เล่า | (v) tell, See also: relate, recount, narrate, describe, recite, Syn. เล่าเรื่อง, Example: ท่านนายพลเคยเล่าว่าบ้านเดิมอยู่ในวัดสะตือ จึงมีความผูกพันกับวัดนี้เป็นพิเศษ, Thai Definition: พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง |
บอกเล่า | (v) tell, See also: inform, notify, announce to, apprise, Syn. ชี้แจง, บรรยาย, บอก, เล่า, สาธยาย, Example: ระหว่างการประชุม ตัวแทนเพื่อนชาวเขมรได้บอกเล่าถึงสภาพความเป็นอยู่ และปัญหาของชาวเขมรในค่ายอพยพ |
ผู้เล่า | (n) narrator, See also: storyteller, commentator, Syn. คนเล่าเรื่อง, ผู้บรรยาย, นักเล่า, Ant. ผู้ฟัง, คนฟัง, Example: ผู้เล่าเรื่องนี้เป็นชายชราชาวกะเหรี่ยง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง |
เล่าขาน | (v) tell (a story), See also: narrate, relate, recount, Syn. กล่าวขาน, Example: เรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตหลายเรื่องกลายเป็นตำนานที่ผู้คนเล่าขานกันมาถึงปัจจุบัน, Thai Definition: บอกเรื่องราวในอดีตต่อๆ กันมา |
เล่าขาน | (v) tell (a story), See also: narrate, relate, recount, Syn. กล่าวขาน, Example: เรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตหลายเรื่องกลายเป็นตำนานที่ผู้คนเล่าขานกันมาถึงปัจจุบัน, Thai Definition: บอกเรื่องราวในอดีตต่อๆ กันมา |
เล่าลือ | (v) rumor, See also: be rumored, be widely spoken, Syn. ลือ, เลื่องลือ, ร่ำลือ, Example: ข่าวของเขาเล่าลือไปอย่างรวดเร็วเหมือนไฟไหม้ป่า, Thai Definition: แพร่ข่าวกันแซ่, กระจายข่าวกันแซ่ |
คำบอกเล่า | (n) saying, See also: hearsay, report, rumor, account, Example: สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น เป็นการเตือนว่าอย่าเชื่อคำบอกเล่าจนกว่าจะดูให้เห็นข้อเท็จจริงด้วยตนเอง, Thai Definition: ข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการที่ได้มาจากการพูดที่ไม่มีหลักฐานอ้างอิง |
คำเล่าลือ | (n) rumor, See also: hearsay, report, Example: อาหารร้านนี้รสชาติอร่อยสมกับคำเล่าลือจริงๆ |
มิน่าเล่า | (adv) no wonder, See also: it is no wonder that, Syn. ด้วยเหตุนี้, ยังงี้เอง, มิน่า, มิน่าล่ะ, เพราะอย่างนี้เอง, Example: เพราะพ่อว่าเขาอย่างนี้นี่เอง มิน่าเล่าเขาถึงไม่พูดไม่จากับพ่อ |
มิน่าเล่า | (adv) No wonder!, See also: It is no wonder that..., Syn. ด้วยเหตุนี้, ยังงี้เอง, มิน่า, มิน่าล่ะ, เพราะอย่างนี้เอง, Example: เพราะพ่อว่าเขาอย่างนี้นี่เอง มิน่าเล่าเขาถึงไม่พูดไม่จากับพ่อ |
เรื่องเล่า | (n) story, See also: narration, narrative, Example: นิทานเรื่องบ้านเราแสนจน เป็นเรื่องเล่าที่ให้แง่คิดดีมาก, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: เรื่องที่เกิดจากการนำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาพูดให้ผู้อื่นฟัง |
เล่าเรื่อง | (v) relate, See also: tell, recount, narrate, describe, recite, Syn. เล่า, Example: คุณย่าชอบเล่าเรื่องสมัยที่ยังเป็นสาวให้หลานๆ ฟังอยู่เสมอ, Thai Definition: พูดหรือบอกกล่าวเนื้อความต่างๆ ให้ผู้อื่นฟัง |
พยานบอกเล่า | (n) oral evidence, Example: หลักฐานชิ้นนี้เราได้มาจากพยานบอกเล่า, Count Unit: คน, ปาก |
อย่างไรเล่า | (ques) how, See also: in what way, Example: เมื่อเหตุการณ์ผันแปรเช่นนี้ ประชาชนควรจะทำอย่างไรเล่า |
การเล่าเรียน | (n) study, See also: learning, education, Syn. การเรียน, การศึกษา, การเรียนรู้, การหาความรู้, Example: การเล่าเรียนทำให้คนมีความคิดเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น |
ค่าเล่าเรียน | (n) tuition fee, See also: school fee, education fee, instruction fee, Syn. ค่าเรียน, Example: ผู้ปกครองต้องเสียค่าเล่าเรียนให้ลูกทุกคนตอนเปิดเทอม, Count Unit: บาท |
ทุนเล่าเรียน | (n) scholarship, See also: educational capital, Syn. ทุนการศึกษา |
ปีแล้วปีเล่า | (adv) year after year, Example: บางคนพยามอยู่ปีแล้วปีเล่าก็ยังสอบไม่ผ่าน, Thai Definition: หลายปี |
ประโยคบอกเล่า | (n) affirmative sentence, Example: เรื่องดังกล่าวผู้แต่งเริ่มเรื่องด้วยประโยคบอกเล่า, Thai Definition: รูปประโยคชนิดแสดงเนื้อหา |
ผู้เล่าเรื่อง | (n) narrator, See also: storyteller, Syn. คนเล่าเรื่อง, ผู้เล่า, คนเล่า, Ant. ผู้ฟัง, คนฟัง, Example: เพื่อนๆ ลงคะแนนเสียงเป็นเอกฉันท์ให้ผมเป็นผู้เล่าเรื่องทั้งหมดให้ครูทราบ, Count Unit: คน |
ซ้ำแล้วซ้ำเล่า | (adv) repeatedly, Syn. ครั้งแล้วครั้งเล่า, บ่อยๆ, ซ้ำไปซ้ำมา, เป็นประจำ, Example: เขาแวะเวียนไปบอกกล่าวซ้ำแล้วซ้ำเล่า เป็นทำนองว่าจะขอจัดอย่างพิเศษ |
บอกเล่าเก้าสิบ | (v) inform, See also: notify, apprise, announce to, Syn. บอกเล่า, บอก, Example: ท่านได้บอกเล่าเก้าสิบให้ทราบกันทั่วไป, Thai Definition: บอกกล่าวให้รู้ |
วันแล้ววันเล่า | (adv) day after day, Example: เธอพูดอยู่เช่นนี้วันแล้ววันเล่า จนฉันรู้สึกน่าเบื่อหน่าย, Thai Definition: เป็นอยู่เช่นนั้นทุกวันไม่เปลี่ยนแปลง |
ศึกษาเล่าเรียน | (v) study, See also: learn, Syn. เรียน, เล่าเรียน, ศึกษา |
ทุนเล่าเรียนหลวง | (n) king's scholarship |
ครั้งแล้วครั้งเล่า | (adv) again and again, See also: over and over again, time and again, time after time, Example: เขาคิดครั้งแล้วครั้งเล่าก็คิดไม่ออกว่าเอากระเป๋าสตางค์วางไว้ที่ไหน, Thai Definition: ที่ทำหรือเป็นอย่างเดียวกันอีกหลายๆ ครั้ง |
ต้อนหมูเข้าเล้า | ก. หลอกคนที่ไม่รู้ทันให้เสียเปรียบ. |
ตัวเปล่าเล่าเปลือย | ว. ยังไม่มีครอบครัว เช่น เธอไม่ใช่คนตัวเปล่าเล่าเปลือยนะ, ตัวเปล่า ก็ว่า, ไร้ญาติขาดมิตร เช่น เขาเป็นคนตัวเปล่าเล่าเปลือย. |
บอกเล่าเก้าสิบ | ก. บอกกล่าวให้รู้. |
ประเล้าประโลม | ก. เล้าโลม, ปลอบโยนเอาอกเอาใจ. |
พยานบอกเล่า | น. พยานบุคคลซึ่งให้การในเรื่องที่ตนมิได้เห็น ได้ยิน หรือรู้มาด้วยตนเอง แต่ได้ยินหรือได้ฟังจากผู้อื่น รวมตลอดถึงข้อความที่บันทึกไว้ในเอกสารหรือวัตถุก็ถือเป็นพยานบอกเล่า. |
พ่อเล้า | น. ผู้ชายผู้เป็นหัวหน้าเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย. |
มิน่า, มิน่าล่ะ, มิน่าเล่า | คำแสดงว่า รู้สาเหตุ. |
แม่เล้า | น. หญิงผู้เป็นหัวหน้าซ่องโสเภณี, ผู้หญิงผู้เป็นหัวหน้าควบคุมดูแลเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย. |
ลวงเล้า | น. ปีระกา อัฐศก. |
ละลอบละเล้า | ว. รู้หลบหลีก. |
ละเล้า | ก. เคล้าคลึง, คลอเคลีย, คลำ |
ละเล้า | สับสน, ปะปน, ใช้เข้าคู่กับคำ ละลุม เป็น ละเล้าละลุม ก็มี. |
ลุ่มเล้า | ก. ละเล้า, เคล้าคลึง, คลอเคลีย. |
ลูกเต้าเล้าอ่อน | น. ลูกเล็ก ๆ หลายคน เช่น เธอมีลูกเต้าเล้าอ่อน ไปไหนทีก็ต้องอุ้มบ้างจูงบ้าง. |
เล่า | ก. พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง เช่น เล่าเรื่อง. |
เล่า | ว. คำใช้ประกอบข้อความข้างหน้าเพื่อยืนยันให้มีนํ้าหนักขึ้น เช่น มิน่าเล่า กินไหมเล่า ซนอย่างนี้นี่เล่า ถึงได้ถูกตี, ล่ะ ก็ว่า. |
เล่ามนตร์ | ก. ท่องบ่นมนตร์, สาธยายมนตร์. |
เล่าเรียน | ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหาความรู้ ว่า ค่าเล่าเรียน. |
เล่าลือ | ก. แพร่ข่าวกันแซ่ เช่น เขาเล่าลือกันว่าจะเกิดน้ำท่วมใหญ่. |
เล้า ๑ | น. คอกสำหรับให้สัตว์เช่นเป็ดและหมูอยู่. |
เล้า ๒ | น. ปีระกา. |
เล้าโลม | ก. กอดจูบลูบคลำแสดงความรัก, พูดปลอบโยนให้โอนอ่อนตาม, โลมเล้า ก็ว่า. |
...แล้ว...เล่า, แล้ว ๆ เล่า ๆ | ว. ทำแล้วทำอีกอยู่นั่นเอง เช่น พูดแล้วพูดเล่า กินแล้วกินเล่า ทำแล้ว ๆ เล่า ๆ ไม่รู้จักเสร็จ. |
โลมเล้า | ก. กอดจูบลูบคลำแสดงความรัก, พูดปลอบโยนให้โอนอ่อนตาม, เล้าโลม ก็ว่า. |
วันแล้ววันเล่า | ว. เป็นเช่นนั้นติดต่อกันยาวนานไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ทำงานวันแล้ววันเล่าไม่รู้จักเสร็จ คอยวันแล้ววันเล่าก็ไม่มาสักที. |
หมูในเล้า | น. สิ่งที่อยู่ในเงื้อมมือ. |
กระโบม ๑ | ก. ตระโบม, โลมเล้า, กอด, เช่น ยักษ์ผยองโพยมแลกระโบมถนอมพนิดไคล (สรรพสิทธิ์). |
กลอนบทละคร | น. กลอนเล่าเรื่อง ใช้เป็นบทแสดง วรรคแรกจะต้องขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น หรือ มาจะกล่าวบทไป. |
กลอนเพลงยาว | น. กลอนที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรัก หรือเล่าสู่กันฟัง เป็นต้น ขึ้นต้นด้วยวรรครับหรือวรรคที่ ๒ ของบท. |
กล่อม ๓ | (กฺล่อม) ก. ร้องเป็นทำนองเพื่อเล้าโลมใจหรือให้เพลิน, โดยปริยายหมายความว่า พูดให้น้อมใจตาม หรือทำให้เพลิดเพลิน เช่น กล่อมใจ กล่อมอารมณ์. |
กล่าวขาน | ก. เล่ากันมา เช่น ผู้คนกล่าวขานเรื่องกล้วยออกปลีที่โคนต้น. |
กล่าวบท | ก. เล่าเรื่อง เช่น มาจะกล่าวบทไป. |
การ์ตูน ๑ | น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย. |
กิดาการ | น. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย). |
กิตติ | (กิดติ) น. คำเล่าลือ, คำสรรเสริญ. |
กิตติศัพท์ | น. เสียงเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, เสียงยกย่อง. |
กิระ | ว. เล่าลือ เช่น คำกิระ หมายความว่า คำเล่าลือ. |
เกร็ด ๒ | (เกฺร็ด) น. ส่วนย่อยหรือส่วนเบ็ดเตล็ด ซึ่งเป็นเรื่องสนุกหรือน่าสนใจที่เล่าหรือเขียนถึงเหตุการณ์สั้น ๆ ตอนใดตอนหนึ่งในชีวประวัติบุคคลสำคัญ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเรื่องจริง เช่น เกร็ดพงศาวดาร, เรื่องที่เขียนเล่าถึงบรรยากาศที่น่าสนใจหรือสนุกขบขันในที่ประชุมก่อนที่จะมีผลสรุปออกมา. |
แก้ฝัน | ก. เล่าฝันให้ผู้อื่นทำนาย, ทำนายฝัน. |
ขัง | ก. ให้อยู่ในที่ล้อมเช่นกรง คอก หรือเล้า เป็นต้น, ให้อยู่ในที่ซึ่งกันไว้ เช่น ขังนํ้า |
ข่าว | น. คำบอกเล่าเรื่องราวซึ่งโดยปรกติมักเป็นเรื่องเกิดใหม่หรือเป็นที่สนใจ, คำบอกกล่าว, คำเล่าลือ. |
ข่าวคราว | น. คำบอกเล่าเรื่องทุกข์สุข. |
เข้าตำรา | ก. ถูกแบบแผน, ตรงตามแบบอย่างที่เคยมีมา, ถูกกับเรื่องราวที่เคยเล่ากันมา. |
เข้าพุง | ใช้ในความว่า ลืมความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาหมด ก็มี. |
คงแก่เรียน | ว. ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก. |
คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
ครึกโครม | (คฺรึกโคฺรม) ว. อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย. |
คลำป้อย | ก. อาการที่คลำและลูบแล้ว ๆ เล่า ๆ ตรงที่เจ็บ. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
คุรุศึกษา | น. การเล่าเรียนวิชาครู. |
according to all accounts | (idm) ตามคำบอกเล่า, See also: ตามรายงาน |
baldfaced | (adj) อย่างไม่ละอาย (คนชอบเล่าเรื่องโกหกโดยไม่ละอาย), See also: คนโกหก, Syn. brazen, shameless, barefaced |
blubber out | (phrv) เล่าอย่างสะอึกสะอื้น, See also: เล่าไปร้องไห้ไป |
by all accounts | (idm) ตามคำบอกเล่า, See also: ตามรายงาน |
ceilidh | (n) งานรื่นเริงที่มีการร้องเพลงและเล่าเรื่องราว (โดยเฉพาะในประเทศสก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์) |
cough out | (phrv) เล่าอย่างไม่เต็มใจ (หลังจากถูกชักชวนหรือคะยั้นคะยอ) (คำไม่เป็นทางการ), Syn. cough up, spit up |
crack a joke | (idm) เล่าเรื่องตลก |
cut a long story short | (idm) เล่าแบบให้รายละเอียดสั้นๆหรือเล็กน้อย |
dine out on | (phrv) เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้คนอื่นฟังหรืออ่าน (มักเป็นเรื่องสั้นหรือข่าว), Syn. dine off |
draw mild | (phrv) เล่าเรื่อง |
draw out | (phrv) ทำให้เล่าเรื่อง |
daily | (adv) แต่ละวัน, See also: ทุกวัน, วันแล้ววันเล่า, Syn. every day |
day after day | (adv) วันแล้ววันเล่า, See also: หลายวันติดต่อกัน |
describe | (vt) บรรยาย, See also: เล่า, พรรณนา, บอก, แถลง, ระบุ, Syn. express, harrate, report, quote |
description | (n) การพรรณา, See also: การบรรยาย, การอธิบาย, การบอก, การเล่า, Syn. narrative, report, article, record |
epic | (adj) เกี่ยวกับมหากาพย์, See also: เกี่ยวกับบทกวีที่เล่าเรื่องความกล้าหาญและการผจญภัย |
epic | (n) มหากาพย์, See also: โคลงเล่าเรื่องความกล้าหาญและการผจญภัย |
fable | (n) นิทาน, See also: เรื่องเล่าที่ให้คติสอนใจและมักมีตัวละครเป็นสัตว์, ตำนาน, นิทานสอนใจ, ชาดก, Syn. traditional short story |
fable | (vt) เล่านิทาน, See also: เล่าเรื่องโกหก |
fabled | (adj) ที่เล่าหรือที่มีชื่อเสียงจากเรื่องราวในนิทาน |
fee | (n) ค่าธรรมเนียม, See also: ค่าตอบแทน, ค่าบริการ, ค่าเล่าเรียน, Syn. charge, payment |
fiction | (n) บันเทิงคดี, See also: นวนิยาย, เรื่องเล่า, เรื่องโกหก, Syn. fable, story, fairy tale |
flashback | (n) การเล่าเรื่องย้อนอดีต, See also: การเล่าเรื่องย้อนกลับไปในอดีต |
frequent | (adj) ซึ่งเป็นประจำ, See also: ถี่, บ่อย, ชุก, เป็นนิจสิน, ซ้ำแล้วซ้ำเล่า, Syn. chronic, regular, repeated, Ant. occasional, sporadic |
gasp out | (phrv) เล่าอย่างกระหืดกระหอบ, See also: บอกอย่างหายใจเหนื่อยหอบ, Syn. pant out |
give away | (phrv) เผย, See also: เล่าความลับ โดยเจตนาและไม่เจตนา |
go ahead with | (phrv) เล่า, See also: พูดต่อไป |
gag | (n) มุขตลก (คำไม่เป็นทางการ), See also: มุข, การเล่าเรื่องตลก, Syn. prank |
hearsay | (n) คำบอกเล่า, See also: เรื่องที่ได้ยินมาจากคนอื่น |
time after time | (idm) ซ้ำแล้วซ้ำอีก, See also: ซ้ำแล้วซ้ำเล่า, ซ้ำๆ |
lay one's cards on the table | (idm) เล่าความจริง |
let it all hang out | (idm) เล่าทุกสิ่ง (คำสแลง) |
lay | (n) เรื่องเล่าหรือบทกลอนสั้นๆ, See also: บทกวีสั้นๆ, Syn. short poem |
learn | (vi) เรียน, See also: เรียนรู้, ศึกษา, เล่าเรียน, เข้าเรียน, ฝึกปรือ, ฝึกหัด |
learn | (vt) เรียน, See also: เรียนรู้, ศึกษา, เล่าเรียน, เข้าเรียน, ฝึกปรือ, ฝึกหัด |
legend | (n) ตำนาน, See also: นิทาน, เรื่องเล่าต่อๆกันมา, Syn. fable, myth, saga |
mythologist | (n) ผู้เล่าตำนาน, See also: ผู้เชี่ยวชาญเรื่องของ mythology |
mythologize | (vi) เล่าตำนาน |
narrate | (vt) บรรยาย, See also: พากย์, เล่า, Syn. tell, communicate, narrate |
narration | (n) การเล่าเรื่อง, See also: การบรรยาย, Syn. description, narrative |
narrative | (n) เรื่องเล่า, See also: เรื่องที่เล่าหรือบรรยาย, การเล่าเรื่อง, การบรรยายตามลำดับของเหตุการณ์, การเล่าเรื่อง, กา, Syn. anecdote, narration, tale, yarn |
narrator | (n) ผู้บรรยาย, See also: ผู้เล่า, คนเล่า, Syn. reciter, reconteur |
OK | (int) ใช้วางหลังประโยคบอกเล่าเพื่อถามว่าเห็นด้วยหรือตกลงหรือไม่ |
oral tradition | (n) ประวัติและขนมธรรมเนียมถ่ายทอดสู่รุ่นต่อไปโดยเล่าปากเปล่า |
putative | (adj) ซึ่งเป็นตามคำเล่าลือ |
pant out | (phrv) เล่าอย่างกระหืดกระหอบ |
pour out | (phrv) เล่าอย่างเร็ว |
question tag | (n) วลีท้ายประโยคบอกเล่าแสดงการถาม, Syn. tag question |
raconteur | (n) ผู้ที่เล่าเรื่องหรือเกร็ดต่างๆ ได้สนุกและน่าสนใจ, Syn. anecdotist |
recount | (vt) เล่า, See also: บรรยาย, Syn. describe, narrate, tell |
again and again | ครั้งแล้วครั้งเล่า, Syn. often |
anecdotist | (แอน' นิโดทิสทฺ) n. ผู้เล่าเรื่องราวเล็ก ๆ น้อย ๆ , ผู้เล่าเกร็ดประวัติ |
augean stables | คอกวัวของพระเจ้า Augeas ซึ่งเล่ากันว่ามีวัวอยู่ 3000 ตัวที่ไม่เคยได้ทำความสะอาดต่อม Hercules ได้ใช้น้ำในแม่น้ำ Alpheus ล้างวันเดียวสะอาด |
day-to-day | adj. วันแล้ววันเล่า, ประจำวัน |
erudition | (เออรูดิช'เชิน) n. ความรู้, การเล่าเรียน, ความแก่เรียน, การมีความรู้สูง |
fable | (เฟ'เบิล) n. นิทานสั้น, นิทาน, ชาดก, ความเท็จ v. เล่านิทาน, โกหก., See also: fabler n. |
fame | (เฟม) n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, เกียรติยศ, เกียรติคุณ, ศักดิ์ศรี, ข่าวลือ, การเล่าลือ. vt. ทำให้มีชี่อเสียง, เลื่องลือ. |
fee | (ฟี) { feeed, feeing, fees } n. ค่าธรรมเนียม, ค่าเล่าเรียน, เงินรางวัล, ค่าตอบแทน, ค่าบริการ. vt. ให้ค่าธรรมเนียม, Syn. stipend |
folk tale | n. เรื่องที่เล่าลือกันมา., Syn. folk story |
hula-hula | (ฮู'ละ ฮู'ละ) n. การเต้นระบำฮาวายที่มีการโบกมือและแขนเล่าเรื่องต่าง ๆ, Syn. hula dance, hula |
impart | (อิมพาร์ทฺ') vt. บอก, แจ้ง, เล่าเรื่อง, เผย, ให้, มอบ, แบ่งให้, ส่ง, See also: impartation, impartment n. imparter n., Syn. divulge, reveal, discover |
indicant | n., adj. เครื่องที่บอก, ซึ่งชี้แนะ, ซึ่งบอกเล่า (that which indicates) |
indicative | (อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding |
infinite loop | วงวนไม่จุดจบหมายถึง คำสั่งในโปรแกรมที่สั่งให้เครื่องปฏิบัติการไปตามคำสั่งตามลำดับขั้นตอน แต่กลับวนไปที่คำสั่งเก่าซ้ำแล้วซ้ำเล่าอย่างไม่รู้จักจบ เพราะหาทางออกไม่ได้ (อาจเกิดจากความบกพร่องในการเขียนโปรแกรม) มีความหมายเหมือน endless loop |
legendary | (เลจ'เจินเดอรี) adj. เกี่ยวกับ legend (ดู) n. หนังสือรวบรวมเรื่องเล่าลือหรือตำนานต่าง ๆ, See also: legendarily adv., Syn. fanciful |
legendize | (เลจ'เจินไดซ) vt. ทำให้เป็นเรื่องเล่าลือกัน |
legendry | (เลจ'เจินดรี) n. หนังสือรวบรวมเรื่องเล่าลือหรือตำนานต่าง ๆ , ตำนานต่าง ๆ , เรื่องเล่าลือต่าง ๆ, Syn. legends |
lore | (ลอร์) n. ความรู้, เรื่องเก่า ๆ , นิยายที่เล่าลือกันมา, ตำนาน, การสั่งสอน, กระบวนการสอน, บทเรียน |
myth | (มิธ) n. เรื่องอภินิหารที่เป็นนิยายหรือตำนานที่เล่าต่อ ๆ กันมา, Syn. story, legend, folk, tale |
narrate | (แนร์'เรท, แนเรท') { narrated, narrating, narrates } v. เล่าเรื่อง, บรรยาย., See also: narratable adj. narrator, narrater n., Syn. tell |
narration | (แนเร'เชิน) n. เรื่องเล่า, เรื่องบรรยาย, การเล่าเรื่อง, การบรรยาย |
narrative | (แน'ระทิฟว) n. เรื่องเล่า, การเล่าเรื่อง adj. เกี่ยวกับเรื่องเล่า, Syn. chronicle |
page | (เพจ) n. หน้าหนังสือ, ใบ, เด็กรับใช้ที่เป็นผู้ชาย, คนหนุ่มที่ได้รับการฝึกให้เป็นอัศวิน, มหาดเล็กของราชสำนัก vt. เรียกชื่อซ้ำแล้วซ้ำเล่าเพื่อให้มา, ระบุหน้า. vi. เป็นเด็กรับใช้เป็น, พลิกหน้า คนรับใช้, See also: pagehood n. pageship n. |
parabolise | vt. อธิบายหรือบอกเล่าในรูป parable |
parabolize | vt. อธิบายหรือบอกเล่าในรูป parable |
pitch | (พิทชฺ) vt. กาง (เต็นท์) , ตั้ง (ค่าย) , โยน, ขว้าง, เหวี่ยง, กำหนด, ยืน, ประจำ, เร่ขาย, ตั้งโชว์สินค้า, ปูทาง, เล่านิยาย. vi. ถลำไปข้างหน้า, โยน, ขว้าง, เอียง, ราดด้วยลาดมยางมะตอย -Phr. (pitch in ร่วมด้วย เริ่มทำงานอย่างขะมักเขม้น) n. ระดับ, ระดับเสียง, ยางมะตอย, น้ำมันดิบ, ยางไม้, ตำแหน่ง, ความลาด, จุดสูงสุด, ความบิดของใบพัด, ที่ตั้งแผงลอย, ช่วงระยะห่างของเกลียว, สถานที่แสดง |
putative | (พู'ทะทิฟว) adj. ตามคำเล่าลือ, สมมุติ, สันนิษฐาน, อนุมาน. |
recount | (รีเคานทฺ') vt., n. (การ) นับอีก, นับใหม่, คำนวณใหม่, คิดใหม่, บรรยาย, สาธยาย, เล่า, ระบุ |
rede | (รีด) vt. แนะนำ, ให้คำปรึกษา, เตือน, อธิบาย n. คำแนะนำ, คำปรึกษา, โครงการ, แผนงาน, นิยาย, เรื่องเล่า, Syn. counsel, advise |
relate | (รีเลท') vt. บอก, เล่า, บรรยาย, ทำให้มีความสัมพันธ์กัน, ทำให้เกี่ยวข้องกัน, vi. เกี่ยวข้อง, สัมพันธ์, สอดคล้อง, เป็นญาติกัน, See also: relatability n. relatable adj. relater n., Syn. tell, narrate, delineate |
relator | (รีเล'เทอะ) n. ผู้บอก, ผู้เล่า, ผู้บรรยาย |
report | (รีพอร์ท') n. รายงาน, คำแถลง, คำประกาศ, ข่าวลือ, เรื่องซุบซิบ, บันทึก, บันทึกการบรรยาย, ชื่อเสียง, เสียงดังระเบิด vt., vi. รายงาน, เขียนรายงาน, ทำรายงาน, ทำบันทึก, เขียนข่าว, ฟ้องร้อง, จดคำบรรยาย, บอก, เล่า, See also: reporter ผู้สื่อข่าว |
rumor | (รู'เมอะ) n. ข่าวลือ, ข่าวเล่าลือ, เรื่องโจษจัน, vt. ปล่อยข่าวลือ, เล่าลือ, ซุบซิบ, Syn. report, tale, gossip |
rumour | (รู'เมอะ) n. ข่าวลือ, ข่าวเล่าลือ, เรื่องโจษจัน, vt. ปล่อยข่าวลือ, เล่าลือ, ซุบซิบ, Syn. report, tale, gossip |
saga | (ซา'กะ) n. นิยายเล่าลือเกี่ยวกับการผจญภัยและความกล้าหาญ, นิยายลำดับเหตุการณ์สมาชิกครอบครัวหรือวงค์ตระกูลหรือกลุ่มของสังคม , การเล่าอย่างยืดยาว |
santa claus | (แซน'ทะ คลอซ) n. นักบุญ Saint Nicholaus ที่เล่าลือว่านำของขวัญมาให้เด็ก ๆ ในเทศกาลคริสต์มาส |
say | (เซ) vt., vi. พูด, กล่าว, บอก, เล่า, ว่า, แสดงความเห็น adv. ประมาณ, ยกตัวอย่าง, เช่น n. สิ่งที่พูด, คำพูด, สิทธิในการพูด, คราวที่จะพูด, -Phr. (have the say มีอำนาจ), See also: sayer n., Syn. utter, pronounce |
sayable | (เซ'อะเบิล) adj. พูดได้, กล่าวได้, บอกได้, เล่าได้ |
saying | (เซ'อิง) n. คำพูด, คำกล่าว, คำบอก, คำเล่าลือ, คติพจน์, สุภาษิต -Phr. (go without saying เชื่อมั่นในตนเองที่สุด), Syn. maxim |
schoolfee | (สคูล'ฟี) n. ค่าเล่าเรียน |
spin | (สพิน) { spun, spun, spinning, spins } vt., vi., n. (การ) ปั่น, กรอ, ฟั่น, ทอ (ไหม) , พ่น (ไหม) , ม้วน, ทำให้หมุน, ควง, แทง (บิลเลียด) , เรียบเรียง, เล่า, สาธยาย, เหวี่ยงออก, ขว้างออก, ยืดเยื้อ, หมุน, เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว, วิงเวียนศรีษะ, พลิก, Syn. rotate, whi |
story | (สทอ'รี) n. เรื่องราว, นิยาย, นิทาน, เรื่องโกลาหล, เทพนิยาย, เรื่องเล่าลือ, ประวัติ, พงศาวดาร, การบรรยาย, ข่าว, รายงานข่าว, การเล่านิยาย, การโกหก, เรื่องโกหก, =storey (ดู) vt. เรียบเรียงเป็นนิยาย, เล่านิยาย, Syn. narrative |
storytelling | (สทอรีเทล'ลิง) n. การเล่า (หรือเขียน) นิยายหรือนิทาน, การโกหก |
tale | (เทล) n. นิทาน, นิยาย, คำเล่าลือ, เรื่องโกหก, คำนินทา, จำนวนทั้งหมด |
taoism | (เดา'อิสซึม) n. ศาสนาเต๋าของจีนที่เล่าจื้อเป็นผู้ตั้งขึ้นยึดถือหลักการดำเนินชีวิตอย่างง่าย ๆ, See also: Taoist n. Taoistic adj. |
tell | (เทล) vt., vi. บอก, แจ้ง, เล่า, พูด, บรรยาย, เปิดเผย, จำแนกความแตกต่าง, แสดงผล. นับคะแนน, ทำนาย, ทำให้เกิดผลชัดเจนหรือรุนแรง, tell off กล่าวหาอย่างรุนแรง ประณาม ด่า, -Phr. (tell on พูดมาก พูดไม่เป็นสาระ), See also: tellable adj. -S... |
teller | (เทล'เลอะ) n. ผู้บอก, ผู้เล่า, พนักงานธนาคารที่มีหน้าที่รับหรือจ่ายเงิน, ผู้นับ คะแนนเสียง, See also: tellership n., Syn. raconteur |
telling | (เทล'ลิง) adj. มีแรง, มีผล, ได้ผล, ชะงัด, เล่าเรื่อง, บอกเล่า. |
telltale | (เทล'เทล) n. ผู้เปิดเผยความลับ, คนส่อเสียด, คนเล่านิทาน, สิ่งที่เปิดเผย, เครื่องบันทึกเวลาเริ่มทำงานและเลิกงาน adj. ซึ่งเปิดเผยความลับ, เปิดโปงความหลัง, ปากมาก |
utter | (อัท'เทอะ) vt. เปล่งเสียง, ออกเสียง, พูด, กล่าวคำพูด, เล่า, ทำให้รู้กันทั่ว, ทำให้หมุนเวียน, ขับออก, อาเจียน. adj. สมบูรณ์, ทั้งหมด, เด็ดขาด, ไม่มีเงื่อนไข., See also: utterable adj. utterer n. utterness n., Syn. express |
declarative | (adj) ซึ่งบอกเล่า, ที่เปิดเผย, ที่ประกาศ, ที่อธิบาย |
erudition | (n) ความคงแก่เรียน, การเล่าเรียน, ความรู้ |
fable | (vi, vt) เล่านิทาน, เล่านิยาย, พูดโกหก, พูดเท็จ, ปั้นน้ำเป็นตัว, แต่งเรื่องขึ้น |
fee | (n) ค่าบริการ, ค่าตอบแทน, ค่าธรรมเนียม, ค่าเล่าเรียน |
hearsay | (n) คำพูดสามัญ, คำบอกเล่า, การได้ยินมา, ข่าวลือ, เรื่องเล่า |
impart | (vt) บอก, แจ้ง, เล่าเรื่อง, ให้, ส่ง, มอบให้ |
indication | (n) การแสดง, การบอกเล่า, การบ่งบอก, เครื่องหมายแสดง |
indicative | (adj) ซึ่งบอกเล่า, ซึ่งบ่งบอก, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แนะ |
lay | (n) บทเพลง, กลอนสั้น, เรื่องเล่าสั้นๆ |
learn | (vi, vt) เรียน, ศึกษา, เล่าเรียน, รู้, ทราบ, หัด |
learner | (n) ผู้เรียน, ผู้ศึกษาเล่าเรียน |
learning | (n) การเรียน, การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การเล่าเรียน |
legend | (n) นิทานโบราณ, ตำนาน, เรื่องเล่าลือ, คำสลัก, แผนภูมิ |
lore | (n) ความรู้, เรื่องเก่า, นิทาน, นิยาย, เรื่องเล่า, ตำนาน, บทเรียน |
narrate | (vt) บรรยาย, เล่าเรื่อง |
narration | (n) การเล่าเรื่อง, การบรรยาย, เรื่องเล่า, เรื่องบรรยาย |
narrative | (adj) เกี่ยวกับการบรรยาย, เกี่ยวกับเรื่องเล่า, เกี่ยวกับการเล่าเรื่อง |
narrative | (n) การเล่าเรื่อง, การบรรยาย, เรื่องเล่า, เรื่องบรรยาย |
narrator | (n) ผู้บรรยาย, ผู้เล่าเรื่อง |
quoth | (vi, vt) กล่าว, ได้พูด, บอก, เล่า |
recital | (n) การบอกเล่า, การท่องอาขยาน, การบรรยาย, การสาธยาย |
recite | (vt) อ่านออกเสียง, สวด, เล่า, ท่องจำ, สาธยาย |
recount | (vt) นับอีกครั้ง, เล่าเรื่อง, บรรยาย, ท่อง, สาธยาย, คิดใหม่ |
rehearsal | (n) การแจ้ง, การซ้อม, การระบุ, การเล่า, การท่อง |
rehearse | (vt) แจ้งรายการ, ซ้อม, ระบุ, เล่า, ท่อง, ฝึกซ้อม |
relate | (vt) เกี่ยวพันกัน, บอกเล่า, เทียบเคียง, สัมพันธ์ |
report | (vi, vt) เล่า, รายงาน, เขียนข่าว, เขียนรายงาน, บอก, ฟ้องร้อง |
rumour | (vt) เลื่องลือ, ซุบซิบนินทา, เล่าลือ, โจษจัน |
say | (vt) บอก, พูด, กล่าว, เล่า, ว่า |
scholarship | (n) ทุนเล่าเรียน |
scholastic | (adj) เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับการศึกษา, เกี่ยวกับการเล่าเรียน |
school | (n) โรงเรียน, วิทยาลัย, สถาบันการศึกษา, การเล่าเรียน, ฝูงปลา |
state | (vt) แจ้ง, เล่า, แถลง, กล่าว, สาธยาย, กำหนด |
statement | (n) คำกล่าว, การบอกเล่า, รายงาน, คำแถลง, การบรรยาย |
story | (n) ชั้นของบ้าน, เรื่อง, นิยาย, เรื่องโกหก, ข่าว, การเล่าเรื่อง |
tale | (n) การนับ, เรื่องราว, นิทาน, เรื่องเล่า |
tell | (vt) บอก, แจ้ง, เล่า, นับ, เปิดเผย, บรรยาย |
teller | (n) ผู้บอกเล่า, ผู้นับคะแนนเสียง, พนักงานรับจ่ายเงินของธนาคาร |
telling | (n) การเล่า, การบอก, การบรรยาย |
telltale | (n) คนปากโป้ง, คนปากสว่าง, คนเล่านิทาน |
untold | (adj) ไม่ได้บอกเล่า, เหลือพรรณนา, นับไม่ถ้วน |
utter | (vt) เปล่งเสียง, เล่า, ขับออก, อาเจียน |
version | (n) พากย์, เรื่องเล่า, คำแปล, บทแปล |