กันแซง | (n) flank guard, Thai Definition: กองทำหน้าที่แซงในพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ |
กันแซง | (n) sun-shade made of leaves, Syn. กระแซง, Example: ฉันถือกันแซงเพื่อบังแดด, Count Unit: ผืน |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
เข้าแทรกแซง | (v) take part, See also: take the interest for the benefit of, Syn. แทรกแซง, Example: ธนาคารกลางญี่ปุ่นเข้าแทรกแซงเงินเยนในตลาดนิวยอร์กเมื่อคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา, Thai Definition: เข้าไปเกี่ยวข้องเพื่อมีส่วนได้ส่วนเสีย |
กรรแซง | (กัน-) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแทรก คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแซง ๑ ที่ กัน ๓). |
กระแซง | ดู กระแชง ๒. |
กันแซง ๑ | น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแทรก คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. |
กันแซง ๑ | ดูใน กัน ๓. |
กันแซง ๒ | น. กระแชง เช่น หลังคากันแซง (พงศ. ร. ๓/๘). |
งาแซง | น. งาอย่างหนึ่งคล้ายงาลอบงาไซกันไม่ให้ของข้างในออก แต่ใส่ลงไปได้ ใช้สวมปากข้องปากลันเป็นต้น |
งาแซง | เสาเสี้ยมปลายที่ปักตะแคงระหว่างเสาระเนียด เพื่อกันไม่ให้ช้างกระแทกเสาระเนียด, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น สำหรับตั้งกีดขวางทางเข้าประตูค่ายเป็นต้น. |
แซง ๑ | น. ต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นปรือ. |
แซง ๒ | น. เรียกม้าหลวงหรือช้างหลวงพวกหนึ่งที่จัดให้เดินเลียบไปข้าง ๆ กระบวนแห่หรือกองทัพ ว่า ม้าแซง ช้างแซง, เรียกเรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างกระบวน ว่า เรือแซง. |
แซง ๒ | ก. เบียดหรือเฉียดเพื่อจะขึ้นหน้า เช่น เดินแซง ขับรถแซง แซงคิว |
แซง ๒ | สอดแทรกเข้ามาในระหว่าง เช่น พูดแซง. |
แซงแซว | น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Dicruridae ตาสีแดง ขนสีดำหรือเทาเป็นมัน หางเรียวยาว เว้าตื้นหรือเว้าลึก กินแมลง ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แซงแซวหางปลา[ Dicrurus macrocercus (Vieillot) ] แซงแซวสีเทา ( D. leucophaeus Vieillot), ชนิดที่มีขนหาง ๑ คู่ เป็นก้านยาวออกไป ตรงปลายแผ่ออกเป็นแผงขน มี ๒ ชนิด เรียกกันทั่วไปว่า แซงแซวหางบ่วง คือ แซงแซวหางบ่วงใหญ่ [ D. paradiseus (Linn.) ] และแซงแซวหางบ่วงเล็ก [ D. remifer (Temminck) ], เรียกสิ่งเช่นธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซว ว่า ธงหางแซงแซว. |
แทรกแซง | ก. แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น. |
ธงหางแซงแซว | น. ธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซว. |
เรือแซง | น. เรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างและปิดท้ายกระบวน. |
หนองแซง | (หฺนอง–) น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indicaL. รสมัน มีถิ่นกำเนิดจากอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี. |
กรรแทรก | (กันแซก) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแซง คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแทรก ที่ กัน ๓). |
กระจู้ | น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, จู้ หรือ อีจู้ ก็เรียก. |
กระแจะ ๓ | น. ชื่อรูปปลอกเหล็กสำหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกำลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทำด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สำหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สำหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกำลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้ |
กระแชง ๒ | น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียว, หุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้าง ผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแซง กระแอก หรือ ปะแอด ก็เรียก. |
กระลด | (-หฺลด) น. ร่ม เช่น เทียวทองธงชัย และแซงกระลดชุมสาย (สมุทรโฆษ). |
กะหูด | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่ รูปร่างคล้ายกรวย ปากกว้างคล้ายแตร ตอนปากมีงาแซงเพื่อมิให้ปลาหนีออกมา ใช้ในท้องที่จังหวัดจันทบุรี. |
กันแทรก | (-แซก) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแซง คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. |
กาแวน | น. ชื่อนกขนาดกลาง ชนิด Crypsirina temia (Daudin) วงศ์ย่อย Corvidae ในวงศ์ Corvidae ปากค่อนข้างหนาคล้ายปากอีกา บริเวณหนังส่วนหน้าที่ติดกับโคนปากคล้ายกำมะหยี่สีดำ ม่านตาสีฟ้าสด ลำตัวสีดำ ปลายหางยาวกลมมนแผ่ออกได้คล้ายนกแซงแซง, กระแวน ก็เรียก. |
จู้ ๒ | น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, กระจู้ หรือ อีจู้ ก็เรียก. |
เจ้าเซ็นเต้นต้ำบุด | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง มีตัวอย่างว่า สุดแค้นแสนคมสมเขาสรวล คำสอนข้อนสั่งข้างสิ่งควร ซํ้าข้อส่วนเข้าแซงแข่งซน. |
แชรง | (ชะแรง) ก. แซง, เบียดเสียด, เช่น ไม้มีผลต่างต่าง ช่อช้อยช่างแชรงดวง (ม. คำหลวง จุลพน). |
ซอง | เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายกระบอกแต่มีปากบานกว้าง มีงาแซงใส่ ก้นมีฝาทำด้วยไม้ไผ่เจาะรูปิด |
ธงบรมราชวงศ์น้อย | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับตอนต้นของธงบรมราชวงศ์ใหญ่แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีแดงแปลงเป็นรูปธงยาวเรียว โดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของธงตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงบรมราชวงศ์ใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. |
ธงบรมราชวงศ์ใหญ่ | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง ที่ตรงกลางตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของผืนธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบ มีขนาดกว้างยาวครึ่งหนึ่งของความกว้างของผืนธง ภายในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบมีรูปมงกุฎขัตติยราชนารีประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า ๒ ชั้นเหนือตั่ง และมีตั่งลดตั้งฉัตรกลีบบัว ๕ ชั้น อยู่ ๒ ข้าง รูปเหล่านี้เป็นสีเหลืองเข้ม. |
ธงมหาราชน้อย | น. ธงสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงมหาราชใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. |
ธงเยาวราชน้อย | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระยุพราช แบ่งความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงเยาวราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงเยาวราชใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. |
ธงราชินีใหญ่ | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธงเหมือนธงมหาราชใหญ่ ตอนปลายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง. |
แนม | แทรกแซมหรือแซงเข้าไป เช่น เอาลิ่มแนมให้แน่น, เรือตะเข้แนมทังสองข้าง (สามดวง) |
ปาดหน้า | ก. แซงตัดหน้า ในคำว่า ขับรถปาดหน้า. |
เพรียงเมือง | ก. แทรกแซงบ่อนจิตใจชาวเมือง. |
เรือกราบ | น. เรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น รูปร่างเพรียว หัวท้ายเรียวแหลมและเชิดขึ้นเล็กน้อย เสริมกราบที่แคมยาวตลอด ๒ ข้างลำเรือ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๓๐ คน แล่นเร็วกว่าเรือแซ เป็นเรือที่ใช้ในราชการมาแต่โบราณ ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคใช้เป็นเรือกลอง เรือแซง หรือเรือกันได้. |
ลัน | น. เครื่องดักปลาไหล ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่เหลือข้อไว้ด้านหนึ่ง ที่ปากกระบอกมีงาแซง, กะลัน ก็เรียก. |
เสียด | ก. เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด (นิ. นรินทร์) |
เสียด | เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า |
อีจู้ | น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, กระจู้ หรือ จู้ ก็เรียก. |
Humanitarian intervention | การแทรกแซงด้วยเหตุผลทางมนุษยธรรม [TU Subject Heading] |
Intervention | การแทรกแซง [TU Subject Heading] |
Intervention (International law) | การแทรกแซง (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
RNA interference | การแทรกแซงอาร์เอ็นเอ [TU Subject Heading] |
Streptococeus sanguis | สเตร็ปโตค็อกคัส แซงกวิส [TU Subject Heading] |
African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
constructive intervention | การแทรกแซงอย่างสร้างสรรค์ [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Responsibility to protect | หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต] |
Stalemate | ภาวะจนมุม เป็นคำที่ยืมมาจากเกมหมากรุกและใช้ในความหมายที่ว่า ตกอยู่ในสภาพชะงักงันหรือทางตัน คำนี้จะใช้กันแพร่หลายในด้านการทูต และในด้านการเจรจาระหว่างประเทศ คือ ทั้งสองฝ่ายต่างยึดมั่นในหลักการของแต่ละฝ่าย ซึ่งแตกต่างกันได้ก็ด้วยอาศัยมือที่สาม หรือประเทศที่สามเข้ามาแทรกแซงแก้ไขให้ [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Astrocytoma, Infiltrative | แทรกแซงเข้าไปในเนื้อสมองข้างเดียวอย่างกว้างขวาง [การแพทย์] |
Infiltrate | แทรก, การแทรก, แทรกแซง [การแพทย์] |
Infiltrative Type | ชนิดแทรกแซง [การแพทย์] |
Lymphocytic Infiltration | ลิมโฟไซท์แทรกแซงอยู่ในบริเวณไอซ์เลท [การแพทย์] |
Mesangeal Scarring | การเพิ่มจำนวนของมีแซงเจียลเซลล์ [การแพทย์] |
Mesangial Cells | มีแซงเจียลเซลล์ [การแพทย์] |
Mesangium | มีแซงเจียม [การแพทย์] |
ห้ามแซงรถ | [hām saēng rot] (x) EN: no overtaking ; no passing permitted FR: interdiction de doubler |
การแทรกแซง | [kān saēksaēng] (n) EN: intervention ; interference FR: intervention [ f ] |
การแทรกแซงราคา | [kān saēksaēng rākhā] (n, exp) EN: price control ; price regulation FR: contrôle des prix [ m ] |
การแซงค์ชั่น | [kān saēngchan] (n) EN: sanction |
งาแซง | [ngāsaēng] (n) EN: valve FR: valve [ f ] |
งาแซง | [ngāsaēng] (n) EN: spike fence |
นกคัคคูแซงแซว | [nok khakkhū saēng-saēo] (n, exp) EN: Drongo Cuckoo FR: Coucou surnicou [ m ] ; Coucou surnicou d'Asie [ m ] ; Coucou drongo [ m ] |
นกแซงแซว | [nok saēng-saēo] (n) EN: drongo FR: drongo [ m ] |
นกแซงแซว | [nok saēng-saēo] (n) EN: Dicruridae |
นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก | [nok saēng-saēo hāng būang lek] (n, exp) EN: Lesser Racket-tailed Drongo FR: Drongo à rames [ m ] ; Drongo à longs brins [ m ] ; Petit Drongo à raquettes [ m ] |
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ | [nok saēng-saēo hāng būang yai] (n, exp) EN: Greater Racket-tailed Drongo FR: Drongo à raquettes [ m ] ; Grand Drongo à raquettes [ m ] ; Drongo de paradis [ m ] |
นกแซงแซวหางปลา | [nok saēng-saēo hāng plā] (n, exp) EN: Black Drongo FR: Drongo royal [ m ] ; Drongo ordinaire [ m ] |
นกแซงแซวเล็กเหลือบ | [nok saēng-saēo lek leūap] (n, exp) EN: Bronzed Drongo FR: Drongo bronzé [ m ] |
นกแซงแซวหงอนขน | [nok saēng-saēo ngøn khon] (n, exp) EN: Spangled Drongo ; Hair-crested Drongo FR: Drongo à crinière [ m ] ; Drongo soyeux [ m ] |
นกแซงแซวปากกา | [nok saēng-saēo pāk kā] (n, exp) EN: Crow-billed Drongo FR: Drongo à gros bec [ m ] ; Drongo à bec de corbeau [ m ] |
นกแซงแซวสีเทา | [nok saēng-saēo sī thao] (n, exp) EN: Ashy Drongo FR: Drongo cendré [ m ] ; Drongo gris [ m ] |
ปารีส แซงต์ แชร์กแมง | [Pārīt Saēng Chaēkmaēng] (tm) EN: Paris-Saint-Germain FR: Paris-Saint-Germain [ m ] ; PSG [ m ] |
แทรกแซง | [saēksaēng] (v) EN: intervene (in) ; interfere in ; intrude in ; intercede in ; step into ; meddle in FR: intervenir ; interférer ; se mêler de |
แซง | [saēng] (v) EN: come alongside of ; proceed alongside of ; flank |
แซง | [saēng] (v) EN: overtake ; get ahead of ; surpass FR: dépasser ; doubler ; surpasser |
แซง | [saēng] (v) EN: slip in between ; squeeze through a crowd FR: se faufiler |
แซง | [saēng] (v) EN: scrape ; graze |
แซงค์ชั่น | [saēngchan] (v) EN: sanction |
แซงคิว | [saēng khiū] (v, exp) EN: jump the queue ; cut into the line |
แซงรถ | [saēng rot] (v, exp) EN: overtake a car ; pass (Am.) FR: dépasser un véhicule ; doubler un véhicule |
แซงต์-เอเตียน | [Saēngt-Ētiēn] (tm) EN: Saint-Etienne FR: Saint-Etienne ; AS Saint-Etienne [ m ] |
แซงต์ ทรุยด็อง | [Saēngt Throēidøng] (tm) EN: Sint-Truiden FR: Saint-Trond |
be ahead of | (phrv) อยู่ข้างหน้า, See also: นำหน้า, แซงหน้า, Syn. keep ahead of |
cut in front | (phrv) แซงหน้า |
intervene between | (phrv) เข้ามาแทรกระหว่าง, See also: แทรกแซงระหว่าง, Syn. interpose between |
impinge | (vt) เข้าแทรกแซง, See also: สอดแทรก, บุกรุก, Syn. encroach, interfere, invade |
interfere | (vi) ก้าวก่าย, See also: แทรกแซง, เข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. interlope, intervene, meddle |
interference | (n) การเข้าแทรกแซง, See also: การเข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. intervention, meddlesomeness |
interfering | (adj) ซึ่งก้าวก่าย, See also: ซึ่งแทรกแซง, ซึ่งเข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. meddlesome |
intervention | (n) การแทรกแซง, See also: การก้าวก่าย, Syn. interference, intrusion |
noninterference | (n) การไม่แทรกแซงผู้อื่นหรือประเทศอื่น, Syn. nonintervention, Ant. interference |
nonintervention | (n) การไม่แทรกแซงผู้อื่นหรือประเทศอื่น, Syn. noninterference, apathy, dormancy, Ant. interference |
noninterventionism | (n) การไม่เข้าแทรกแซง |
noninterventionist | (adj) ซึ่งไม่เข้าแทรกแซง |
outpace | (vt) ไปเร็วกว่า, See also: แซงหน้า, มีมากกว่า, ปรับปรุงดีกว่า, Syn. outstrip |
overtake | (vt) ไล่ทัน, See also: ไล่แซง, Syn. pass, outstrip |
overtake | (vi) ไล่ทัน, See also: ไล่แซง, Syn. catch up with |
pull ahead | (phrv) แซง (การแข่งขัน) |
remain ahead | (phrv) พยายามรักษาระดับ (แซง) หน้าไว้ |
remain ahead of | (phrv) อยู่ข้างหน้า, See also: แซงหน้า, Syn. keep ahead of |
remain ahead of | (phrv) พยายามรักษาระดับ (แซง) อยู่ข้างหน้าไว้ |
strike into | (phrv) แทรกแซง, See also: ขัดจังหวะ |
consanguineous | (คอนแซงควิน'เนียส) adj. ซึ่งมีบรรพบุรุษเดียวกัน, ร่วมสายโลหิตเดียวกัน, Syn. consanguine |
consanguinity | (คอนแซงกวิน'นิที) n. การร่วมสายโลหิตเดียวกัน, การมีบรรพบุรุษเดียวกัน, Syn. kinship |
interfere | (อินเทอเฟียร์') vi. แทรกแซง, ยุ่ง, สอดแทรก, ก้าวก่าย, ขัดขา, รบกวน, แย้งกัน., See also: interferer n. interferingly adv. |
interference | (อินเทอเฟีย'เรินซฺ) n. การแทรกแซง, การสอดแทรก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, สิ่งขัดขวาง., See also: interferential adj., Syn. intrusion, intervention, hindrance |
intervene | (อินเทอวีน') vt. แทรกแซง, ก้าวก่าย, เกิดขึ้นระหว่าง, เกิดขึ้นโดยบังเอิญและขัดขวาง, ยุ่ง, See also: intervener, intervenor n. intervenient adj., Syn. interfere |
intervention | (อินเทอเวน'เชิน) n. การแทรกแซง, การก้าวก่าย, การยุ่ง., See also: interventional adj., Syn. interference |
king-crow | (คิง'โคร) n. นกแซงแซว |
lap | (แลพ) { lapped, lapping, laps } n. หน้าตัก, ตัก, ที่เป็นแอ่ง, ชายเสื้อ, กระพุ้งผ้า, การควบคุม, การรับผิดชอบ, การพับ, การพัน, การคาด, การคาด, การห่อ, การวางซ้อน, การวิ่งรอบ, ส่วนที่เกย v. พับ, พัน, คาด, ห่อ, วางซ้อน, วิ่งแซงหน้าไปหนึ่งรอบ, ก่อเชื่อม, ทับเกย, วิ่งรอบ, เลย. abbr. laparotomy, leucine aminopeptidase, left atrail presaure, leukocyte alkaline phosphatase |
pass | (พาส) v. ผ่าน, แซง, ยติ, นำส่ง, n. ถนน, หนทาง, สิทธิผ่าน, การสอบผ่าน, บัตรผ่าน การส่งลูก, ท่าส่งลูก, การบินผ่าน, การเปลี่ยน, การล่วงของเวลา |
sacrosanct | (แซค'โรแซงทฺ) adj. ศักดิ์สิทธิ์, ล่วงเกินไม่ได้, ล่วงละเมิดไม่ได้., See also: sacrosanctity n. sacrosanctness n. |
sanctified | (แซงคฺ'ทิไฟดฺ) adj. ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ศักดิ์สิทธิ์, พ้นบาป, ล้างบาปแล้ว, แสร้งทำเป็นศักดิ์สิทธิ์., See also: sanctifiable adj. sanctification n. sanctifier n., Syn. consecrated |
sanctify | (แซงคฺ'ทิไฟ) vt. ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ทำให้พ้นบาป, อวยพร, ทำให้ยุติธรรม |
sanctimonious | (แซงคฺทะโม'เนียส) adj. แสร้งทำเป็นศักดิ์สิทธิ์, แสร้งทำเป็นถูกต้อง, See also: sanctimoniousness n., Syn. hypocritical, affected |
sanctimony | (แซงคฺ'ทะโมนี) n. การแสร้งทำเป็นศักดิ์สิทธิ์, การแสร้งทำเป็นถูกต้อง, การแสร้งทำเป็นซื่อสัตย์ |
sanction | (แซงคฺ'เชิน) n. การลงโทษ, การอนุญาตเป็นทางการ, สิ่งที่สนับสนุนการกระทำ, บทลงโทษ, การให้สัตยาบัน. vt. ลงโทษ, อนุญาต, อนุมัติ, เห็นด้วย, ยอมให้, ให้สัตยาบัน., See also: sanctionable adj. sanctioner n. |
sanctitude | (แซงคฺ'ทิทิวดฺ) n. ความศักดิ์สิทธิ์, ความเป็นนักบุญ, จิตใจที่สะอาดบริสุทธิ์, การมีคุณความดีมากและสูงส่ง, Syn. holiness, saintliness |
sanctity | (แซงคฺ'ทิที) n. ความศักดิ์สิทธิ์, ความเป็นนักบุญ, ความสูงส่ง, ความสะอาดบริสุทธิ์, ความน่าเคารพบูชา, สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ้, Syn. saintliness |
sanctum | (แซงคฺ'ทัม) n. สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, ปูชนียสถาน, สถานที่หลบภัยที่มิอาจล่วงล้ำเข้าไปได้, ห้องส่วนตัว, ห้องลับ, ถ้ำ, ห้องบูชาภายใน pl. santums. sancta, Syn. sanctuary |
sang | (แซง) v. กริยาช่อง 2 ของ sing n. โสมคน (ย่อจากginseng) |
sanguinary | (แซงกวะแน'รี) adj. นองเลือด, หลั่งเลือด, กระหายเลือด, เปื้อนเลือด, โหดเหี้ยม, ชอบสังหาร, ดุร้าย, เต็มไปด้วยการสาปแช่ง., See also: sanguinarily adv. sanguinariness n., Syn. bloodthirsty, bloodstained, bloody |
sanguine | (แซง'กวิน) adj. ร่าเริง, เบิกบานใจ, มั่นใจ, (ใบหน้า) แดง, เปล่งปลั่ง, เต็มไปด้วยความหวัง, See also: sanguinely adv. sanguineness n. |
sanguineous | (แซงกวิน'นัส) adj. เกี่ยวกับเลือด, สีเลือด, มีเลือด, นองเลือด, หลั่งเลือด (ใบหน้า) แดง, เปล่งปลั่ง, มั่นใจ, เต็มไปด้วยความหวัง, See also: sanguineousness n. |
sank | (แซงคฺ) v. กริยาช่อง 2 ของ sink |
slingshot | (สลิง'ชอท) n. หนังสติ๊ก, การแซงหน้าอย่างฉับพลันของรถคันหลัง |
interfere | (vi) แย้งกัน, สอดแทรก, แทรกแซง, รบกวน |
interference | (n) การสอดแทรก, การแทรกแซง, การรบกวน |
intermeddle | (vi) แทรกแซง, ก้าวก่าย, เลือก |
interpose | (vi, vt) สอดแทรก, พูดสอด, ขวาง, ก้าวก่าย, แทรกแซง, กั้นกลาง, ห้ามปราม |
intervene | (vi) อยู่ระหว่าง, ก้าวก่าย, แทรกแซง |
intervention | (n) การแทรกแซง, การก้าวก่าย |
meddle | (vi) ยุ่งเกี่ยว, แทรกแซง, เสือก |
meddler | (n) คนชอบยุ่ง, คนชอบแทรกแซง, คนชอบเสือก |
meddlesome | (adj) ชอบยุ่ง, ชอบแทรกแซง, ชอบเสือก |
mesne | (adj) กึ่งกลาง, แทรกแซง, ซึ่งสอดแทรก |
overrun | (vt) เต็มไปด้วย, ขึ้นหน้า, แซง, แผ่, ย่ำยี |