป็นต้นตำรับอาหารไทยหลายอย่าง. |
ตันติ | น. แบบแผน |
ตันติภาษา | น. ภาษาที่มีแบบแผน เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาละติน ภาษากรีก. |
ตำรา | น. แบบแผนที่ว่าด้วยหลักวิชาต่าง ๆ, ตำรับตำรา ก็ว่า. |
ทำเนียบ ๒ | น. การลำดับตำแหน่งหน้าที่ซึ่งวางเป็นระเบียบแบบแผนขึ้นไว้ เช่น ทำเนียบสมณศักดิ์ ทำเนียบข้าราชการ. |
ธรรมเนียม | (ทำ-) น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง. |
นิติ | (นิ-ติ, นิด) น. นีติ, กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. |
นีติ | น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. |
เนติ | (เน-ติ) น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. |
บรรทัดฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ, ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. |
ปฏิบัติ | ก. ดำเนินการไปตามระเบียบแบบแผน เช่น ปฏิบัติราชการ, กระทำเพื่อให้เกิดความชำนาญ เช่น ภาคปฏิบัติ |
ปทัฏฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ |
ปทัสถาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ |
ประเพณี | น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. |
ปเวณี | (ปะ-) น. ขนบธรรมเนียม, แบบแผน |
พิธีกรรม | น. การบูชา, แบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่ปฏิบัติในทางศาสนา. |
ภาษาระดับพิธีการ | น. ภาษาแบบแผน. |
ภาษาราชการ | น. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก |
ไม้นอกกอ | น. คนที่ประพฤตินอกแบบแผนของวงศ์ตระกูล (มักใช้ในทางไม่ดี). |
ระเบียบ | น. แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดำเนินการ เช่น ระเบียบวินัย ระเบียบข้อบังคับ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ. |
รีต | น. เยี่ยงอย่าง, แบบแผน, ประเพณี, เช่น นอกรีต. |
ละครนอก | น. ละครรำแบบหนึ่ง วิวัฒนาการมาจากละครชาตรี ในชั้นต้นตัวละครเป็นชายล้วน ภายหลังหญิงชายแสดงปนกัน มีบทเจรจา การแสดงพลิกแพลงนอกเรื่องได้ไม่ต้องรักษาระเบียบแบบแผนนัก แสดงได้ทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องที่กำหนดให้แสดงในละครใน. |
วินย-, วินัย | (วินะยะ-) น. ระเบียบแบบแผนและข้อบังคับ, ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย |
ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. |
เสียธรรมเนียม | ก. ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม. |
หัวล้านนอกครู | น. ผู้ที่ปฏิบัติผิดแผกไปจากคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์หรือแบบแผนที่นิยมกันมา. |
อนิยม, อนิยม- | (อะนิยม, อะนิยะมะ-) ว. ไม่มีกำหนด, ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน, ไม่แน่นอน, นอกแบบ. |
อาจาร, อาจาร- | ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก. |
อาจารี | น. ผู้มีจรรยา, ผู้ทำตามคติแบบแผน. |
ceremony | (n) ความมีระเบียบแบบแผน |
form | (n) แบบแผน, See also: แบบแผน |
formality | (n) พิธี, See also: ระเบียบ, พิธีรีตอง, แบบแผน, Syn. convention, custom, rule |
formalize | (vi) ทำให้เป็นระเบียบแบบแผน |
formalize | (vt) ทำให้เป็นระเบียบแบบแผน |
mannerism | (n) ธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: การยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน, ลักษณะเฉพาะ, Syn. idiosyncrasy, pecularity |
mannerist | (n) ผู้มีมารยาท (ดีหรือเลว), See also: ผู้ยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน |
method | (n) วิธี, See also: วิธีการ, แนวทาง, ระเบียบ, แบบแผน, Syn. mode, manner, way, standard |
methodical | (adj) ซึ่งเป็นระเบียบ, See also: ซึ่งมีแบบแผน, ซึ่งดำเนินตามแบบแผน, Syn. systemic, orderly, Ant. unsystemic, disorderly |
methodically | (adv) อย่างมีแบบแผน, Syn. neatly |
methodize | (vt) ทำให้มีแบบแผน, Syn. organize |
methodizer | (n) ผู้มีระเบียบแบบแผน |
methodological | (adj) เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน, See also: เกี่ยวกับวิธีการ, Syn. technical |
methodologist | (n) ผู้มีระเบียบแบบแผน, Syn. pedant |
orderly | (adv) อย่างมีระเบียบ, See also: อย่างมีแบบแผน, Syn. methodically, regularly |
pattern | (n) แบบแผน, See also: รูปแบบ, ธรรมเนียม, รูปแบบ, แบบพิมพ์, แบบฉบับ, Syn. practice |
random | (adj) ซึ่งไม่มีแบบแผน, See also: ตามอำเภอใจ, Syn. haphazard |
randomly | (adv) อย่างไร้แบบแผน, Syn. incoherently |
randomness | (n) ความไม่มีแบบแผน |
rite | (n) พิธีการ, See also: แบบแผน, Syn. formality, procedure |
schematic | (adj) เกี่ยวกับแผนผัง, See also: เกี่ยวกับแบบแผน, เกี่ยวกับโครงการ, เกี่ยวกับแผนการ |
schematic | (n) แผนผัง, See also: แบบแผน, โครงการ, แผนการ |
structure | (n) โครงสร้าง, See also: โครง, แบบแผน, Syn. frame, design, layout |
stylebook | (n) หนังสือแบบแผนในการพิมพ์หนังสือ, Syn. publishing guide |
tidy | (adj) ที่เป็นแบบแผน, See also: ที่เป็นระบบ, Syn. methodical |
unconventional | (adj) ที่ไม่เป็นไปตามแบบแผนของสังคม, See also: ที่ผิดแปลกไปจากเดิม, Syn. eccentric, individualistic, idiosyncratic, Ant. conventional |
unconventionally | (adj) อย่างไม่เป็นไปตามแบบแผน, See also: โดยผิดแปลกไปจากเดิม, Syn. eccentrically, individualistically, Ant. conventionally |
ceremony | (เซอ'ริโมนี) n. พิธี, ระเบียบแบบแผน, พิธีการ, พิธีรีตอง, Syn. ritual |
conception | (คันเซพ'เชิน) n. การคิด, สร้างมโนคติ, ภาวะตั้งครรภ์, การริเริ่ม, การตั้งต้น, อำนาจความคิด, แบบแผน, โครงการ., See also: conceptive adj. ดูconception, Syn. ideation, idea, view |
concrete poetry | n. โคลงกลอน ฉันท์ กาพย์ ที่ประพันธ์โดยวิธีจัดหรือลำดับคำเป็นแบบแผน แทนที่จะเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิม |
convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom |
doggerel | adj. ตลก, เลว, ไม่ถูกต้องตามแบบแผน, หยาบ.n. บทกวีตลกที่ไม่ถูกต้องตามแบบแผน, Syn. doggrel |
draughtsman | (ดราฟซฺ'เมิน) n. คนร่าง, คนยกร่าง, คนทำแบบแผน, หมากรุก, ผู้เชี่ยวชาญในการสเก็ตช์ภาพ, ช่างวาด, Syn. checker -pl. draughtsmen |
fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) |
figure | (ฟิก'เกอะ) { figured, figuring, figures } n. รูปร่าง, รูปภายนอก, รูปหล่อ, รูปสลัก, ร่าง, ทรวดทรง, ภาพวาด, ตัวเลข, จำนวน, จำนวนเงิน, ราคา, เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, รูปแบบ, แบบแผน, อุปมาอุปไมย, แบบระบำ, แบบสำนวน vt. คำนวณ, แสดงออกเป็นรูป, สรุป, วาดภาพ, จินตนาการ, ประเมิน, คิด, คาดคะเน. |
formalise | (ฟอร์'มะไลซ) v. ทำให้เป็นระเบียบแบบแผน, ทำให้มีระเบียบ, ทำให้มีพิธี, ทำให้เป็นทางการ., See also: formalization, formalisation, formalizer, formaliser n., Syn. plan, organize |
formality | (ฟอร์แมล'ลิที) n. ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. orthodoxy |
formalize | (ฟอร์'มะไลซ) v. ทำให้เป็นระเบียบแบบแผน, ทำให้มีระเบียบ, ทำให้มีพิธี, ทำให้เป็นทางการ., See also: formalization, formalisation, formalizer, formaliser n., Syn. plan, organize |
get-up | (เกท'อัพ) n. แบบแผน, เครื่องแต่งกาย, เครื่องแบบ |
getup | (เกท'อัพ) n. แบบแผน, เครื่องแต่งกาย, เครื่องแบบ |
methodical | (มะธอด'ดิเคิล) adj. มีระบบ, มีแบบแผน, มีระเบียบ, มีเหตุผล, อดทน, รอบคอบ |
mirror | (มี'เรอะ) n. กระจก, สิ่งที่เป็นตัวแทนที่แท้จริง, แบบแผนของการเลียนแบบ. vt. สะท้อนแสง, เป็นตัวแทนที่แท้จริง, ส่อ, ส่องเป็นเงา, Syn. glass |
misrule | (มิสรูล') n. กฎที่เลว, การปกครองที่เลวหรือไม่ฉลาด, ความไม่มีระเบียบแบบแผน vt. ปกครองไม่ดี, จัดการไม่ได้, Syn. mismanagement |
norm | (นอร์ม) n. มาตรฐาน, รูปแบบ, แบบแผน, ค่าเฉลี่ย, มาตรฐานการ ศึกษา, ปกติวิสัย |
order | (ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ. -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ |
pattern | (แพท'เทิร์น) n. แบบแผน. -v. ออกแบบ |
prosody | (พรอส'ซะดี) n. ฉันทลักษณ์, วิชาฉันทลักษณ์, วิชาเกี่ยวกับจังหวะและเสียงสัมผัสของบทกวี, แบบแผนการเปล่งเสียง., See also: prosodic adj. prosodical adj. |
purism | (เพียว'ริสซึม) n. ลัทธิบริสุทธิ์, ความพิถีพิถันในภาษา รูปแบบหรืออื่น ๆ , ความเจ้าระเบียบแบบแผน., See also: purist n. puristic adj. puristical adj. |
red tape | n. ระเบียบแบบแผนที่หยุมหยิมเกินไป, แถบโบแดงที่ใช้ผูกหนังสือราชการ, ระเบียบราชการ |
regular | (เรก'กิวละ) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, เป็นประจำ, สม่ำเสมอ, เป็นกิจวัตร, ตามกฎ, มีกฎเกณฑ์, มีระเบียบ, ตามระเบียบ, ตามแบบแผน, ถูกต้องตามกฎเกณฑ์, เกี่ยวกับทหารประจำการ, (กาแฟ) มีปริมาณปกติของนมหรือครีม n. ลูกค้าประจำ, ทหารอาชีพ, ทหารประจำการ, สมาชิกพรรคที่ยึดถือนโยบายของพรรค |
regularly | (เรก'กิวเลอลี) adv. โดยปกติ, ตามธรรมดา, เป็นประจำ, ตามแบบแผน |
routineer | (รูทีเนียร์') n. ผู้ปฏิบัติตามระ-เบียบที่ใช้ประจำ, ผู้ยึดแบบแผนที่ตายตัว |
schematic | (สคีแมท'ทิค) adj., n.เกี่ยวกับ (แผนผัง, แบบแผน, โครงการ, แผนการ) ., See also: schematically adv., Syn. plan |
scheme | (สคีม) n. แผนผัง, แบบแผน, โครงการ, แผนการ, แผนลับ, กลเม็ด, ระบบการจัดการ, เพทุบาย, แผนร้าย, แผนภาพดวงดาว, แผนภาพอธิบาย, แผนจินตนาการ. vt., vi. วางแผน, วางผัง, วางแบบแผน, วางโครงการ, ออกอุบาย, วางแผนร้าย, See also: schemer n., Syn. plan |
structure | (สทรัค'เชอะ) n. โครงสร้าง, โครง, โครงร่าง, องค์ประกอบ, ลักษณะ, วิธีการสร้าง, สิ่งก่อสร้าง, ส่วนประกอบที่หยาบกว่าของหิน, แบบแผน, โครงสร้างสังคม. vt. สร้าง, ประกอบ, จัดทำ, จัดตั้ง, ก่อสร้าง., Syn. construction |
ceremonious | (adj) เป็นพิธี, เป็นทางการ, ถูกต้องตามแบบแผน, ถูกระเบียบ |
ceremony | (n) พิธี, พิธีการ, ระเบียบแบบแผน |
convention | (n) การประชุม, สนธิสัญญา, การตกลง, จารีตประเพณี, ประเพณีนิยม, แบบแผน |
conventional | (adj) ตามประเพณีนิยม, ตามแบบแผน, ตามธรรมเนียม |
design | (n) การออกแบบ, แผนการ, โครงการ, แบบแผน, ความตั้งใจ, จุดประสงค์ |
formless | (adj) ไม่มีรูป, ไร้แบบแผน, ไม่มีรูปแบบ |
method | (n) ระเบียบ, วิธี, แบบแผน, วิธีการ |
norm | (n) มาตรฐาน, แบบฉบับ, แบบแผน, รูปแบบ, ค่าเฉลี่ย |
order | (n) ใบสั่ง, คำสั่งซื้อ, ตำแหน่ง, อันดับ, ชั้น, ระเบียบแบบแผน |
pattern | (n) กระสวน, แบบฉบับ, แบบแผน, หุ่น, ลวดลาย, ตัวอย่าง, แบบเสื้อ |
scheme | (n) โครงการ, แบบแผน, แผนการ, หลักสูตร, แผนผัง, กลเม็ด |
stereotype | (n) แบบแผนตายตัว, เครื่องพิมพ์แบบ, ทัศนคติทั่วไป |