Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Prior Art | ข้อมูลภูมิหลังที่เกี่ยวข้องกับสิทธิบัตรที่ยื่นขอ ซึ่งมีการเผยแพร่มาก่อนหน้านี้แล้ว [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Selective Dissemination Information | บริการสารสนเทศคัดสรรเพื่อเผยแพร่ตามที่ผู้ใช้ระบุความต้องการ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Internet in publicity | อินเตอร์เน็ตในการเผยแพร่ [TU Subject Heading] |
Mass media and publicity | สื่อมวลชนกับการเผยแพร่ข่าว [TU Subject Heading] |
Mission of the church | การเผยแพร่ศาสนาของคริสตจักร [TU Subject Heading] |
Missions | การเผยแพร่คริสตศาสนา [TU Subject Heading] |
Missions to Buddhists | การเผยแพร่คริสตศาสนาต่อพุทธศานิกชน [TU Subject Heading] |
Publication and distribution | การจัดพิมพ์และการเผยแพร่ [TU Subject Heading] |
Publicity | การเผยแพร่ข่าว [TU Subject Heading] |
Publicity (Law) | การเผยแพร่ข่าว (กฏหมาย) [TU Subject Heading] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Muslim World League (Rabita) | สันนิบาตมุสลิมโลก " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนอิสลามที่มีวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือและเผยแพร่ศาสนา อิสลาม และปกป้อง สิทธิประโยชน์ของชาวมุสลิมทั่วโลก " [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Thai Centre | ศูนย์วัฒนธรรมไทย " เป็นโครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เพื่อให้ ชาวต่างประเทศได้รู้จักและเข้าใจประเทศไทย " [การทูต] |
Thai Corner | มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ " [การทูต] |
World Intellectual Property Organization | องค์การเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกี่ยวกับการค้า ถือกำเนิดจากอนุสัญญากรุงปารีส ปี ค.ศ. 1883 และอนุสัญญากรุงเบอร์นส์ ปี ค.ศ. 1886 ว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมอนุสัญญาจัดตั้งองค์การเกี่ยวกับ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้านี้ ได้มีการลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1967 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งของสหประชาชาติ และมีประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การแล้วรวม 155 ประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ทั่วโลกได้รับการธำรงรักษาและเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและวัฒนธรรม และเอื้ออำนวยต่อการถ่ายทอดวิทยาการเทคโนโลยี รวมทั้งให้เผยแพร่งานวรรณกรรม และศิลปกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และทรัพย์สินทางลิขสิทธิ์กับสิทธิที่ใกล้เคียงองค์การมีสำนักเลขาธิการตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำแหน่งหัวหน้าขององค์การนี้ เรียกว่า ผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งขณะนี้ได้แก่ Dr.Arpad Bogsch [การทูต] |
Preprint | บทความหรือเอกสารทางวิชาการก่อนตีพิมพ์หรือเผยแพร่โดยผ่านกระบวนการประเมิน, Example: ในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Preprint ถือว่าเป็นฉบับร่างหรือเป็นฉบับก่อนที่ตีพิมพ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของผลงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์หรือเผยแพร่อย่างสมบูรณ์โดยผ่านกระบวนการประเมินโดยคณะกรรมการ (peer review) เนื่องจากในกระบวนการพิมพ์วารสารทางวิชาการต้องผ่านกระบวนการประเมินจากคณะกรรมการ ซึ่งใช้เวลาหลายสัปดาห์ หลายเดือน หรือบางทีอาจจะเป็นปี นับตั้งแต่การส่งผลงานนั้นเข้ามา ความต้องการในการเผยแพร่เอกสารออกไปโดยเร็วจึงรู้จักกันว่าเป็นฉบับ preprint โดยต้นฉบับก็ยังดำเนินการประเมินต่อไป บางสำนักพิมพ์อนุญาตให้นำเอกสารหรือบทความฉบับ Preprint เผยแพร่อย่างเสรีได้ในระบบ Open Access <p> <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120824-Preprint.jpg" width="540" higth="100" alt="Preprint"> <p> จากรูปเป็นกระบวนการพิมพ์ ซึ่งจะเห็นว่า preprint อยู่ในส่วนต้นก่อนจะได้รับการเผยแพร่ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>Waaijiers, Ieo and Wesseling, Michel. 2009. "Publish and Publish and Cherish With Non-proprietary Peer Review Systems" Ariadne 59. http://www.ariadne.ac.uk/issue59/waaijers <p>Preprint. 2012. http://www.openaccess.be/default.aspx?PageId=589. Accessed. 24-12-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Postprint | บทความหรือเอกสารทางวิชาการที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่หลังจากผ่านกระบวนการประเมิน, Example: ในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Postprint ถือว่าเป็นเอกสารหรือบทความที่ได้รับการประเมินแล้ว แต่อาจจะยังมิได้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายของการพิมพ์ แต่ในแง่ของเนื้อหานั้น psorprint ถือว่าเป็นบทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการพิมพ์ สำนักพิมพ์มักจะคงการพิมพ์และรูปแบบตามที่สำนักพิมพ์กำหนด บางสำนักพิมพ์อนุญาตให้เผยแพร่ Postprint อย่างเสรีได้ในระบบ Open Access <p> <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120824-Preprint_0.jpg" width="540" higth="100" alt="Postprint"> <p>จากรูปเป็นกระบวนการพิมพ์ ซึ่งจะเห็นว่า postprint อยู่ในส่วนท้ายก่อนจะได้รับการเผยแพร่ <p>รายการอ้างอิง <p>Waaijiers, Ieo and Wesseling, Michel. 2009. "Publish and Publish and Cherish With Non-proprietary Peer Review Systems" Ariadne 59. http://www.ariadne.ac.uk/issue59/waaijers <p>Postprint. 2012. http://www.openaccess.be/default.aspx?PageId=588. Accessed. 24-12-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Really Simple Syndication( RSS) | อาร์เอสเอส, เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เป็นประจำได้แบบอัตโนมัติ โดยผู้ใช้ต้องขอรับบริการ ผู้ใช้ไม่ต้องเข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่างๆ โดยตรง เพื่ออ่านข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงในแต่ละวันด้วยตนเองทีละเว็บไซต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Creative Commons (CC) | ครีเอทีฟคอมมอนส์, องค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้การใช้และเผยแพร่สื่อต่างๆ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น ทำให้การใช้สื่อมีอิสระโดยยังคงรักษาสิทธิ์ของเจ้าของผลงาน บุคคลอื่นสามารถใช้และเผยแพร่สื่อได้ตามเงื่อนไขที่เจ้าของผลงานกำหนด เช่น ต้องระบุที่มาของสื่อ (Attribution :by) ห้ามใช้ท [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
wiki | วิกิ, รูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลที่บุคคลต่างๆ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญเฉพาะเรื่อง สามารถมีส่วนร่วมในการเป็นผู้ให้ข้อมูลใหม่ หรือเป็นผู้ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้ถู่มกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น รายละเอียดของข้อมูลที่เผยแพร่ก่อให้เกิดประโยชน์กับบุคคลทั่วไป หรือก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Grey Literature | เอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่, Example: Grey literature คือ เอกสารที่พิมพ์เผยแพร่ในวงจำกัด หรือเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ จัดได้ว่าเป็นเอกสารที่ค่อนข้างหาได้ยาก เช่น รายงานการประชุมและสัมมนา รายงานการศึกษา การสำรวจและวิจัย วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ บทความจากวารสารและหนังสือพิมพ์ จุลสาร ปาฐกถา แผนพัฒนา และข้อมูลสถิติต่าง ๆ หรือเอกสารอื่น ๆ ที่มีการควบคุมคุณภาพ โดยมีการพิจารณาก่อนที่จะนำไปตีพิมพ์ และไม่นำไปตีพิมพ์แพร่หลาย หรือเป็นสารสนเทศข้อมูลที่จัดทำโดยหน่วยงานภาครัฐหรือกลุ่มวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สถาบันการศึกษา องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรม ในลักษณะที่เป็นสิ่งพิมพ์และไม่ใช่สิ่งพิมพ์ โดยไม่ได้ผลิตในเชิงเพื่อธุรกิจ เอกสารเหล่านี้จัดได้ว่าเป็นเอกสารที่ค่อนข้างหาได้ยากหรือไม่สามารถเข้าถึงได้โดยทั่วไป<br> <br>ในการระบุและการจัดหาเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ สร้างความยากลำบากให้แก่บรรณารักษ์และผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลอื่น ๆ ด้วยสาเหตุหลายประการ ได้แก่ โดยทั่วไปเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่นี้ มักจะไม่มีการควบคุมทางบรรณานุกรม หมายความว่า ข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ ของสิ่งพิมพ์ เช่น ผู้เขียน วันที่พิมพ์หรือหน่วยงานที่จัดพิมพ์อาจมองเห็นได้ไม่ชัดเจน นอกจากนั้นการออกแบบที่ไม่เป็นมืออาชีพและจำนวนพิมพ์ที่มี จำนวนจำกัดของเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ ทำให้การจัดเก็บรวบรวมสิ่งพิมพ์เหล่านี้เป็นสิ่งที่ท้าทาย เมื่อเทียบกับวารสารและหนังสืออื่น ๆ แต่ปัญหาการเข้าถึงเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ได้ยากนี้เริ่มลดลงตั้งแต่ ปี 2443 เมื่อรัฐบาล ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรธุรกิจและหน่วยงานของมหาวิทยาลัยได้จัดพิมพ์รายงานและเอกสารต่าง ๆ ให้เปล่าโดยไม่คิดเงินไว้บนเว็บ และจากการที่มีเครื่องมือช่วยค้นหา (Search engine) ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น เช่น Google, Yahoo เป็นต้น จึงทำให้ค้นหาเอกสารเอกสารที่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ ได้ง่ายมากขึ้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
add | (vt) นำเข้า, See also: เผยแพร่ |
add | (vi) นำเข้า, See also: เผยแพร่ |
Apostle | (n) ผู้เผยแพร่คริสตศาสนาครั้งแรก ซึ่งมีจำนวน 12 คน |
broadcast | (vt) กระจาย, See also: เผยแพร่, แจ้ง, Syn. transmit |
campaign for | (phrv) โฆษณาเผยแพร่, Syn. agitate for, campaign against, crusade against, crusade for |
disperse | (vi) กระจาย, See also: เผยแพร่, แพร่, กระจัดกระจาย, Syn. scatter, disband |
disseminate | (vi) เผยแพร่, See also: แผ่ขยาย, แพร่กระจาย, กระจายไปสู่, Syn. spread, circulate, diffuse |
disseminate | (vt) เผยแพร่, See also: แผ่ขยาย, แพร่กระจาย, กระจายไปสู่, Syn. spread, circulate, diffuse |
disseminator | (n) สิ่งเผยแพร่ความรู้, See also: เครื่องเผยแพร่ความรู้ |
distribute | (vt) เผยแพร่, See also: กระจาย, Syn. circulate, diffuse, propagate |
hype | (n) การเผยแพร่เกินจริง, See also: การโฆษณาเกินจริง, การหลอกลวง |
missionary | (n) หมอสอนศาสนา, See also: ผู้เผยแพร่ศาสนา, มิชชันนารี, Syn. apostle, evangelist |
missionary | (adj) เกี่ยวกับคณะผู้สอนศาสนา, See also: เกี่ยวกับผู้เผยแพร่ศาสนา, Syn. evangelical |
missioner | (n) หมอสอนศาสนา, See also: ผู้เผยแพร่ศาสนา, Syn. missionary |
noise | (vt) ป่าวประกาศ, See also: แพร่กระจายข่าว, เผยแพร่ ข่าวลือ, Syn. rumor, spread |
nonproliferation | (n) การป้องกันการเผยแพร่ |
proliferous | (adj) ซึ่งแพร่ออกไป, See also: ซึ่งเผยแพร่ |
promulgate | (vt) เผยแพร่, See also: ทำให้รู้ทั่วกัน |
promulgation | (n) การเผยแพร่ |
promulge | (vt) เผยแพร่, See also: ทำให้รู้ทั่วกัน |
propagable | (adj) ซึ่งสามารถเผยแพร่ได้ |
propaganda | (n) ข้อมูลประชาสัมพันธ์, See also: ข้อมูลเผยแพร่เพื่อประชาสัมพันธ์ |
propagandise | (vt) เผยแพร่ข้อมูล |
propagandise | (vi) เผยแพร่ข้อมูล |
propagandize | (vt) เผยแพร่ข้อมูล |
propagandize | (vi) เผยแพร่ข้อมูล |
prophet | (n) ศาสดา, See also: ผู้เผยแพร่ |
publicise | (vt) เผยแพร่, See also: โฆษณา, ประกาศ, Syn. announce, broadcast |
publicity | (n) การเผยแพร่, Syn. promotion |
publicize | (vt) เผยแพร่, See also: โฆษณา, ประกาศ, Syn. announce, broadcast |
transfer | (n) การเผยแพร่, See also: การถ่ายทอด |
amos | (เอ' มอส) n. ผู้เผยแพร่ศาสนา, บทหนังสือในพระคัมภีร์ (a minor Prophet) |
apostle | (อะพอส'เซิล) n. สาวกของพระเยซูคริสต์, มิชชั่นนารีแรกหรือที่รู้จักกันดีที่สุดของประเทศหรือท้องถิ่นนั้น, ผู้เผยแพร่, ผู้ปฏิรูป. |
blazon | (เบล'เซิน) { blazoned, blazoning, blazons } n. ตรา, เครื่องหมาย ธง vt. ทำเครื่องหมาย, ทำตรา, แสดง, ประกาศ, เผยแพร่, โอ้อวด, See also: blazoner n. blazonment n. ดูblazon blazoning n. ดูblazon, Syn. proclaim |
boost | (บูสทฺ) { boosted, boosting, boosts } vt., n. (การ) ยกขึ้น, เลื่อนขึ้น, ส่งเสริม, พูดจาสนับสนุน, เผยแพร่, เลื่อนตำแหน่ง, เพิ่มขึ้น, Syn. lift, raise |
broadcast/broadcasted } | (บรอด'คาสทฺ) v. กระจายเสียง, กระจายข่าว, เผยแพร่, หว่านพืช. -Conf. forecast |
computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย |
disseminate | (ดิเซม'มิเนท) vt. ทำให้กระจัดกระจาย, แพร่กระจาย, เผยแพร่., See also: dissemination n. ดูdisseminate disseminator n. ดูdisseminate, Syn. promulgate, circulate, propagate |
divulgate | vt. โฆษณา, เผยแพร่, เปิดเผย., See also: divulgator n. ดูdivulgate divulgater n. ดูdivulgate divulgation n. ดูdivulgate divulgatory adj. ดูdivulgate |
introduce | (อินทระดูซ') vt. แนะนำ, นำเข้า, นำสู่, เข้าสู่, เริ่มนำ, อรัมภบท, เกริ่น, เผยแพร่., See also: introducer n. introducible adj., Syn. present |
introduction | (อินทระดัค'เชิน) n. การแนะนำ, การแนะนำตัว, การนำเข้า, สิ่งที่ถูกนำเข้า, การอรัมภบท, การเริ่ม, การเผยแพร่, Syn. beginning, start, insertion |
lay | (เล) { laid, laid, laying, lays } vt. วาง, ปู, พาด, ลาด, ปู, ปล่อย, ทา, ตีแผ่น, เผยแพร่, นำเสนอ, ฝัง, ลงราก, กำหนด, ตั้ง, วางแผน, วางโครง, ออกไข่, ทิ้งระเบิด, กำหนดโทษ, วางเดิมพัน, พนัน, กะ, วัด, กด, ระงับ, บรรเทา, มุ่งหมาย, เล็งปืน vi. วางไข่, ออกไข่, พนัน, วางเดิมพัน, ขันต่อ, วางโครงการ, นอ |
linux | (ลีนุกซ์) ระบบปฏิบัติการคล้ายระบบยูนิกซ์ (UNIX like operating system) ของคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง แก่นของระบบถูกเขียนขึ้นโดย ลีนุส ทรอวัลด์ และเขาได้ทำการเผยแพร่ไปทางอินเตอร์เน็ต จนเป็นที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน สามารถแจกจ่ายทำซ้ำได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ์ ใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานร่วมกันหลายราย (multiusers) มี่โปรแกรมสำเร็จรูปจำนวนมากที่เขียนภายใต้ระบบนี้ ดู DOS, UNIX, GUI, Linus, Linus Torvald ประกอบ |
monger | (มัง'เกอะ, มอง'เกอะ) n. พ่อค้า, คนขาย, คนที่ของกระพือหรือเผยแพร่สิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือเรื่องที่ไม่ดี, See also: mongering n., adj. |
peddle | (เพด'เดิล) vt. เร่ขาย, เผยแพร่. vi. เร่ขาย, ยุ่งในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, Syn. hawk |
proliferate | (โพรลิฟ'เฟอเรท) vi., vt. แพร่พันธุ์, แพร่หลาย, เผยแพร่, ขยาย, งอก, เพิ่มทวี., See also: proliferative adj., Syn. abound |
proliferation | (โพรลิฟ'เฟอเร'เชิน) n. การแพร่พันธุ์, การแพร่หลาย, การเผยแพร่, การเพิ่มทวี |
proliferous | (โพรลิฟ'เฟอเริส) adj. แพร่หลาย, เผยแพร่, ขยาย, งอก, เพิ่มทวี, ออกลูกมาก |
propaganda | (พรอพพะแกน'ดะ) n. การโฆษณา, การเผยแพร่, การแพร่ข่าว |
propagandise | (พรอพพะแกน'ไดซ) vt., vi. โฆษณา, เผยแพร่, แพร่ข่าว., See also: propagandism, propagandist n., adj. propagandistic adj. propagandistically adv. |
propagandize | (พรอพพะแกน'ไดซ) vt., vi. โฆษณา, เผยแพร่, แพร่ข่าว., See also: propagandism, propagandist n., adj. propagandistic adj. propagandistically adv. |
propagate | (พรอพ'พะเกท) vt. เผยแพร่, แพร่พันธ์, แพร่ข่าว, เพิ่ม, เพิ่มทวี, ถ่ายทอด. vi. แพร่พันธุ์, เพิ่มทวี., See also: propagative adj. propagator n. propagatory, adj. |
propagation | (พรอพพะเก'เชิน) n. การเผยแพร่, การแพร่พันธ์, การแพร่ข่าว, การเพิ่มทวี, การถ่ายทอด. |
prophet | (พรอฟ'ฟิท) n. ผู้ทำนาย, ผู้พยากรณ์, ผู้ที่พระเจ้าดลใจมาสอนมนุษย์, ผู้เผยแพร่, ผู้รู้เหตุการณ์ล่วงหน้า. -Phr. (the Prophet โมฮัมมัด) (ทูตสวรรค์หรือศาสดาของศาสนาอิสลาม), See also: prophethood n., Syn. seer, predictor |
publicity | (พับลิส'ซิที) n. การโฆษณา, การเผยแพร่, การประชาสัมพันธ์, ชื่อเสียง |
publicize | (พับ'ลิไซซ) vt. โฆษณา, ประกาศ, เผยแพร่, Syn. air, advertise, disseminate |
push | (พุช) vt., vi., n. (การ) ผลัก, ดัน, ยัน, ไส, แทง (บิลเลียด) , รุกไปข้างหน้า, ทำให้ยื่นออก, สนับสนุน, ส่งเสริม, รุก, เร้า, ขายยาเสพติด, เผยแพร่, รีบเดินทาง, ยื่นหรือขยายออก -Phr. (push off จากไป ออกเดินทาง) |
quicksort | ควิกซอร์ต <คำอ่าน>เป็นขั้นตอนวิธีแบบหนึ่งที่ใช้ในการเรียงข้อมูล C.A.R. Hoare เป็นผู้คิดขึ้น และพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1962 |
undocumented | ไม่มีเอกสารอธิบายโดยปกติ ฮาร์ดแวร์ก็ดี ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมก็ดี เมื่อผู้ผลิตทำการผลิตออกมาแล้ว ก็จะต้องมีเอกสารอธิบายถึงส่วนประกอบ วิธีใช้ ตลอดถึงข้อแนะนำต่าง ๆ เอกสารดังกล่าวนี้ มักจะเรียกกันว่า "คู่มือ" (manual) แต่มีในบางกรณี ผู้ผลิตอาจไม่ต้องการให้มีการเผยแพร่ หรืออาจคิดว่าไม่จำเป็น จึงไม่จัดทำเอกสารดังกล่าวไว้ให้ ซึ่งผู้ใช้ต้องเสียเวลาค่อย ๆ คลำหาทางเอาเอง |
apostle | (n) สาวก, ผู้เผยแพร่ศาสนา, ผู้เผยแพร่ลัทธิ |
apostolic | (adj) เกี่ยวกับผู้เผยแพร่ศาสนา |
blaze | (vt) แพร่, กระจาย, เผยแพร่, แถลง, ประกาศ |
broadcast | (vi, vt) กระจายเสียง, แพร่ข่าว, เผยแพร่, ออกข่าว |
campaigner | (n) ผู้ต่อสู้, ผู้รณรงค์, ผู้โฆษณาเผยแพร่ |
diffuse | (vi, vt) แพร่, เผยแพร่, กระจายออกไป, ไหลท่วม |
diffusion | (n) การแพร่กระจาย, การแผ่ออกไป, การกระจายตัว, การเผยแพร่ |
disseminate | (vt) แจกจ่าย, โปรยปราย, เผยแพร่, แพร่กระจาย |
dissemination | (n) การแจกจ่าย, การแพร่กระจาย, การเผยแพร่ |
disseminator | (n) ผู้เผยแพร่, ผู้แพร่ |
evangelism | (n) การสอนศาสนา, การเผยแพร่คำสอน, การเผยแพร่ศาสนา |
evangelist | (n) ผู้เผยแพร่ศาสนา, ผู้สอนศาสนา, ผู้เขียนคัมภีร์คริสต์ศาสนา |
lay | (vt) วางลง, ออกไข่, จัด, กำหนด, วางเงินพนัน, ปู, ตีแผ่, เผยแพร่ |
peddle | (vt) เร่ขาย, เผยแพร่ |
peddler | (n) คนเร่ขายของ, ผู้เผยแพร่ |
plug | (vt) เสียบปลั๊ก, อุด, จุก, ยิง, ต่อย, เผยแพร่, โฆษณา |
promulgation | (n) การประกาศใช้, การป่าวประกาศ, การเผยแพร่ |
propaganda | (n) การโฆษณาชวนเชื่อ, การเผยแพร่, การเผยแผ่ |
propagate | (vt) โฆษณาชวนเชื่อ, เผยแพร่, เผยแผ่, ถ่ายทอด |
propagation | (n) การเผยแผ่, การเผยแพร่, การแพร่พันธุ์, การถ่ายทอด |
publicity | (n) การโฆษณา, การประกาศ, การเปิดเผย, การเผยแพร่, การประชาสัมพันธ์ |