เมตริก | (เมดตฺริก) น. ระบบการใช้หน่วยสำหรับวัดปริมาณต่าง ๆ โดยกำหนดใช้กรัมเป็นหน่วยของมวลสาร ใช้เซนติเมตรเป็นหน่วยของระยะห่าง และใช้วินาทีเป็นหน่วยของเวลา. |
เมตริกตัน | น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ ๖๐ หาบ, อักษรย่อว่า ต. |
กรัม | (กฺรำ) น. หน่วยมาตราชั่งนํ้าหนัก ตามมาตราเมตริก มีอัตรา = ๑๐๐ เซนติกรัม หรือ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ แห่งกิโลกรัม, อักษรย่อว่า ก. |
กะรัตหลวง | น. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต. |
กิโล, กิโล- | เป็นคำประกอบข้างหน้าหน่วยมาตราเมตริก หมายความว่า พัน เช่น กิโลเมตร กิโลกรัม. |
เซนติกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก. |
เซนติเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. |
เซนติลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล. |
เดคากรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก. |
เดคาเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม. |
เดคาลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล. |
เดซิกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก. |
เดซิเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม. |
เดซิลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล. |
ตัน ๒ | น. มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒.ตันระวางเรือ ถ้าคำนวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคำนวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคำนวณนํ้าหนักทั้งลำเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑, ๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. |
มาตรา | (มาดตฺรา) น. หลักกำหนดการวัดขนาด จำนวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก |
มิลลิกรัม | น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า มก. |
มิลลิเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า มม. |
มิลลิลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า มล. |
เมตร | (เมด) น. หน่วยวัดความยาวอย่างหนึ่งตามวิธีเมตริก กำหนดเทียบเท่ากับ ๑๐๐ เซนติเมตร หรือ ๒ ศอก. |
ลิตร | น. ชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร เทียบกับอัตราวิธีประเพณีเท่ากับ ๑ ทะนานหลวง. |
เฮกตาร์ | น. หน่วยมาตราวัดพื้นที่ตามวิธีเมตริก ๑ เฮกตาร์เท่ากับ ๑๐, ๐๐๐ ตารางเมตร หรือประมาณ ๖ ไร่ ๑ งาน. |
เฮกโตกรัม | น. หน่วยมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า ฮก. |
เฮกโตเมตร | น. หน่วยมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า ฮม. |
เฮกโตลิตร | น. หน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ฮล. |
เซนติเมตร | ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ 1 ใน 100 ของ 2 เมตร, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ เซ็นติเมตร [คำที่มักเขียนผิด] |
Extracellular matrix proteins | โปรตีนเมตริกซ์นอกเซลล์ [TU Subject Heading] |
Isometric contraction | การหดตัวแบบไอโซเมตริก [TU Subject Heading] |
Nonparametric statistics | สถิตินอนพาราเมตริก [TU Subject Heading] |
Thermometric titration | เทอร์โมเมตริก ไทเตรชัน [TU Subject Heading] |
Gravimetric | ระบบกราวิเมตริก, Example: การวัดค่าฝุ่นละออง โดยดูดอากาศผ่านแผ่นกรอง ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นละอองขนาด 0.3 ไมครอน (Micron) ได้ร้อยละ 99 แล้วหาน้ำหนักฝุ่นละอองจากแผ่นกรองนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
Amperometric Titration | แอมเปอโรเมตริกไทเทรชัน [การแพทย์] |
Asymmetric | ไม่สมมาตร, เอซิมเมตริก [การแพทย์] |
Coulometric Cells | คูลอมเมตริกเซลล์ [การแพทย์] |
Fluorometric Method | วิธีฟลูออโรเมตริก [การแพทย์] |
isometric figure | ภาพแบบไอโซเมตริก, ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติที่เขียนบนกระดาษจุดไอโซเมตริก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
metric system | ระบบเมตริก, ระบบหน่วยที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ ตลอดจนใช้ในทางการค้า และทางวิศวกรรม ซึ่งใช้กันโดยทั่วไป ระบบเมตริกได้กำหนดให้ความยาว มีหน่วยเป็นเมตร มวล มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เวลา มีหน่วยเป็นวินาที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
isometric drawing | ภาพไอโซเมตริก, ภาพ 3 มิติ ที่มีแนวสันของวัตถุด้านหนึ่งตั้งฉากกับเส้นระดับ ส่วนภาพด้านหน้าและด้านข้างจะทำมุม 30 องศากับเส้นระดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
isometric grid paper [ isometric graph paper ] | กระดาษกริดไอโซเมตริก, กระดาษที่มีเส้นตรง 3 แกนตัดกัน เกิดเป็นตารางสามเหลี่ยมเพื่อใช้เป็นเส้นร่างกำหนดแนวความกว้าง ความยาว และความสูงของภาพที่เราจะวาด ประกอบด้วย แกน X (แกนทแยงขวา)ใช้แทนความกว้าง แกน Y (แกนทแยงซ้าย) ใช้แทนความยาวหรือลึก แกน Z (แกนตั้ง) ใช้แทนความสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Iodimetric | ไอโอดิเมตริก [การแพทย์] |
Isometric | เกร็งกล้ามเนื้อ, ไอโซเมตริก [การแพทย์] |
Isometric Exercise | การออกกำลังกายอยู่กับที่, กล้ามเนื้อเกร็งตัวแต่ไม่มีการเคลื่อนไหวของข้อ, การออกกำลังไอโซมีทริค, การออกกำลังกล้ามเนื้อโดยไม่หดตัวสั้น, การออกกำลังไอโซเมตริก [การแพทย์] |
Metric System | ระบบเมตริก [การแพทย์] |
measure | (เมช'เชฺอะ) n. มาตรการ, ปริมาณที่วัดได้, เครื่องมือ, หน่วยการวัด, ปริมาณที่แน่นอน, กฎหมาย, จังหวะ, หน่วยเมตริก, การเต้นรำที่สง่าและช้า v. วัด, หาค่า, ประมาณ, กะ, ประเมิน, เป็นวิธีการ, ปรับ, เดินทาง -Phr. (for good measure เป็นส่วนพิเศษ), Syn. extent |
metric | (เม'ทริค) adj. เกี่ยวกับเมตร, เกี่ยวกับระบบเมตริก |
metric system | ระบบเมตริก |
millier | (มีลเย') n. หนึ่งพันกิโลกรัม, หนึ่งเมตริกตัน |
tonne | (ทัน) n. 1000 กิโลกรัม, เมตริกตัน |