เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
รากฐาน | น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ |
วิชาพื้นฐาน | น. รายวิชาที่ถือว่าเป็นพื้นฐานของวิชาในระดับที่สูง ๆ ขึ้นไป. |
เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. |
เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. |
สารัตถศึกษา | น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. |
อุปนิษัท | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. |
Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] |
คุณภาพชีวิต | คุณภาพชีวิต, ความรู้สึกพึงพอใจในเรื่องต่าง ๆ อันเป็นความต้องการของตัวบุคคล ที่มีการดำรงชีพของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคม หนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง โดยจะมีเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานที่ต้องบรรลุแต่ละด้าน หรือกำหนดเป็นตัวชี้วัด จึงเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงระด [สุขภาพจิต] |
Newton's laws of motion | กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน, กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎที่ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเป็นพื้นฐานของวิชากลศาสตร์มี 3 ข้อ คือ กฎข้อ 1 วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ(กฎนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากฎความเฉื่อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pure science | วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์, วิชาหรือความรู้ที่ได้จากผลการศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ โดยความสนใจหรือความต้องการของนักวิทยาศาสตร์เอง ซึ่งอาจจะเป็นพื้นฐานนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทางประยุกต์หรือเทคโนโลยี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
bread-and-butter | (adj) สำคัญมาก, See also: เป็นพื้นฐาน |
build on | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build upon |
build on | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, See also: ใช้บางสิ่งให้เป็นประโยชน์กับ, Syn. build upon |
build upon | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build on |
build upon | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, Syn. build on |
primal | (adj) ที่เป็นพื้นฐาน, Syn. fundamental |
primarily | (adv) อย่างที่เป็นพื้นฐาน, Syn. fundamentally |
primary | (n) สิ่งที่เป็นพื้นฐาน |
primitive | (adj) ที่เป็นพื้นฐาน, Syn. fundamental |
privation | (n) การขาดแคลนซึ่งสิ่งจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต, Syn. want, poverty |
quark | (n) อนุภาคมูลฐานสามชนิดซึ่งเป็นพื้นฐานของมวลทั้งหมดในจักรวาล |
rudimentary | (adj) ซึ่งเป็นพื้นฐาน, See also: เบื้องต้น, Syn. basic, elemental, initial |
categorical imperative | n. กฎที่ว่าการกระทำของคนนั้นควรเป็นการบริหารซึ่งเป็นพื้นฐานของกฎทั่วไป |
classic | (แคลส'ซิค) adj. ยอดเยี่ยม, ดีเด่น, ชั้นหนึ่ง, ชั้นเอก, ดีถึงขนาด, อมตะ, เป็นพื้นฐาน, เป็นหลัก, มีชื่อเสียงทางประวัติศาสตร์หรือวรรณคดี, เป็นแบบอย่าง, เป็นประเพณี, เกี่ยวกับภาษากรีกและลาติน, แบบกรีกและโรมัน, เกี่ยวกับเอกลักษณ์หรือลีลาโบราณ. n. นักเขียนชั้นหนึ่ง, นักวรรณค |
subjacent | (ซับเจ'เซินทฺ) adj. อยู่ใต้, ข้างล่าง, เป็นพื้นฐาน, เป็นรอง., See also: subjacency n., Syn. underlying |
substantial | (ซับสแทน'เชิล) adj., n. (สิ่งที่) มากมาย, ยิ่งใหญ่, มีเนื้อหา, มีใจความ, มีแก่นสาร, มีตัวตน, เป็นเนื้อหนังมังสา, เป็นพื้นฐาน, มั่งคั่ง, มีอิทธิพล, อุดมสมบูรณ์, แน่นหนา, เป็นความจริง, เป็นของจริง.., See also: substantiality n. substantialness n. |