กัน ๓ | ก. กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง ทำหน้าที่ถวายอารักขา ว่า เรือกัน. |
เก็บกิน | ก. เก็บผลประโยชน์เอาไว้ใช้สอยยังชีพ เช่น มีห้องแถวอยู่ ๒ ห้องได้อาศัยเก็บกินค่าเช่า. |
แกละ | (แกฺละ) น. ผมเด็กผู้ชายที่เอาไว้เป็นแหยมตรงแง่ศีรษะ เรียกว่า ผมแกละ. |
ของร้อน | น. ของที่มีผู้ขโมยเขาเอามาฝากไว้หรือจำหน่ายให้ ถ้ารับเอาไว้จะทำให้เดือดร้อน |
เข้าพกเข้าห่อ | ก. เอาไว้เป็นส่วนของตัว, รู้จักเก็บไว้บ้าง, รู้จักเก็บไม่ใช้สุรุ่ยสุร่าย. |
คัด ๑ | ก. เลือก, แยกสิ่งที่รวมกันอยู่, เช่น คัดออก คัดเอาไว้ |
ง่ามถ่อ | น. ไม้ที่มีรูปร่างโค้งคล้ายง่ามมือที่เสียบปลายถ่อเอาไว้สำหรับให้หัวไหล่ดันถ่อได้ถนัด มักจะใช้ผ้าพันเพื่อกันไม่ให้ไหล่เจ็บ, เหล็กที่มีรูปร่างโค้งคล้ายเขาควายมีปลอกอัดที่โคนถ่อ ใช้สำหรับตู๊เรือหรือสำหรับกดลงในดินเพื่อไม่ให้โคนถ่อจมลึกลงไป, ลักษณะหัวที่มีผมเถิกเข้าไปเป็น ๒ แฉกเหมือนง่ามถ่อ. |
จุก ๑ | น. ผมเด็ก ๆ ที่ขมวดเอาไว้ตรงขม่อม, ผมจุก หรือ หัวจุก ก็เรียก, ราชาศัพท์ว่า พระเมาลี หรือ พระโมลี |
ตรา | กำหนดไว้, จดจำไว้, เช่น ตราเอาไว้ที |
ถนอม | (ถะหฺนอม) ก. คอยระวังประคับประคองไว้ให้ดี เช่น ถนอมนํ้าใจ, ใช้อย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เสียหรือหมดเร็ว เช่น ถนอมของกินของใช้ ถนอมแรง, เก็บไว้อย่างดี เช่น ถนอมเอาไว้ก่อน, สนอม ก็ว่า. |
ถลุง | (ถะหฺลุง) ก. ใช้ความร้อนสุมสินแร่เพื่อไล่ขี้แร่ออกเอาไว้แต่เนื้อโลหะ |
ถ้ำ ๒ | น. ภาชนะทรงกระบอก มีฝาครอบปิดสนิท สำหรับใส่ใบชาหรือยาดมเป็นต้น เช่น ขมิ้นดินสอพองเอาไว้ไหน เมื่อวานกูใส่ไว้ในถํ้า (ขุนช้างขุนแผน). |
บังความ | ก. ตั้งใจปกปิดเอาไว้. |
เบียดบัง | ก. ยักเอาไว้เป็นประโยชน์ของตัว. |
ผมแกละ | (-แกฺละ) น. ผมเด็กผู้ชายที่เอาไว้เป็นแหยมตรงแง่ศีรษะ. |
ผมจุก | น. ผมเด็ก ๆ ที่ขมวดเอาไว้ตรงขม่อม, จุก หรือ หัวจุก ก็เรียก. |
ผึ่ง ๒ | ก. เอาไว้หรือให้อยู่อย่างเปิดเผย เพื่อให้ได้รับแดด ลม นํ้าค้าง เป็นต้น เช่น ผึ่งแดด ผึ่งลม. |
พัทธยา ๑ | น. จำนวนที่หักหรือริบเอาไว้เป็นภาคหลวง. |
เม้ม ๒ | ก. ยักเอาไว้ เช่น เม้มสตางค์. |
ยัก ๑ | แยกหรือกันเอาไว้เสียเอง เช่น ยักเงิน |
ยิบ ๒ | ก. ยักเอาไว้, ริบไว้, เช่น ไม่รู้ว่าใครเอาของมาลืมทิ้งไว้ เลยยิบเอาไปเสียเลย. |
ยึด | ก. จับไว้ให้แน่น เช่น ยึดราวบันไดไว้ให้ดี, ถือเอาไว้ เช่น ยึดธรรมะเป็นที่พึ่ง, เหนี่ยว, รั้ง, เช่น เพื่อนยึดตัวไว้ เลยมาไม่ทัน |
รวน | ก. เอาเนื้อสดหรือปลาสดเป็นต้นที่หั่นเป็นชิ้นแล้วคั่วให้พอสุกเพื่อเก็บเอาไว้แกงเป็นต้น |
ราหุ, ร่าหุ์, ราหู ๑ | น. ชื่ออสูรตนหนึ่งมีตัวขาดครึ่งท่อน เชื่อกันว่าเมื่อเวลามีสุริยคราสหรือจันทรคราสเป็นเพราะดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ถูกราหูอมเอาไว้, ในตำราโหรว่า เป็นเทวดาพระเคราะห์ มีอาภรณ์และพาหนะสีคลํ้า |
ลักเลียม | ก. ทำทีเล่นทีจริงพอเจ้าของเผลอก็ขโมยเอาไว้. |
เลือก ๑ | ก. คัดสิ่งที่มีจำนวนมากกว่าหนึ่งขึ้นไปเพื่อเอาไว้หรือเอาออกตามต้องการ เช่น เลือกผู้ใหญ่บ้าน เลือกหัวหน้าชั้น. |
แล้วกัน | คำที่ใช้ลงท้ายข้อความแสดงว่าเป็นอันยุติกัน เช่น ขอโทษเขาเสียหน่อยก็แล้วกัน วันนี้ยังเขียนไม่เสร็จ เอาไว้พรุ่งนี้แล้วกัน. |
ไว้ | ก. เก็บเข้าที่, เอาเข้าที่, เช่น เอาของไปไว้ที่, วาง เช่น เอาไว้ตรงนั้นแหละ ไว้ของให้เป็นที่, บางทีใช้ประกอบท้ายกริยาบางคำเพื่อให้ความหมายสมบูรณ์หรือหนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น เก็บไว้ รักษาไว้ ปลูกไว้, ให้มีอยู่, ให้ดำรงอยู่, รักษา, เช่น ไว้จุก ไว้หนวด ไว้ชีวิต ไว้ยศ. |
สถิติ | (สะ-) น. หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. |
ส้มฟัก | น. อาหารทำด้วยปลาสับละเอียดผสมกับข้าวสุกหมักเกลือ กระเทียม โขลกจนเหนียวแล้วห่อใบตองทับเอาไว้จนมีรสเปรี้ยว. |
ส่วน | น. สิ่งที่แบ่งจากสิ่งรวม เช่น เงินส่วนนี้จะเอาไว้ทำบุญ |
สิบเบี้ยใกล้มือ | น. ของเล็กน้อยที่จะได้แน่ ๆ ควรเอาไว้ก่อน. |
ใส่ | ก. สวม เช่น ใส่เสื้อ ใส่กางเกง, เอาไว้ข้างในภาชนะหรือสถานที่เป็นต้น เช่น กรอกน้ำใส่ขวด นำนักโทษไปใส่คุก, บรรทุก เช่น เอาสินค้าใส่รถ. |
หัวจุก | น. ผมเด็ก ๆ ที่ขมวดเอาไว้ตรงขม่อม, จุก หรือ ผมจุก ก็เรียก. |
หัวเบี้ย | จำนวนเงินขนอนตลาดที่เรียกเก็บเอาไว้ในทีแรก. |
หางแกละ | (-แกฺละ) น. ผมที่เอาไว้เป็นแหยมที่แง่ศีรษะ. |
หางจิ้งเหลน | (-เหฺลน) น. ผมของเด็กที่เอาไว้ที่ท้ายทอยเล็กกว่าผมเปีย. |
เหลือขอ | ว. ดื้อมาก, เอาไว้ไม่อยู่. |
แหนบ | โดยปริยายหมายความว่า เม้มเอาไว้ |
แหยม | (แหฺยม) น. ปอยผมที่เอาไว้เป็นกระจุก, ส่วนของจุกที่แยกออกเป็นปอย ๆ ก่อนประกอบพิธีโกนจุก, เรียกหนวดที่เอาไว้แต่ ๒ ข้างริมฝีปาก ว่า หนวดแหยม. |
อม | เม้ม, ขมิบ, ยักเอาไว้. |
อวชัย | (อะวะ-) น. ความเอาไว้ในเงื้อมมือ, การปราบปราม. |
เอา ๑ | ก. ยึด เช่น เอาไว้อยู่ |
aside | (adv) สำรอง, See also: เก็บเอาไว้ใช้ |
allow for | (phrv) ีเผื่อเอาไว้ (เวลา สถานที่ เนื้อที่), See also: เตรียมเผื่อ, เตรียมเอาไว้ |
backfire | (vi) ส่งผลตรงกันข้ามกับที่ตั้งใจเอาไว้, Syn. boomerang |
bank | (n) ที่เก็บข้อมูล อาหารหรือเลือดเพื่อใช้ตอนฉุกเฉิน, See also: สิ่งที่สำรองเอาไว้ |
bar in | (phrv) ขังเอาไว้, See also: ขัง |
charge against | (phrv) ลงบัญชี, See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
charge down | (phrv) ลงบัญชี (หนี้สิน), See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
charge to | (phrv) ลงบัญชี, See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
get between | (phrv) เอาไว้ระหว่าง, See also: วางไว้ระหว่าง |
grow together | (phrv) ปลูกไว้ใกล้กัน, See also: ปลูกเอาไว้ที่เดียวกัน |
hold on | (phrv) จับไว้, See also: ถือเอาไว้, Syn. hang on |
graven image | (n) รูปสลักเอาไว้บูชา, See also: เทวรูป |
hold | (vt) เก็บเอาไว้, See also: สงวนไว้, รักษาไว้ |
hang loose | (idm) ใจเย็นๆ, See also: สงบใจเอาไว้ |
suit one's actions to one's words | (idm) ทำตามคำพูด, See also: ทำตามที่ขู่เอาไว้, ทำตามสัญญา |
intended | (adj) ซึ่งวางแผนเอาไว้, See also: ซึ่งเตรียมการเอาไว้, Syn. planned, designed, expected, Ant. unintended |
keep by | (phrv) เก็บไว้ใกล้มือ, See also: เอาไว้ใกล้ๆ |
keep something on ice | (idm) เก็บไว้ใช้คราวหน้า, See also: เอาไว้ใช้ทีหลัง |
maintain | (vt) รักษา, See also: ดูแลต่อไป, คงอยู่, ดำรง, คงเอาไว้, ทรงไว้, รักษาไว้, Syn. sustain, keep up, preserve |
margin | (n) ส่วนที่เผื่อเอาไว้, See also: ส่วนเกิน, จำนวนที่เผื่อเอาไว้ |
monopolize | (vt) ผูกขาด, See also: ครอบครองคนเดียว, เอาไว้คนเดียว, ทำให้เป็นเป็นเอกสิทธิ์, Syn. control, dominate, Ant. share, divide |
Catch you later | (sl) เอาไว้ค่อยคุยกัน, See also: คุยกันคราวหน้า |
seed | (adj) ที่เก็บไว้เป็นพันธุ์ (ทางการเกษตร), See also: ที่เก็บพันธุ์เอาไว้, เก็บเมล็ดไว้เป็นพันธุ์ |
smear | (n) สิ่งที่เอาไว้ละเลง, See also: สิ่งที่เอาไว้ทาหรือป้าย |
stick down | (phrv) ยึดไว้, See also: ตรึงเอาไว้, Syn. glue down, gum down, stick on |
unconquerable | (adj) เอาชนะไม่ได้, See also: พิชิตไม่ได้, ปราบไม่ได้, บังคับไว้ไม่ได้, เอาไว้ไม่อยู่, Syn. impregnable, indomitable, insuperable, insurmountable, invincible |
accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ |
battery backup | แบตเตอรี่สำรอง <คำแปล>หมายถึง แบตเตอรี่ที่มีสำรองเอาไว้ให้ใช้ได้ทันทีที่ไฟฟ้าดับ เพื่อว่าข้อมูลจะได้ไม่หายไป |
boilerplate | ต้นแบบหมายถึง เอกสารประเภทหนึ่งที่ทำเอาไว้เป็นแบบ เรียกว่า boilerplate document นิยมนำมาใช้ในเวลาที่รีบร้อน ไม่มีเวลาคิดหาถ้อยคำเพราะ ๆ เช่น บัตรเชิญ จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความยินดี แสดงความเสียใจ หรือ สัญญาต่าง ๆ เมื่อนำมาใช้ ก็เพียงแต่เปลี่ยนข้อความให้เหมาะกับสถานการณ์เท่านั้นมีความหมายเหมือน template |
brain damaged | ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้ |
cad | 1. abbr. coronary artery disease 2. (แคด) ย่อมาจาก computer aided design แปลตรง ๆ ได้ว่า การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ดู CAM ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
capture | (แคพ'เชอะ) n. การจับได้, การยืดได้, สิ่งที่ถูกยึด, คนที่ถูกจับ, เชลย vt. จับได้, ยืดได้, เข้ายึดได้, ตีได้, ทำให้สนใจ, ทำให้หลงไหล, See also: capturer n. ดูcapture, Syn. take เก็บภาพจับภาพ ข้อมูล หมายถึง การสั่งเก็บภาพที่แสดงอยู่บนจอภาพทั้งหมด หรือ เฉพาะบางส่วนเอาไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช ใช้วิธีกดแป้น Command + Shift + 3 ภาพที่เกิดจะถูกนำไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลชื่อ Picture 1, Picture 2.... เรียงไปตามลำดับ ส่วนพีซี ใช้วิธีกดแป้น Print Screen ภาพที่อยู่บนจอจะถูกนำไปเก็บไว้ในคลิปบอร์ด clipboard เราอาจสั่งเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลได้โดยกำหนดชื่อให้เป็น ภาพ ๆ ไป แฟ้มเหล่านี้จะเรียกมาดูได้ในหลายโปรแกรม เป็นต้นว่า PageMaker, Microsoft Word อย่างไรก็ตาม หากจะเลือกเก็บเฉพาะบางส่วนของภาพที่ปรากฏบนจอ จะต้องใช้โปรแกรมพิเศษ |
clipboard | คลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
coprocessor | ตัวประมวล (ผล) ร่วมหมายถึง ตัวประมวลผลตัวหนึ่ง ที่แยกออกมาเพื่อเอาไว้ใช้ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของตัวประมวลผลหลัก เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น เช่น ตัวประมวลภาพจะทำหน้าที่เฉพาะในเรื่องการแสดงภาพ ตัวประมวลผลคณิตก็จะทำหน้าที่เฉพาะด้านการคำนวณ |
directory | (ดิเรค'ทะรี) n. หนังสือรวบรวมชื่อและที่อยู่ของบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ , แผ่นป้ายแสดงชื่อหน่วยงานและชั้นที่อยู่ของอาคารธุรกิจหลังใหญ่, คณะกรรมการ. adj. เกี่ยวกับการชี้ทาง, เกี่ยวกับการแนะแนว, Syn. list สารบบหมายถึง การแบ่งจานบันทึก โดยเฉพาะจานบันทึกที่มีความจุมาก ๆ ที่สามารถบรรจุแฟ้มข้อมูลได้หลายร้อยแฟ้ม ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อสะดวกในการค้นหา จานบันทึกทุก ๆ จานจะมีสารบบอย่างน้อยหนึ่งสารบบ เป็นสารบบเริ่มต้นเรียกว่า " สารบบราก " root directory เราอาจใช้คำสั่งสร้างสารบบ หรือสารบบย่อยเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เก็บแฟ้มประเภทเดียวกันหรือกลุ่มเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน ก็ได้ การเก็บแฟ้มข้อมูลด้วยวิธีนี้ทำให้หาง่ายขึ้น |
freeware | ฟรีแวร์ของฟรีหมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่แม้จะจดทะเบียนลิขสิทธิ์เอาไว้ แต่ก็ยินยอมให้มีการคัดลอกเอาไปใช้ได้อย่างเสรี โดยไม่คิด เงิน (ต่างกับ public domain ซึ่งไม่มีการจด ทะเบียนใด ๆ เลย ใครจะคัดลอกหรือนำไปใช้ ก็สามารถทำได้ทั้งสิ้น) |
front end | เสริมหน้าหมายถึง โปรแกรมหนึ่งโปรแกรมใด หรือคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดที่ซ่อนรายละเอียดของการเข้าถึงข้อมูลเอาไว้ สรุปง่าย ๆ ได้ว่า ตัวโปรแกรมนั้นเองที่มีตัวเสริมหน้า เป็นตัวกันมิให้ใครเข้าถึงข้อมูลได้ นอกจากจะรู้จักคำสั่งต่าง ๆ |
inference engine | เครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง |
keyboard buffer | ที่พักข้อมูล (ที่ส่งเข้าไปทางแป้นพิมพ์) หมายถึง เขตพื้นที่ของหน่วยความจำส่วนหนึ่ง ที่แบ่งเอาไว้เพื่อรองรับสัญญาณ ที่จะเกิดขึ้น เมื่อเราพิมพ์สัมผัสเร็วกว่าที่เครื่องจะรับปฏิบัติตามคำสั่งได้ทัน คอมพิวเตอร์ จะนำข้อมูลที่เรากดแป้นพิมพ์แล้ว ไปเก็บไว้ยัง "ที่พักข้อมูล" นี้ก่อน จะเห็นได้ว่า ในบางครั้ง แม้เราจะหยุดพิมพ์แล้ว ที่พักข้อมูลส่วนนี้ก็ยังทะยอยส่งข้อมูลที่เรากดแป้นไว้เข้าไปยังหน่วยความจำมีความหมายเหมือน keystroke buffer |
keystroke buffer | หมายถึง เขตพื้นที่ของหน่วยความจำส่วนหนึ่ง ที่แบ่งเอาไว้เพื่อรองรับสัญญาณ ที่จะเกิดขึ้น เมื่อเราพิมพ์สัมผัสเร็วกว่าที่เครื่องจะรับปฏิบัติตามคำสั่งได้ทัน คอมพิวเตอร์ จะนำข้อมูลที่เรากดแป้นพิมพ์แล้ว ไปเก็บไว้ยัง "ที่พักข้อมูล" นี้ก่อน จะเห็นได้ว่า ในบางครั้ง แม้เราจะหยุดพิมพ์แล้ว ที่พักข้อมูลส่วนนี้ก็ยังทะยอยส่งข้อมูลที่เรากดแป้นไว้เข้าไปยังหน่วยความจำมีความหมายเหมือน keyboard buffer |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
monopolise | (มะนอพ'พะไลซ) vt. เอาไว้เสียคนเดียว, ทำให้เป็นเอกสิทธิ์, ทำให้เป็นผู้ถือเอกสิทธิ์., See also: monopolisation n. monopoliszation n. monopoliser n. monopolizer n., Syn. corner, control |
monopolize | (มะนอพ'พะไลซ) vt. เอาไว้เสียคนเดียว, ทำให้เป็นเอกสิทธิ์, ทำให้เป็นผู้ถือเอกสิทธิ์., See also: monopolisation n. monopoliszation n. monopoliser n. monopolizer n., Syn. corner, control |
parterre | n. แปลงดอกไม้, พื้นที่ที่รวมทั้งพื้นที่ปลูกสิ่งก่อสร้างเอาไว้. |
partition | (พาร์ทิช'เชิน) n. การแบกแยก vt. แบ่ง, แยก, ส่วนเก็บระบบปฏิบัติการหมายถึง ส่วนหนึ่งของฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่กันเอาไว้เพื่อใช้เก็บระบบปฏิบัติการ (operating system) โดยเฉพาะ |
place | (เพลส) n. สถานที่, บริเวณ, จุดหมาย, ที่, ที่พัก, เขต, ฐานะ, ตำแหน่ง, สภาพ, สถานการณ์, เทศะ, หน้าที่, การงาน, ที่ตั้ง, โอกาสที่เหมาะ. -Phr. (give place to ให้ความสำคัญ, ถูกแทนที่โดย) -Phr. (go places ประสบความสำเร็จ) -Phr. (take place เกิดขึ้น) vt. จัด, วาง, กะ, คาดคะเน, บรรจุ, ใส่, เอาไว้, ฝาก, มอบ, แต่งตั้ง, วินิจฉัย, ปรับเสียง, วางลูก, ส่งกระสุน vi. อยู่ในอันดับ |
relative address | เลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น |
retain | (รีเทน') vt. สงวนไว้, รักษาไว้, เอาไว้, ผูกขาด, จดจำ, See also: retainability n. retainableness n. retainable adj. retainment n., Syn. keep, maintain |
side | (ไซดฺ) n. ข้าง, ด้าน, ข้างเคียง, สีข้าง, หน้า, ด้านข้าง, ด้านซี่โครง, ด้านสีข้าง, สีข้าง, กรณี, กลุ่มที่แข่งขัน, ฝ่าย, แขนง, กราบเรือ adj. อยู่ทางด้านหนึ่ง, จากด้านหนึ่ง, รอง, บัง เอิญ. vt., vi. ทำให้มีด้านข้าง, ยืนอยู่ข้าง, สนับสนุน, เก็บเอาไว้, เก็บ, เข้าข้าง -Phr.) side wit |
smother | (สมัธ'เธอะ) vi. ทำให้หายใจยาก, ทำให้หายใจหอบ, ดับ, ทำให้ตาย, ขจัด, ทำลายล้าง, ข่มอารมณ์, ข่มใจ, อดกลั้น, กลบ, กลั้น, ปิดมิดชิด, ปกปิด, ปกคลุม. vi.หายใจออก, หายใจหอบ, ถูกข่ม, ถูกปิดบัง. n.. ควันหนาจนหายใจลำบาก, สภาพที่หายใจลำบาก, สภาพที่ถูกข่มเอาไว้, หมอกหนาจัด, ความยุ่งเหยิง |
system 7 | ซิสเต็มเจ็ดหมายถึง ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ซิสเต็มเจ็ดไม่เหมือนกับเอ็มเอสดอส (MS DOS) ของคอมพิวเตอร์พีซีทีเดียวนัก ทั้งนี้เพราะระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอชนั้น จะสร้างเป็นรหัสเอาไว้ในรอม (ROM) เกือบทั้งสิ้น และเน้นในเรื่องตัวประสานการค้นหา (Finder interface) มาก |
system folder | โฟลเดอร์ระบบหมายถึง โฟลเดอร์ในเครื่องแมคอินทอช ที่บรรจุแฟ้มระบบทั้งหมดเอาไว้ เพื่อใช้ในการเริ่มเครื่องใหม่ (boot) รวมทั้งโปรแกรมอำนวยความสะดวกต่าง ๆ |
title bar | แถบชื่อ (แฟ้มข้อมูล) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง |
vestige | (เวส'ทิจฺ) n. ร่องรอย, รอยหรือหลักฐานที่ทิ้งเอาไว้, รอยเท้า, รอยทาง, เศษนิดเดียว, อวัยวะที่เสื่อมหรือไม่สมบูรณ์ที่เหลืออยู่ |