แง่ | (n) trick, See also: game, cheat, Syn. เหลี่ยม, ชั้นเชิง, นัย, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, Example: อย่าแล่นแง่กับพวกนี้เด็ดขาดเพราะพวกเขาฉลาดมาก, Count Unit: แง่ |
แง่ | (n) angle, See also: viewpoint, standpoint, point of view, Syn. แง่มุม, มุมมอง, ประเด็น, Example: ต้นเหตุของปัญหานี้มองกันได้หลายแง่, Count Unit: แง่ |
แง่ | (n) edge, See also: corner, border, Syn. ขอบ, สัน, Example: เดินระวังหน่อยนะเพราะว่าแง่หินบริเวณนี้คมมาก, Thai Definition: ส่วนที่เป็นเหลี่ยมเป็นสันเป็นมุมหรือส่วนที่ยื่นออกมา เช่น แง่หิน แง่โต๊ะ |
แง่ง | (clas) rhizome, See also: rootstock, stem, Syn. ราก, Example: ถ้าไปตลาดแล้วอย่าลืมซื้อขิงมาซัก 2 แง่งนะ, Count Unit: แง่ง, Thai Definition: ส่วนที่งอกเป็นแง่ออกมาจากเหง้าขิงข่ากะทือ เป็นต้น |
แง่ง | (n) root, See also: rhizome, Example: ขิงหยวกจะมีแง่งใหญ่ ข้อห่าง เนื้อละเอียดไม่มีเสี้ยนหรือมีแต่น้อยมาก, Thai Definition: ส่วนที่งอกเป็นแง่ออกมาจากเหง้าขิงข่ากะทือเป็นต้น |
แง่น | (v) gnaw, See also: bite, bare the teeth in order to bite, Syn. กัด, Example: ดูหมาตัวนั้นสิ ท่าทางน่ากลัวระวังมันจะแง่นเอานะ, Thai Definition: แยกเขี้ยวจะกัด (อย่างหมา) |
แง่ดี | (n) optimism, See also: looking on the bright/good side, Syn. แง่บวก, Ant. แง่ร้าย, Example: แม่ก็ต้องเอาแต่แง่ดีของลูกมาพูดให้คนอื่นฟังอยู่แล้ว, Thai Definition: นัยว่าเป็นเรื่องที่ดีงาม |
ในแง่ | (adv) in the sense of, See also: in the meaning of, in respect to/of, Syn. ในทาง, ในด้าน, Example: ผู้ที่คิดจะทำงานนี้ จะต้องดูให้ดีในแง่ความต้องการด้านคุณภาพ |
แง่งอน | (n) artifice, See also: stratagem, trick, ruse, Syn. ชั้นเชิง, มารยา, เกี่ยงงอน, ข้อแม้, Example: เขาลงนามในสัญญาโดยปราศจากแง่งอน, Thai Definition: อาการที่แสร้งทำชั้นเชิงเพื่อให้ผู้อื่นเอาใจหรือให้เป็นที่พอใจตน |
แง่บวก | (adj) positive, Syn. แง่ดี, Ant. แง่ลบ, Example: การเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาสนั้น ข้อสำคัญคือจะต้องมีความคิดในแง่บวกอยู่เสมอ, Thai Definition: ในด้านดี |
แง่มุม | (n) part, See also: aspect, angle, viewpoint, point of view, slant, Syn. มุมมอง, ส่วน, ประเด็น, Example: ผู้ร่วมสัมมนาเสนอความเห็นในแง่มุมต่างๆ |
น้อยแง่ | (adj) trickless, Example: ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นพวกน้อยแง่ที่ไม่สามารถตามเขาทัน, Thai Definition: ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม |
เข้าแง่ | (v) be reasonable, See also: be rational, be sensible, Syn. ตรง, ตรงจุด, Example: เรื่องที่เขาเล่ามาฟังดูเข้าแง่กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นดีทีเดียว, Thai Definition: ถูกที่เหมาะ, ถูกที่สำคัญ |
เล่นแง่ | (v) hold off, See also: hold out, stand off, Syn. เล่นตัว, Example: ผู้หญิงคนนี้เล่นแง่นัก ปฏิเสธคนที่มาสู่ขอหลายคนแล้ว, Thai Definition: ไม่ยอมทำตามที่งอนง้อหรือขอร้อง เพราะถือว่าตัวดี |
แง่ร้าย | (n) pessimism, See also: inclination to expect the worst, Ant. แง่ดี, Example: เธอคำนึงถึงแต่แง่ร้ายของเขา เลยเอาแต่ระแวงเขาตลอด, Thai Definition: นัยว่าเป็นเรื่องไม่ดี |
ง่องแง่ง | (adv) lamely, See also: limpingly, slowly, difficulty, Syn. กระง่องกระแง่ง, กระย่องกระแย่ง, Ant. กระฉับกระเฉง, Example: เขาเดินง่องแง่งไปที่เตียง, Thai Definition: อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรงทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด |
ง่องแง่ง | (v) quibble, See also: carp, niggle, argue over petty things, Syn. ทะเลาะ, ขัดแย้ง, ถกเถียง, โต้แย้ง, ไม่ลงรอย, Ant. ปรองดอง, เห็นด้วย, Example: สมพงษ์ง่องแง่งกับวราภาทุกครั้งที่เจอกัน, Thai Definition: ทะเลาะเบาะแว้งกัน, ไม่ปรองดองกัน |
ง่อนแง่น | (v) be unstable, See also: be unsteady, be changeable, be variable, Syn. คลอนแคลน, กระท่อนกระแท่น, ไม่มั่นคง, สั่นคลอน, Ant. มั่นคง, แข็งแรง, Example: ในที่สุดทหารจะเสื่อมศรัทธาในรัฐบาลและเสถียรภาพของรัฐบาลจะต้องง่อนแง่นอย่างแน่นอน |
ง่อนแง่น | (v) be rickety, See also: be unstable, be shaky, be unsteady, Syn. คลอนแคลน, สั่นคลอน, Ant. มั่นคง, แน่น, แข็งแรง, Example: ระวังสะพานไม้ข้างหน้าให้ดีเพราะมันง่อนแง่นเก่ามากเต็มทีแล้ว |
ในแง่ที่ | (adv) in case of, See also: in the even of, if there should happen to be, Syn. ในแง่, Example: ผู้คนเห็นใจเขาในแง่ที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน |
ทุกแง่ทุกมุม | (n) every aspect, See also: looked at from all directions, seen from all angles, Example: เขาได้เห็นชีวิตมาทุกแง่ทุกมุมแล้ว |
สองแง่สองง่าม | (adj) double-meaning, Example: คนดูพอใจในคำพูดสองแง่สองง่ามของตัวตลก |
ในอีกแง่หนึ่ง | (conj) on the other hand, Syn. ในอีกทางหนึ่ง, อีกประการหนึ่ง |
กระง่องกระแง่ง | (adv) falteringly, See also: swayingly, unsteadily, Syn. กระย่องกระแย่ง, ง่องแง่ง, Example: หลังจากอุบัติเหตุครั้งนั้นแล้วเธอต้องเดินกระง่องกระแง่ง, Thai Definition: อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรง ทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด |
กระง่อนกระแง่น | (adv) infirmly, See also: shakily, feebly, Syn. คลอนแคลน, งอนแง่น, Ant. แน่น, มั่นคง, Example: ราวตากผ้าหลังบ้านเอียงกระง่อนกระแง่น, Thai Definition: ง่อนๆ แง่นๆ, คลอนแคลน, ไม่แน่น |
กระง่องกระแง่ง | ว. ง่องแง่ง. |
กระง่อนกระแง่น | ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า. |
ขุนนางใช่พ่อแม่ หินแง่ใช่ตายาย | ถ้าไม่ใช่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยายของตน ก็ไม่ควรไว้วางใจใคร, ทำนองเดียวกับภาษิตที่ว่า อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง. |
เข้าแง่ | ก. ถูกที่เหมาะ, ถูกที่สำคัญ. |
ง่อกแง่ก | ว. โยกคลอนไปมา, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง. |
ง่องแง่ง | ว. อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรงทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระง่องกระแง่ง ก็ว่า. |
ง่องแง่ง | ก. ทะเลาะเบาะแว้งกัน, ไม่ปรองดองกัน, เช่น พี่น้องคู่นี้ง่องแง่งกันเสมอ. |
ง่อนแง่น | ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, กระง่อนกระแง่น ก็ว่า. |
แง่ ๑ | น. ส่วนที่เป็นเหลี่ยมเป็นสันเป็นมุมหรือส่วนที่ยื่นออกมา เช่น แง่หิน แง่โต๊ะ, โดยปริยายหมายความว่า เหลี่ยม, ชั้นเชิง, เช่น ชาวแพแผ่แง่ค้าขายของ (นิ. นรินทร์), นัย. |
แง่งอน | น. อาการที่แสร้งทำชั้นเชิงเพื่อให้ผู้อื่นเอาใจหรือให้เป็นที่พอใจตน. |
แง่ ๒ | น. ตัว เช่น แต่งแง่ (จารึกสยาม), มิแต่งแง่ให้แม่ชม มิหวีผมให้แม่เชย (ลอ). |
แง่ง ๑ | น. ส่วนที่งอกเป็นแง่ออกมาจากเหง้าขิงข่ากะทือเป็นต้น. |
แง่งขิง | น. เครื่องประดับยอดปรางค์ ทำเป็นรูปหอก มีกิ่งเป็นรูปดาบแตกสาขาออกไป ๔ ทิศ, ฝักเพกา ลำภุขัน สลัดได นพศูล หรือ นภศูล ก็เรียก. |
แง่ง ๒, แง่ง ๆ | ว. เสียงขู่ของหมาเมื่อจะกัดกันในเวลาแย่งอาหารกันเป็นต้น. |
แง่น | ก. แยกเขี้ยวจะกัด (อย่างหมา). |
แง่น ๆ | ว. แสดงกิริยาโกรธอย่างหมาจะกัด. |
แง้ม | ก. เปิดแต่น้อย ๆ เช่น แง้มประตู. |
แง้ม | น. ริม, ข้าง, เช่น ปากคลองบางกอกน้อยแง้มขวา. |
เจ้าแง่เจ้างอน, เจ้าแง่แสนงอน | ว. มีแง่งอนมาก. |
ชะแง้ | ก. เหลียวแลดู, เฝ้าคอยดู, เช่น ว่าจากเรือนเหมือนนกมาจากรัง อยู่ข้างหลังก็จะแลชะแง้คอย (อภัย). |
ตะแง้ | น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าว ว่า ตะแง้หมาก ตะแง้ข้าว, ระแง้ ก็เรียก. |
ตั้งแง่ | ก. ทำชั้นเชิง, คอยหาเรื่องจับผิด. |
น้อยแง่ | ก. น้อยหน้า |
น้อยแง่ | ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม. |
แผ่แง่ | ก. แสดงท่าทางท่วงทีเป็นชั้นเชิง. |
ระแง้ | น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าว ว่า ระแง้หมาก ระแง้ข้าว, ตะแง้ ก็ว่า. |
เล่นแง่ | ก. หาแง่มาขัดขวางไม่ให้เป็นไปอย่างสะดวกเพื่อเอาเปรียบหรือแสดงว่าตนเหนือกว่า เช่น เล่นแง่ในทางกฎหมาย. |
สองแง่สองง่าม | ว. มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย ทั้งความหมายธรรมดาและความหมายที่ส่อไปในทางหยาบโลน (มักใช้ในปริศนาคำทาย) เช่นนอนสูงให้นอนคว่ำ นอนต่ำให้นอนหงาย. |
สองแง่สองมุม | ว. มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย เช่นสาบานขอให้ตายใน ๗ วัน. |
หัวแง่ | น. ส่วนที่เป็นเหลี่ยมเป็นสันเป็นมุมหรือส่วนที่ยื่นออกมา, แง่ ก็ว่า. |
กระต่ายชมจันทร์ | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตั้งวงสูง ระดับแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายระดับข้างลำตัว เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบ |
กระหวัดเกล้า | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งตั้งวงกลาง เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่ตั้งวง. |
กระแหน่ | น. เล่ห์กล, แง่งอน, ท่วงที, เช่น ข้ากระไดกระแหน่ แต่งแง่แผ่ตนท่า (ลอ). |
กะโรกะเร | ก. ง่อนแง่น, จวนจะล้ม. |
กันเมียง | น. เด็ก, โบราณเขียนเป็น กันมยง เช่น แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี อันกันมยงทักแท่ให้แต่งแง่ดูงาม (ม. คำหลวง ทศพร). |
กินนรฟ้อนโอ่ | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างใดข้างหนึ่งตั้งหงาย หักข้อมือระดับแง่ศีรษะ อีกมือหนึ่งตั้งวงกลางข้างลำตัว แขนตึง. |
กินนรรำ | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตั้งวงสูงระดับแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงาย แขนตึงเฉียงไปด้านหน้าเล็กน้อย เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่ตั้งวง |
เกี่ยว | ก. อาการที่สิ่งงอเป็นขอเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น ทอดสมอให้เกี่ยวแง่หินไว้, เอาของที่มีลักษณะเช่นนั้นเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น เอาขอเกี่ยว, ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เช่น เรื่องนี้อันตรายมากอย่าเอาตัวเข้าไปเกี่ยวเลย, เกี่ยวข้อง ก็ว่า |
แกละ | (แกฺละ) น. ผมเด็กผู้ชายที่เอาไว้เป็นแหยมตรงแง่ศีรษะ เรียกว่า ผมแกละ. |
ขนมขิง | น. ขนมทำด้วยแป้งข้าวเจ้า ปั้นเป็นรูปเหมือนแง่งขิง ทอดให้กรอบแล้วฉาบน้ำตาลทราย. |
ขรุขระ | (ขฺรุขฺระ) ว. เป็นปุ่มเป็นแง่, ไม่เรียบราบ. |
ขอนทิ้งอก | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายเข้าอก เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบเข้าอก. |
ขันหมาก ๓ | น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นเหมือนจำปา รากเป็น ๓ แง่ ดอกเหมือนบอน ลูกเหมือนแตงกวา. |
ขี่ม้าตีคลี | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย ระดับแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งตั้งวง แขนตึง ระดับไหล่ เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบ. |
เข้ารัง | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายข้างเอวด้านเดียวกัน เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือต่ำ. |
คงคา ๒ | น. ชื่อหวายชนิดหนึ่ง ต้นเหมือนต้นสามสิบ รากเหมือนรากละหุ่ง ใบเหมือนใบละหุ่ง หัวเป็นแง่ง ยางขาวเหมือนนม. |
คลอนแคลน | (-แคฺลน) ว. ง่อนแง่น, ไม่มั่นคง, เช่น ฐานะคลอนแคลน. |
งับแง | ก. แง้ม, ปิดไม่สนิท. |
เงี่ยง ๑ | น. กระดูกแหลมของปลาบางชนิด เช่น ปลากระเบนมีเงี่ยงที่โคนหาง หรือปลาดุกมีเงี่ยงที่ครีบอก, แง่ของสิ่งของบางอย่าง มีรูปหยักตอนปลายเช่นเบ็ดหรือลูกศร. |
จรดพระเมรุ | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งหงาย งอข้อศอก หักข้อมือ ระดับแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงาย แขนตึง ระดับไหล่ เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่แขนตึง. |
Barrel per Day | อัตราการผลิตน้ำมันที่ผลิตได้ต่อวัน (ความหมายในแง่การผลิต) [ปิโตรเลี่ยม] |
Barrel per Day | ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง, ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับวันที่หยุดและซ่อมแซมอุปกรณ์) (ความหมายในแง่การกลั่น) [ปิโตรเลี่ยม] |
Economic aspects | แง่เศรษฐกิจ [TU Subject Heading] |
Educational aspects | แง่การศึกษา [TU Subject Heading] |
Environmental aspects | แง่สิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] |
Genetic aspects | แง่พันธุศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Health aspects | แง่สุขภาพและอนามัย [TU Subject Heading] |
Identity (Philosophical concept) | เอกลักษณ์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
Immunological aspects | แง่ภูมิคุ้มกันวิทยา [TU Subject Heading] |
Moral and ethical aspects | แง่ศีลธรรมจรรยา [TU Subject Heading] |
Nutritional aspects | แง่โภชนาการ [TU Subject Heading] |
Physiological aspects | แง่สรีรวิทยา [TU Subject Heading] |
Political aspects | แง่การเมือง [TU Subject Heading] |
Psychic aspects | แง่จิตวิญญาณ [TU Subject Heading] |
Psychological aspects | แง่จิตวิทยา [TU Subject Heading] |
Religious aspects | แง่ศาสนา [TU Subject Heading] |
Social aspects | แง่สังคม [TU Subject Heading] |
Sociological aspects | แง่สังคมวิทยา [TU Subject Heading] |
Strategic aspects | แง่ยุทธศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Superman (Philosophical concept) | อภิมนุษย์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
Symbolic aspects | แง่สัญลักษณ์ [TU Subject Heading] |
award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
บริหารงานสุขภาพจิต | บริหารงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานในแง่การบริหารงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุข และเครือข่ายที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ โดยอาจสอดแทรกในการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต เพื่อให้บรรลุวัถุประ [สุขภาพจิต] |
creativity | ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Incompatibility, Chemical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่เคมี [การแพทย์] |
Incompatibility, Physical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่กายภาพ [การแพทย์] |
Incompatibility, Therapeutic | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่ของการรักษาโรค [การแพทย์] |
Intellectual Process Level Problem Solving | ความรู้ความสามารถในแง่การแก้ปัญหา [การแพทย์] |
เล่นแง่ | [len ngaē] (v, exp) EN: play tricks FR: jouer un tour |
เล่นแง่ทางกฎหมาย | [len ngaē thāng kotmāi] (n, exp) EN: use legal dodges |
มองโลกในแง่ดี | [møng lōk nai ngaē dī] (adj) EN: optimistic FR: optimiste |
มองในแง่ดี | [møng nai ngae dī] (v, exp) FR: être optimiste ; voir le bon côté des choses |
มองในแง่ร้าย | [møng nai ngae rāi] (v, exp) EN: look at the dark side ; be pessimistic FR: être pessimiste ; voir le mauvais côté des choses |
แง่ | [ngaē] (n) EN: corner ; angle ; edge ; jag ; ledge ; protuberance FR: coin [ m ] ; angle [ m ] ; saillie [ f ] ; rebord [ m ] ; aspérité [ f ] |
แง่ | [ngaē] (n) EN: point of view ; angle ; aspect ; viewpoint ; standpoint FR: point de vue [ m ] ; angle [ m ] ; aspect [ m ] ; côté [ m ] |
แง่บวก | [ngāe būak] (adj) EN: positive |
แง่ดี | [ngāe dī] (n, exp) EN: optimism looking on the bright/good side |
แง่หิน | [ngaē hin] (n) EN: ledge ; edges of a rock ; edges of a stone FR: saillie [ f ] |
แง่คิด | [ngaē khit] (n, exp) EN: point of view FR: point de vue [ m ] ; aspect [ m ] |
แง้ม | [ngaēm] (v) EN: be ajar ; open slightly ; be half-closed FR: entrouvrir ; entrebâiller |
แง่มุม | [ngaēmum] (n) EN: part ; aspect ; angle ; viewpoint ; point of view ; slant FR: aspect [ m ] |
แง่งอน | [ngaē-ngøn] (n) EN: artifice ; stratagem ; trick ; ruse FR: ruse [ f ] ; astuce [ f ] ; artifice [ m ] ; stratagème [ m ] |
แง่ร้าย | [ngae rāi] (v) EN: pessimism ; inclination to expect the worst FR: pessimisme [ f ] |
สองแง่สองง่าม | [søng ngaē søng ngām] (adj) EN: double-meaning |
angle | (n) แง่มุมในการพิจารณา, See also: แง่ ความเห็น, มุมมอง, Syn. standpoint, outlook, perspective |
aspect | (n) มุม, See also: ด้าน, แง่มุม |
cat | (n) หญิงที่ถูกว่าในแง่ร้าย |
cheerful | (adj) มีความสุขและมองโลกในแง่ดี, See also: สดชื่น, ร่าเริง, แช่มชื่น, สดใส, Syn. gay, merry, optimistic, Ant. unhappy, depressed |
cheerfully | (adv) อย่างร่าเริง, See also: อย่างมีความสุขและมองโลกในแง่ดี, Syn. cheerily, happily, Ant. sadly, morosely |
dodder along | (phrv) เดินโซเซ, See also: เดินง่อกแง่ก, เดินโงนเงน |
fling at | (phrv) แสดง (ความคิดเห็นในแง่ลบ) อย่างรุนแรงกับ |
flimsy | (adj) ไม่แข็งแรง, See also: ง่อนแง่น, Syn. fragile, frail, rickety, Ant. firm, strong |
in an interesting condition | (idm) ตั้งท้อง (ในแง่ขบขัน), See also: มีครรภ์ |
land of Nod | (idm) หลับ (ในแง่อารมณ์ขัน) |
sacred cow | (idm) สิ่งหวงห้าม, See also: สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่ควรหลบหลู่, สิ่งที่ไม่ควรพูดถึงในแง่ไม่ดี |
think a great deal of | (idm) นึกถึงในแง่ดี |
think a lot of | (idm) นึกถึงในแง่ดี |
think highly of | (idm) นึกถึงในแง่ดี |
think much of | (idm) นึกถึงในแง่ดี |
idea | (n) ความคิด, See also: ความนึกคิด, ความคิดเห็น, ความเชื่อ, แง่คิด, มุมมอง, มโนคติ, Syn. concept, opinion, thought |
in case | (adv) ในกรณีของ, See also: ในแง่ของ, Syn. in the case of, in the event of |
in case of | (prep) ในกรณีที่เป็น, See also: ในแง่ของ, Syn. in the event of, if it should happen that |
many-sided | (adj) หลายด้าน, See also: หลากหลาย, หลายแง่, Syn. polyhedral |
multifaceted | (adj) ซึ่งมีหลายแง่มุม, Syn. complex, versatile |
multiplex | (adj) ที่มีหลากหลายด้าน, See also: ซึ่งมีหลายแง่มุม |
optimism | (n) การมองในแง่ดี, Ant. pessimism |
optimist | (n) ผู้ที่มองโลกในแง่ดี, Ant. pessimist |
dis | (prf) จาก, See also: แตกไป, ไม่, ใช้แสดงความหมายในแง่ลบ |
pessimism | (n) การมองโลกในแง่ร้าย |
pessimism | (n) ลัทธิมองโลกในแง่ร้าย |
pessimistic | (adj) ที่มองโลกในแง่ร้าย, Syn. fatalistic, desponding, downbeat |
phase | (n) มุมมอง, See also: แง่มุม, แง่, Syn. aspect, point of view, side |
point | (n) ประเด็น, See also: ข้อ, แง่, หัวข้อ, เรื่อง, Syn. idea, matter |
point of view | (n) ความเห็น, See also: แง่คิด, มุมมอง, Syn. outlook, opinion |
positive | (adj) ทางบวก, See also: แง่บวก, ซึ่งมองในแง่ดี, Syn. optimistic, bright, confident, Ant. pessimistic |
pun | (n) คำที่มีความหมายสองนัย, See also: คำที่พูดสองแง่สองง่าม, Syn. witticism, quibble |
rickety | (adj) จวนจะพัง, See also: ง่อนแง่น, จวนจะแตกหัก, Syn. ramshackle, shaky, unstable |
roseate | (adj) มองโลกในแง่ดี, Syn. optimistic |
rose-colored | (adj) เหมือนสีกุหลาบ, See also: ซึ่งมองโลกแง่ดี, Syn. rose, hopeful |
rosy | (adj) มีความหวัง, See also: ร่าเริงเบิกบาน, มองโลกในแง่ดี, Syn. bright, hopeful, optimistic, promising |
Keep your pecker up | (sl) มองในแง่ดีไว้ |
side | (n) แง่มุม, See also: แง่, กรณี |
slur | (vt) พูดถึงคนอื่นในแง่ไม่ดี, See also: ทำให้แปดเปื้อน, พูดใส่ร้ายป้ายสี, Syn. defame, slander, vilify, Ant. praise |
standpoint | (n) ทัศนคติ, See also: แง่คิด, ความคิดเห็น, ความเห็น, Syn. attitude, viewpoint, opinion |
starry-eyed | (adj) เพ้อฝัน, See also: ซึ่งมองโลกในแง่ดีเกินไป, Syn. idealistic, dreamy |
topple | (vi) ง่อนแง่น, See also: ไม่มั่นคง |
tottery | (adj) ที่ไม่มั่นคง, See also: สั่นคลอน, ง่อนแง่น, Syn. weak, rattletrap |
trick | (vi) ใช้เล่ห์เหลี่ยม, See also: เล่นแง่ |
upbeat | (adj) มีความหวัง, See also: มองโลกในแง่ดี, Syn. optimistic, positive, Ant. pessimistic |
vis-a- vis | (prep) ในแง่ของ, See also: ในเรื่องของ, Syn. in relation to, regarding |
whatsoever | (adv) ไม่ว่าอะไรก็ตาม (แสดงการเน้นและใช้ในแง่มุมลบ) |
blankly | (แบลง'คลี) adj. ไม่ยิ้มแย้มแจ่มใส, มีใบหน้าที่เฉยเมย, ทั้งหมด, ทุกแง่ทุกมุม, Syn. fully |
circumstantial | adj. ตามสถานการณ์, ตามสภาพแวดล้อม, ไม่สำคัญ, บังเอิญ, เป็นรอง, ละเอียด, โดยเฉพาะ, ทุกแง่ทุกมุม, Syn. provisional -A.definite |
circumstantiate | (เซอคัมสแทน'ชิเอท) vt. ยืนยัน, เสนอข้ออ้างอิงเพื่อยืนยัน, อธิบายอย่างละเอียดทุกแง่ทุกมุม, See also: circumstantiation n. ดูcircumstantiate |
civil death | n. การตายในแง่นิตินัย |
crapehanger | (เครพ'แฮงเกอะ) n. คนที่มองในแง่ร้าย, คนที่เศร้าหมอง |
crepehanger | (เครพ'แฮงเกอะ) n. คนที่มองในแง่ร้าย, คนที่มีนิสัยฉุนเฉียว |
dim | (ดิม) { dimmed, dimming, dims } adj. ทึบ, หมอง, สลัว, ไม่สว่าง, พร่า, คลุมเครือ, เลือนราง, เชื่องช้า, ท้อแท้, หมอง, ไม่แจ่มแจ้ง -Phr. (take a dim view of สงสัย, มองในแง่ร้าย) vt., vi. (ทำให้) ทึบ, (ทำให้) หมอง, ทำให้ (เลือนราง) ., See also: dims n., pl. ไฟสลัว, ไฟหรี่ |
facet | (แฟส'ชิท) n. ด้าน, เหลี่ยม, หน้าของเพชรพลอยที่เจียระไนแล้ว, หน้าประกบ, หน้า, หน้าเล็ก ๆ ของตาแมลง, แง่ปัญหา. vt. เจียระไน |
gloomy | (กลูม'มี) adj. มืดคลึ้ม, ห่อเหี่ยวใจ, หมดหวัง, มองในแง่ร้าย., See also: gloomily adv. gloominess n., Syn. sad, moody, dark |
obvert | (ออบเวิร์ท) vt. พลิกให้เห็นอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนด้านดู, เปลี่ยนหน้าดู, เปลี่ยนเป็นแง่ตรงข้าม |
optimise | (ออพ'ทะไมซฺ) vi. มองในแง่ดี. vt. ทำให้มีผลดีที่สุด, ทำให้เหมาะที่สุด, เขียนโปรแกรมให้ได้ผลดีที่สุด (ของคอมพิวเตอร์), See also: optimisation n., Syn. optimize |
optimism | (ออพ'ทิมิสซึม) n. การมองในแง่ดี, ลัทธิความเบิกบานใจ |
optimist | (ออพ'ทะมิสทฺ) n. ผู้มองในแง่ดี, ผู้มองโลกในแง่ดี |
optimistic | (ออพทะมิส'ทิค) adj. ซึ่งมองในแง่ดี, ซึ่งมองโลกในแง่ดี, เกี่ยวกับลัทธิเบิกบานใจ., See also: optimistical adj. optimistically adv., Syn. hopeful |
pessimism | (เพส'ซะมิสซึม) n. การมองดูในแง่ร้าย, ลัทธิมองโลกในแง่ร้าย, การหมดอาลัยตายอยาก, Syn. gloom |
pessimist | (เพส'ซะมิสทฺ) n. ผู้มองดูในแง่ร้าย, ผู้ยึดถือลัทธิมองโลกในแง่ร้าย, ผู้หมดอาลัยตายอยาก |
pessimistic | (เพสซะมิส'ทิค) adj. มองดูในแง่ร้าย, มองโลกในแง่ร้าย, หมดอาลัยตายอยาก, Syn. depressed |
phase | (เฟสฺ) n. ระยะ, ระยะโรค, ขั้น, ตอน, แง่, ช่วง, ด้าน, หน้า, รูปแบบ, รูป, ลำดับ. vt. ทำให้เป็นขั้นตอน, ทำให้ประสานกัน, ทำให้ดำเนินการไปตามแผน. -Phr. (phase in ค่อย ๆ ใช้สอยตามลำดับ) |
point of view | ความเห็น, แง่คิด, Syn. standpoint |
principle | (พริน'ซะเพิล) n. หลัก, หลักการ, กฎ, ศีลธรรม, ลัทธิ, หลักศีลธรรม, ตัวยา. -Phr. (in principle ในแง่ทฤษฎี), Syn. rule |
queuing theory | ทฤษฎีรอคอยเป็นทฤษฎีที่ศึกษาเรื่องของแถวคอย โดยศึกษาในหลาย ๆ แง่ เช่น เวลารอคอยในแถว ความยาวเฉลี่ยของแถว ประสิทธิภาพของจุดให้บริการแถวคอย ตามปกติ มักมีลักษณะเป็นเครือข่าย (network) พื้นฐานของทฤษฎีแถวคอย ใช้หลักของความเป็นไปได้ (possibility) |
ransack | (แรน'แซค) vt. ค้นหาทุกแง่ทุกมุม, ค้นหากระจุยกระจาย, ปล้นสะดม., See also: ransacker n., Syn. search, scour, plunder |
rickety | (ริค'คิที) adj. ล้มได้ง่าย, โคลงเคลง, ง่อนแง่น, ขี้โรค, มีข้อต่อที่อ่อนแอ, โซเซ, ไม่มั่นคง, ไม่ปกติ, เกี่ยวกับโรคกระดูกอ่อน, See also: ricketiness n., Syn. infirm |
rosily | (โร'ซะลี) adv. ด้วยสีกุหลาบ, ร่าเริง, เบิกบานใจ, มองโลกในแง่ดี, อย่างสบายใจ |
rosy | (โร'ซี) adj. ชมพู, แดงอมชมพู, สีกุหลาบ, ร่าเริง, เบิกบานใจ, ดีงาม, มองโลกในแง่ดี, ทำด้วยกุหลาบ, ประดับด้วยกุหลาบ, See also: rosiness n., Syn. fresh, rubicund, promising |
spine | (สไพน์) n. ลำกระดูกสันหลัง, กระดูกสันหลัง, ส่วนที่คล้ายกระดูกสันหลัง, หนาม, หนามกระดอง, สิ่งที่แหลม, ความแข็งแกร่งของจิตใจ, ความแน่วแน่, สัน, แง่ง, สันหนังสือ., See also: spined adj., Syn. spinal column, ridge |
standpoint | n. จุดยืน, หลัก, แง่คิด, ทัศนคติ, Syn. position, point of, view |
starry-eyed | (สทา'รีไอดฺ) adj. เพ้อฝัน, มองโลกในแง่ดีเกินไป |
viewpoint | (วิว'พอยทฺ) n. ทัศนคติ, ข้อสังเกต, ข้อคิดเห็น, แง่คิด, ความคิดเห็น |
conditional | (adj) โดยมีข้อแม้, เล่นแง่, เกี่ยงงอน, ขึ้นอยู่กับ |
equivocal | (adj) สองแง่สองง่าม, มีสองนัย, กำกวม, ไม่แน่ชัด, ไม่แน่นอน |
equivocate | (vi) พูดสองแง่สองง่าม, พูดกำกวม, พูดอ้อมค้อม, พูดสองนัย |
equivocation | (n) การพูดสองแง่สองง่าม, การพูดอ้อมค้อม, การพูดกำกวม |
facet | (n) ด้าน, เหลี่ยมเพชรพลอย, แง่ปัญหา |
obverse | (n) แง่, ผิวหน้า |
optimism | (n) การมองโลกในแง่ดี |
optimist | (n) ผู้มองโลกในแง่ดี |
optimistic | (adj) มองโลกในแง่ดี, ในทางดี |
pessimism | (n) การมองโลกในแง่ร้าย |
pessimist | (n) คนมองโลกในแง่ร้าย |
pessimistic | (adj) ซึ่งมองโลกในแง่ร้าย |
rickety | (adj) ขี้โรค, เป็นโรคกระดูกอ่อน, ง่อนแง่น, โคลงเคลง |
side | (n) ด้าน, ข้าง, หน้า, ฝ่าย, แง่, แขนง, กรณี |
slant | (n) การบิดเบือน, ที่ลาดเอียง, ทัศนคติ, แง่คิด |
spine | (n) หนาม, กระดูกสันหลัง, ความแข็งขัน, สัน, แง่ง |
standpoint | (n) แง่คิด, ความเห็น, หลัก, ทัศนคติ, จุดยืน |