กระทู้ ๑ | น. ลำไม้ไผ่ช่วงโคนที่เอามาปักเป็นเสารั้ว |
กองทุน | น. เงินหรือทรัพย์สินที่เอามารวมเป็นก้อนเดียวกันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ในการสมรส. |
ก้อนเส้า | น. ก้อนอิฐหรือก้อนหินเป็นต้น อย่างน้อย ๓ ก้อน ที่เอามาตั้งต่างเตา |
กากรุน, กากกะรุน | น. ผงของกะรุนที่เอามาผสมครั่งขัดของแข็งเช่นป้าน. |
กินตามน้ำ | ก. รับของสมนาคุณที่เขาเอามาให้โดยไม่ได้เรียกร้อง (มักใช้แก่เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจ). |
เก็บ ๑ | ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ. |
แก่เกินแกง | ก. เอามาใช้ประโยชน์ไม่ได้แล้ว. |
ของเคียง | น. ของกินที่เอามาตั้งเทียบข้างเพื่อกินประกอบกับอาหารบางชนิด, เครื่องเคียง ก็ว่า. |
ของร้อน | น. ของที่มีผู้ขโมยเขาเอามาฝากไว้หรือจำหน่ายให้ ถ้ารับเอาไว้จะทำให้เดือดร้อน |
ข้าวตอก ๑ | น. ข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอก. |
ข้าวเม่า ๑ | น. ข้าวเปลือกข้าวเหนียวที่ยังไม่แก่จัดเอามาคั่วแล้วตำให้แบน, ข้าวเม่าที่เอามาคั่วให้กรอบ เรียกว่า ข้าวเม่าราง, ข้าวเม่ารางทอดแล้วใส่เครื่องปรุง มีกุ้งแห้งทอด ถั่วลิสงทอด เต้าหู้หั่นทอด เรียกว่า ข้าวเม่าหมี่. |
ข้าวเหนียว | น. ชื่อข้าวพันธุ์หนึ่งของชนิด Oryza sativa L. เนื้อเมล็ดขุ่นกว่าข้าวเจ้า เมื่อหุงหรือนึ่งแล้วเมล็ดจะเหนียวติดกัน มีชื่อต่าง ๆ กัน เช่น ข้าวเหนียวเขี้ยวงู ข้าวเหนียวดำ, ข้าวเหนียวที่เอามากวนกับกะทิและนํ้าตาลทราย เรียกว่า ข้าวเหนียวแก้ว, ถ้าเอามากวนกับกะทิและนํ้าตาลหม้อมีสีแดงเป็นสีนํ้าตาลไหม้ เรียกว่า ข้าวเหนียวแดง, ถ้าเอามานึ่งใส่หน้ากะทิตัดเป็นชิ้น ๆ เรียกว่า ข้าวเหนียวตัด, ถ้าเอามาห่อแล้วนึ่งใส่หน้ากะทิ เรียกว่า ข้าวเหนียวห่อ |
ข้าวฮาง | น. ข้าวเหนียวที่ยังไม่แก่จัด เอามาคั่วตากแดดให้แห้งแล้วตำและนึ่ง. |
ขี้ผึ้ง ๑ | น. รังผึ้งที่เอามาหุงใช้ในการต่าง ๆ เช่น ทำเทียน ทำสีผึ้ง. |
ขึ้นคอ | ก. เอามาห้อยคอด้วยความนับถือ เช่น พระสมเด็จองค์นี้ขึ้นคอได้. |
ขุนการ, ขุนกาล | น. เจ้าหน้าที่รับจดคำฟ้อง เช่น หญิงชายทำหนังสือร้องฟ้องนั้น มีชื่อหลายคน พึงให้ขุนการเอามาจนถ้วนคน อนึ่ง ถ้าความนั้นข้องขัดจะพิพากษาบังคับบัญชายากไซร้ให้ขุนกาลชุมนุมจตุสดมให้ช่วยว่า (สามดวง). |
เข้าว่า | ว. เป็นสำคัญ เช่น เอามากเข้าว่า. |
ค้นคว้า | ก. หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา. |
คบ ๒, คบเพลิง, คบไฟ | น. ของใช้สำหรับจุดไฟให้สว่าง ทำด้วยของแห้งเช่นใบไม้และขี้กบเป็นต้น เอามามัดเป็นดุ้นยาว, มัดเชื้อเพลิง ก็ว่า. |
คัพภสาลี | (คับพะ-) น. ข้าวที่กำลังท้องยังไม่แตกเป็นรวง (มักเอามาคั้นเป็นข้าวยาคู). |
คา ๓ | น. ชื่อหญ้าชนิด Imperata cylindrica (L.) P. Beauv. ในวงศ์ Gramineae ใบคาย แข็ง เอามากรองเป็นตับมุงหลังคา เหง้าใช้ทำยาได้. |
เครื่องเคียง | น. ของเคียง, ของกินที่เอามาตั้งเทียบข้างเพื่อกินประกอบกับอาหารบางชนิด. |
งูกินหาง ๒ | น. การเล่นของเด็กอย่างหนึ่ง สมมุติฝ่ายหนึ่งเป็นแม่งู มีลูกงูเกาะหลังเป็นแถว อีกฝ่ายเป็นพ่องู คอยไล่จับลูกงูตัวที่อยู่ท้ายแถวเอามาเป็นพวกทีละตัว ๆ. |
เงินแล่ง | น. เงินที่เอามาแล่งเป็นเส้นบาง ๆ ใช้สำหรับปักหรือทอผ้า. |
จำบ่ม | ว. ผลไม้ที่แก่ยังไม่ได้ที่ เก็บเอามาบ่มให้สุก เรียกว่า ผลไม้จำบ่ม เช่น มะม่วงจำบ่ม. |
เจียด ๒ | ก. แบ่งปันแต่น้อย, ขอแบ่งปันบ้าง, เช่น เขามีน้อยขอเจียดเอามาบ้าง. |
ชัก ๑ | ดึงเอามา เช่น ชักผ้าป่า ชักผ้าบังสุกุล |
ชัก ๑ | นำเอามาอ้าง, ยกเอามาอ้าง, เช่น ชักตัวอย่าง |
ชั่วครู่ชั่วยาม | น. ช่วงเวลาหนึ่ง เช่น ขอยืมของไปใช้ชั่วครู่ชั่วยามแล้วจะเอามาคืน. |
ใช้ | เอามาทำให้เกิดผลหรือประโยชน์ เช่น ใช้เวลา ใช้เรือ ใช้รถ |
ใช้สอย | ก. เอามาทำให้เกิดประโยชน์, จับจ่าย, ให้ช่วยทำงาน เช่น ช่วยหาเด็กมาให้แม่ใช้สอยสักคน. |
ซ่ก | ก. เปียกชุ่มจนถึงหยด เช่น เหงื่อซ่ก บิดผ้าน้ำยังซ่กอยู่เลย เอามาถูพื้นได้อย่างไร. ว. มาก เช่น หิวซ่ก. |
แดกงา | น. ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทำด้วยข้าวเหนียวนึ่งแล้วเอามาตำคลุกกับงา. |
ตอก ๓ | น. เรียกข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอก ว่า ข้าวตอก. |
ตัดตอน | ก. แบ่งหรือตัดเอามาบางส่วน เช่น ข้อความนี้ตัดตอนมาจากหนังสือสารานุกรมไทย. |
ไต้ | น. เชื้อเพลิงสำหรับจุดให้สว่าง ทำด้วยไม้ผุคลุกน้ำมันยางหรือชัน ห่อด้วยเปลือกเสม็ดหรือเตยป่า เป็นต้น ทำเป็นเล่มยาว ๆ ใช้ตอกมัดเป็นเปลาะ ๆ หรือใส่กระบอก, ถ้ามัดตอนปลายด้านหนึ่งเป็นหาง เรียกว่า ไต้หาง, เรียกส่วนเนื้อของไต้ที่แบ่งเอามาใช้เป็นเชื้อไฟ หรือส่วนของไต้ที่จุดและเขี่ยให้ร่วงหล่นลงมาว่า ขี้ไต้. |
ถั่วงอก | น. เมล็ดถั่วเขียวหรือเมล็ดถั่วเหลืองที่เอามาเพาะให้งอกแล้วใช้เป็นอาหารต่างผัก, ถั่วเพาะ ก็เรียก. |
ถ่าว | ปานกลาง เช่น เอามาปรกิดชิดชนเป็นตนพระพุทธรูบอนนใหญ่อนนถ่าวอนนราม (จารึกวัดศรีชุม). |
ทองแล่ง | น. ทองคำที่เอามาแผ่เป็นแผ่นบาง ๆ แล้วแล่งหรือตัดออกเป็นเส้นบาง ๆ ใช้สำหรับปักหรือทอผ้ายกทอง. |
เทียบ ๑ | ก. เอามาให้ใกล้ ชิด หรือติดกัน เช่น จอดเรือเทียบท่า เอาเรือเล็กเข้าเทียบเรือใหญ่ รถไฟเข้าเทียบชานชาลา, เปรียบ เช่น เอาผ้า ๒ ชิ้นมาเทียบสีกัน |
นอก | ว. พ้นออกไปจากภายในหรือร่วมใน เช่น นอกเรือน นอกประเทศ นอกกาย นอกตำแหน่ง, ต่างประเทศ เช่น ของนอก ไปนอก, เรียกเขตที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป ว่า บ้านนอก, เรียกประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า เมืองนอก, เรียกผลไม้ที่เอามาจากนอกกรุงหรือเขตปริมณฑล เช่น เงาะนอก ทุเรียนนอก, คู่กับ ผลไม้ในกรุงหรือเขตปริมณฑล เช่น เงาะสวน ทุเรียนสวน. |
นายเงิน | น. ผู้เป็นเจ้าของเงินรับซื้อทาสหรือช่วยไถ่ทาสเอามาใช้. |
น้ำผึ้ง ๑ | น. นํ้าหวานมีลักษณะข้นที่แมลงผึ้งเก็บสะสมเอามาจากเกสรดอกไม้ต่าง ๆ. |
บริเฉท, บริเฉท- | ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. |
บ้อ, บ้อหุ้น | น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง เขียนตารางสี่เหลี่ยมหรือวงกลมลงบนพื้น มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายออกสตางค์ฝ่ายละ ๒-๓ อัน เอามารวมกัน ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้โยนสตางค์ทั้งหมดลงในตารางหรือวงกลมนั้นให้กระจาย อีกฝ่ายหนึ่งจะชี้สตางค์อันใดอันหนึ่งให้ฝ่ายโยน ฝ่ายโยนจะต้องใช้สตางค์อีกอันหนึ่ง เรียกว่า “อีตัว” โยนลงให้ประกบสตางค์อันที่เขาชี้ให้ ถ้าโยนลงไปประกบได้ ก็เป็นฝ่ายชนะ ได้สตางค์ทั้งหมด ถ้าโยนถูกสตางค์อันอื่น ก็เป็นฝ่ายแพ้ ต้องเสียสตางค์ทั้งหมดให้ฝ่ายชี้ แต่ถ้าฝ่ายโยนไม่มั่นใจว่าจะโยนอีตัวไปประกบได้ ก็อาจโยนอีตัวลงไปในที่ว่าง เรียกว่า “อู้ไว้” หมายความว่า กินไม่ได้ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งก็จะเป็นผู้โยนบ้าง ฝ่ายที่โยนก่อนก็เปลี่ยนมาเป็นผู้ชี้บ้าง. |
บุญธรรม | น. เรียกลูกของคนอื่นซึ่งเอามาเลี้ยงเป็นลูกของตัว ว่า ลูกบุญธรรม, ถ้าจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย เรียกว่า บุตรบุญธรรม. |
เปรียบ | (เปฺรียบ) ก. เอาสิ่งหนึ่งเข้ามาเทียบกับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อให้เห็นว่าใกล้กัน เสมอกัน หรือผิดกัน, ถ้าเอามาเทียบกันดูแล้ว ฝ่ายที่มีภาษีกว่า เรียกว่า ได้เปรียบฝ่ายที่เป็นรอง เรียกว่า เสียเปรียบ, ถ้าจะเอาฝ่ายตนให้มีภาษีข้างเดียว เรียกว่า เอาเปรียบ. |
พลี ๒ | (พฺลี) ก. เสียสละ เช่น พลีชีพเพื่อชาติ, บวงสรวงเชิญเอามา (ใช้แก่ยาสมุนไพร) เช่น ไปพลียาที่ต้นเทียน คือ ไปบวงสรวงเก็บต้นเทียนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นเทียนมาทำยารักษาโรค. |
พำลา | น. เรียกช้างซึ่งมีลักษณะอันชั่วร้ายชนิดหนึ่ง ตำราไม่ให้เอามาใช้เป็นพาหนะ. |
แพ | เรือนที่ตั้งอยู่บนแพในนํ้า มีลักษณะต่างกับเรือนไทยทั่วไปตรงที่มีเสาแต่ไม่ลงดิน ไม่มีระเบียงและชาน หันด้านข้างออกแม่น้ำ หรือเรือนลักษณะเช่นนั้นที่ยกเอามาปลูกบนบกเรียกว่า เรือนแพ |
abstract | (vt) ลอบเอามา, See also: ขโมย, ล้วงเอา, Syn. steal |
accept | (vt) รับ, See also: ยอมรับ, รับเอามา, Syn. take, acquire, admit, Ant. refuse, refect |
acceptance | (n) การรับ, See also: การรับเอามา, Syn. receiving, taking |
adopt | (vt) รับเอามา, See also: รับเอา |
adoptable | (adj) ที่สามารถรับเอามาได้ |
adoption | (n) การเลือกเอา, See also: การเลือกรับเอามา, Syn. choosing, choice, selection |
appropriate | (vt) นำเอามาใช้ส่วนตัว, See also: ยึดเอา, นำมาใช้ประโยชน์โดยมิชอบ, Syn. seize, take possession of |
assemble | (vt) เอามารวมกัน |
bank | (vt) เอามากอง, See also: ทำให้เป็นกอง |
bring | (vt) ไปเอามา |
collect | (vt) ไปนำมา, See also: ไปเอามา, ไปพาตัวมา, Syn. call for, gather up, pick up |
expropriate from | (phrv) ยึดมาจาก, See also: ริบจาก, บังคับเอามาจาก |
extract from | (phrv) เอามาจาก, See also: สกัดมาจาก, ดึงมาจาก, ถอนมาจาก, Syn. excerpt from |
fetch | (vt) ไปเอามา, See also: รับมา, นำมา, Syn. bring, carry, take, retrieve |
fetch | (n) การไปเอามา, See also: การรับมา, การนำมา |
hog | (vt) เอาอย่างละโมบ, See also: เอามากเกินไป |
indiscriminate | (adj) ซึ่งขาดการพิจารณา, See also: ซึ่งขาดการเลือกเฟ้น, ซึ่งสุ่มๆ เอามา, Syn. random, unselective, Ant. selective |
indiscriminately | (adv) อย่างขาดการพิจารณา, See also: อย่างขาดการคัดสรร, อย่างสุ่มๆ เอามา, Syn. randomly, Ant. selectively |
leave out of | (phrv) ไม่รวมไว้ใน, See also: ไม่รับเข้า, ไม่เอามาเกี่ยวข้อง |
pile | (vt) สุม, See also: ทับ, กอง, ซ้อน, รวมกันไว้, สุมไว้เป็นกอง, เอามาสุมไว้, วางซ้อนๆกันขึ้นไป, Syn. accumulate, amass, assemble |
secure | (vt) ได้รับมา, See also: เอามา, ทำให้ได้ผล, Syn. obtain, acquire, achieve, gain |
bring | (บริง) { brought, brought, bringing, brings } vt. เอามาให้, นำมาให้, พามา, นำมาสู่, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, นำออกมาแสดง, นำเสนอ, ชักชวนขายได้ -Id. (bring about ทำให้เกิด) -Id. (bring around (round)) ชักชวน, โน้มน้าว -Id. (bring forth ทำให้เกิด, นำเสนอ) -Id. (bring in ยอมแพ้) |
compost | (คอม'โพสทฺ) n. ส่วนผสมของสารอินทรีย์สำหรับเป็นปุ๋ย, ปุ๋ยผสม, การผสมกัน, สารผสม vi. ใส่ปุ๋ยลง, เอามาทำเป็นปุ๋ยผสม, Syn. composition |
fetch | (เฟทชฺ) { fetched, fetching, fetches } vt. ไปเอามา, ไปหยิบมา, เอามา, นำมา, ทำให้มา, ขายได้, ได้, (สูดลมหายใจ) , ถอนใจ, ทำให้ (ตกลงมา) , นำกลับ, ทำให้เกิดขึ้น. vi. ไปเอามา, เคลื่อน, แล่นเรือ, เอากลับ. -n. การไปเอามา, อุบาย, แผนการ, เขตลมคลื่น., ผี, See also: fetch a breat ไปนำมาหมายถึงนำข้อมูลหรือคำสั่งจากหน่วยความจำเข้าไปใส่ไว้ในหน่วยประมวลผลกลาง CPU เพื่อทำการประมวลผล บางทีใช้หมายถึงการโอนย้ายข้อมูลจากสื่อ medium เข้าไปเก็บในหน่วยความจำ |
foist | (ฟอยซฺทฺ) vt. ยัดเยียด, หลอกขาย, หลอกใส่เข้าไป, เอามาใส่ให้อย่างปกปิดหรือคดโกง |
game fish | n. ปลาที่ตกเบ็ดเพื่อเอามากิน |
get | (เกท) { got, gotten, getting, gets } vt. ได้, ได้มา, ได้รับ, เอา, ไปเอามา vi. มาถึง, บรรลุ -Phr. (get along จัดการ, ก้าวหน้า, ตกลง, เป็นมิตร) . |
have come out of the ark | เป็นคนหัวโบราณเอามาก ๆ ทีเดียว |
mulct | (มัคทฺ) n. ค่าปรับ, ค่าสินไหมทดแทน. vt. ลงโทษปรับ, โกงเอามา, Syn. amerce, fine |
procurable | (โพรเคียว'ระเบิล) adj. พอจะเอามาได้, หามาได้, นำมาได้ |
recover | (รีคัฟ'เวอะ) vt. เอากลับคืน, เอามาได้อีก, กู้, ค้นพบใหม่, พบอีก, คืนสภาพ, กลับอย่างเดิม, ทำให้คืนสภาพ, ทำให้กลับอย่างเดิม, ได้ค่าสินไหมทดเชย, ได้ค่าชดเชย, ไปถึง, แยกทองจากดิน, คลุมใหม่, ปกคลุมใหม่ vi. คืนสภาพเดิม, หายเป็นปกติ, ชนะคดี, See also: recoverable adj. |
secure | (ซีเคียว'เออะ) adj. มั่นคง, มั่นใจ, แน่นหนา, ปลอดภัย, ไว้ใจได้, เชื่อถือได้, วางใจได้, ไร้กังวล, แน่นอน vt. ได้มา, เอามา, ทำให้ได้ผล, ทำให้มั่นใจ, ทำให้ปลอดภัย, รับรอง, รับประกัน, จับกุม, มัดให้แน่น. vi. กลายเป็นปลอดภัย, เข้าเวรประจำการ, See also: securable adj. |
take | (เทค) { took, taken, taking, takes } vt., vi., n. (การ) เอา, เอามา, หยิบ, จับ, ยึด, นำ, ได้, ได้มา, พา, จัด, ใช้, จด, มีผล, ครอบครอง, อุทิศตัว, ไป, ไปยัง, กลายเป็น, สิ่งที่ถูกเอาไป (ทำไป, หยิบไป), See also: takable adj. takeable adj. taker n. -Phr. take after คล้าย - |