เปรียบเทียบ | ก. พิจารณาเทียบเคียงให้เห็นลักษณะที่เหมือนกันและต่างกัน. |
เปรียบเทียบ | น. การที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดค่าปรับผู้กระทำผิดในคดีอาญาที่กฎหมายกำหนดให้เปรียบเทียบปรับได้ เมื่อผู้กระทำผิดยินยอมเสียค่าปรับแล้ว คดีอาญาเป็นอันเลิกกัน. |
กระดี่ได้น้ำ | น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เช่น เขาดีใจเหมือนกระดี่ได้น้ำ. |
กระต่ายตื่นตูม | น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการตื่นตกใจง่ายโดยไม่ทันสำรวจให้ถ่องแท้ก่อน. |
กระบุง | น. ภาชนะสานทึบรูปกลมสูง พื้นก้นเป็นสี่เหลี่ยม, ลักษณนามใช้เปรียบเทียบในความหมายว่า มาก เช่น เขาบ่นไม่รู้กี่กระบุง. ว. มาก เช่น เขาระเบิดความในใจออกมาเป็นกระบุง. |
กระบุงโกย | ว. จำนวนมาก เช่น มีข้าวของเป็นกระบุงโกย.น. ลักษณนามใช้เปรียบเทียบในความหมายว่า จำนวนมาก เช่น จะไปต่างจังหวัดแค่ ๒ วัน ขนเสื้อผ้ามาตั้งกี่กระบุงโกย. |
กว่า | เป็นคำใช้เปรียบเทียบแสดงความยิ่งหรือหย่อนต่อ เช่น มากกว่า น้อยกว่า ดีกว่า. |
ขี้ข้า | คำประชดเชิงเปรียบเทียบที่บ่งบอกฐานะต่ำต้อย, คำดูถูกเหยียดหยามว่าเป็นผู้มีฐานะต่ำต้อย (ใช้เป็นคำด่า). |
ดวง | ใช้ประกอบคำอื่นเป็นคำเปรียบเทียบ เช่น ดวงใจ ดวงตา ดวงสมร หมายความถึงสิ่งที่เป็นที่รักยิ่ง หญิงที่รัก หรือลูกที่รัก |
ดวงใจ, ดวงตา | น. คำเปรียบเทียบเรียกหญิงที่รักหรือลูกที่รัก. |
โดยปริยาย | ว. โดยอ้อม, โดยความหมายเปรียบเทียบ, โดยขยายความหมายออกไป, เช่น โดดร่ม ความหมายตรงว่า กระโดดจากเครื่องบินโดยมีร่มชูชีพเป็นเครื่องพยุง ความหมายโดยปริยายว่า หนีงาน, หนีโรงเรียน. |
ตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ | ก. ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย เช่น คนดีตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้, เป็นคำเปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ที่ใดก็ไม่สูญหาย เช่น ของหลวงตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้. |
ตลาดหน้าคุก | น. ตลาดที่ถือโอกาสขายโก่งราคาแพงกว่าปรกติและผู้ซื้อจำเป็นต้องซื้อ, มักใช้เป็นคำเปรียบเทียบว่า ของแพงเหมือนกับของตลาดหน้าคุก. |
ใต้ | ว. ที่อยู่ในที่หรือฐานะตํ่ากว่าสิ่งอื่นเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น รถไฟใต้ดิน อยู่ใต้อำนาจ, ตรงข้ามกับ เหนือ เช่น ใต้ลม, ตํ่ากว่าพื้นผิวระดับหรือเกณฑ์ เช่น ใต้ดิน ใต้นํ้า. |
เทียบเคียง | ก. เปรียบเทียบ. |
แบ่งภาค | ก. แยกส่วนของร่างเดิมออกเป็นอีกร่างหนึ่งหรือหลายร่างโดยเอกเทศ เช่น พระนารายณ์แบ่งภาคมาเกิด, โดยปริยายเป็นคำเปรียบเทียบหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ใครจะแบ่งภาคไปทำได้. |
ประเทียด | ก. ประชด, ว่าร้ายในเชิงเปรียบเทียบ, เขียนเป็น ปรทยด หรือ ประทยด ก็มี เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด, จึงจะรุมโรมโซรมประทยด สยดตัดพ้อ (ม. คำหลวง ชูชก). |
ปรับ ๒ | น. โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ซึ่งผู้กระทำความผิดต้องชำระเงินตามจำนวนที่ศาลกำหนด หรือตามที่ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบได้เปรียบเทียบ. |
ปลิว | (ปฺลิว) ก. ลอยตามลม, ถูกลมพัด, (ใช้แก่สิ่งที่มีลักษณะเบา), โดยปริยายใช้เป็นคำเปรียบเทียบ มีความหมายคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินตัวปลิว. |
เปี๊ยก | ว. เล็กมากเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่นหรือสิ่งอื่น. |
แม้ | คำสนับสนุนข้ออ้างให้เห็นเด่นขึ้นโดยอาศัยการเปรียบเทียบ เช่น อย่าว่าแต่ผู้ใหญ่เลย แม้เด็กก็เข้าใจ. |
ยองใย | ใช้เป็นคำเปรียบเทียบว่ามีขนาดเล็กเท่าใยแมงมุม เช่น ไม่มีความผิดแม้เท่ายองใย. |
ย่อม ๒ | ว. มีขนาดค่อนข้างเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับสิ่งที่ใหญ่กว่า เช่น นี่ขนาดใหญ่ นั่นขนาดย่อม, เบา (ใช้แก่ราคา) |
ยาว | ว. ลักษณะของสิ่งใด ๆ มีกำหนดระยะจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งที่ขยายออกไปไม่ได้แล้ว เช่น ถนนยาว ๓๐ กิโลเมตร เชือกยาว ๒ เมตร, ลักษณะส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มีกำหนดระยะยืดหรือยืนเป็นเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งมากกว่าอีกสิ่งหนึ่ง เมื่อมีการเปรียบเทียบกัน, ไม่สั้น เช่น เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว กระโปรงยาว, นาน (ใช้แก่เวลา) เช่น หน้าร้อนกลางวันยาวกว่ากลางคืน. |
ยิ่ง | ว. ถ้าอยู่ข้างหลัง หมายความว่า เป็นยอด, ที่สุด, เช่น งามยิ่ง ดียิ่ง, ถ้าอยู่ข้างหน้า ใช้ในเชิงเปรียบเทียบหมายความว่า เกิน, ลํ้า, เพิ่มขึ้น, เจริญขึ้น, มากขึ้น, ฯลฯ เช่น ยิ่งงาม ยิ่งดี, ถ้าประกอบหน้าคำอื่นมักมาเป็นคู่กันเสมอ เช่น ยิ่งมากยิ่งดี ยิ่งตียิ่งกัด ยิ่งแก่ยิ่งโง่ ยิ่งโตยิ่งเซ่อ. |
แย่งกันเป็นศพมอญ | ก. ยื้อแย่งกัน (ใช้ในความเปรียบเทียบ). |
เล่นขายของ | ก. ลักษณะการกระทำที่ไม่ถูกหลักเกณฑ์ ไม่จริงไม่จังเหมือนทำเล่น ๆ (มักใช้เป็นเชิงเปรียบเทียบ) เช่น ทำขนมขายนิด ๆ หน่อย ๆ เหมือนกับเด็กเล่นขายของ. |
สถิติ | (สะ-) น. หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. |
สลาตัน | (สะหฺลา-) น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในปลายฤดูฝน ว่า ลมสลาตัน, เรียกลมพายุที่มีกำลังแรงจัดทุกชนิด เช่น ไต้ฝุ่น ไซโคลน ว่า ลมสลาตัน, โดยปริยายใช้เป็นความเปรียบเทียบหมายถึงอาการที่ไป มา หรือเกิดขึ้นรวดเร็วอย่างลมสลาตัน เช่น เวลาเขาโกรธอย่างกับลมสลาตัน. |
สวนความ | ก. สอบเปรียบเทียบข้อความ. |
สอบ ๑ | ก. ตรวจ ทดลอง เปรียบเทียบ หรือไล่เลียง เพื่อหาข้อเท็จจริง หรือวัดให้รู้ว่ามีความรู้หรือความสามารถแค่ไหน เช่น สอบตาชั่งให้ได้มาตรฐาน สอบราคาสินค้า สอบปากคำผู้ต้องหา สอบพิมพ์ดีด. |
สั้น | ว. ลักษณะส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มีกำหนดระยะยืดหรือยืนเป็นเส้นตรงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งน้อยกว่าอีกสิ่งหนึ่งเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น เสื้อแขนสั้น กระโปรงสั้น ถนนสายนี้สั้นกว่าถนนสายอื่น ๆ, มีระยะเวลานานน้อยกว่าอีกช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น หน้าหนาวกลางวันสั้นกว่ากลางคืน. |
สัมพัทธ์ | ว. ที่เปรียบเทียบกัน เช่น ความเร็วสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์. |
หมากลางถนน | น. หมาที่ไม่มีเจ้าของ, โดยปริยายใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบคนที่ไม่มีสังกัด ไม่มีญาติพี่น้อง ยากจนอนาถา ไม่มีใครเหลียวแล เช่น เขาตายอย่างหมากลางถนน. |
หูเข้าพรรษา | ว. ไม่รับรู้รับฟังสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้นมักใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบ เช่น ทำเป็นหูเข้าพรรษาไปได้. |
เหนือ | (เหฺนือ) ว. ที่อยู่ในที่หรือฐานะสูงกว่าสิ่งอื่นเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น เขามีอำนาจเหนือฉัน, ที่มีความรู้ความสามารถเป็นต้นสูง เช่น เขามีฝีมือเหนือชั้นกว่าคู่ต่อสู้, ข้างบน เช่น สวะลอยอยู่เหนือนํ้า, ตรงข้ามกับ ใต้. |
ใหญ่ | ว. โต เช่น พี่คนใหญ่, คนโต เช่น เขยใหญ่, มีขนาดโตกว่าหรือสำคัญกว่าเป็นต้นเมื่อเปรียบเทียบกัน เช่น ข่าวใหญ่ สงครามใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก เช่น บ้านหลังใหญ่ |
อัตราส่วน | น. เกณฑ์เปรียบเทียบปริมาณของของอย่างเดียวกันหรือต่างกัน เพื่อจะได้ทราบว่าปริมาณแรกเป็นเศษส่วนเท่าใดของปริมาณหลัง เช่น อัตราส่วนของนายแพทย์ ๑ คน ต่อประชาชน ๒๕๐ คน อัตราส่วนของนักศึกษา ๑ คน ต่อหนังสือในห้องสมุด ๕ เล่ม |
อัตราส่วน | การเปรียบเทียบปริมาณที่เป็นของอย่างเดียวกัน เพื่อให้ทราบว่าปริมาณแรกเป็นกี่เท่าของปริมาณหลัง หรือเป็นเศษส่วนเท่าใดของปริมาณหลัง เช่น จำนวนผู้ใช้หนังสือในห้องสมุดกับจำนวนเจ้าหน้าที่ห้องสมุดบางแห่งคิดเป็นอัตราส่วน ๑๐๐ : ๑ ครูกับนักเรียนควรจะมีอัตราส่วนไม่เกิน ๑ : ๔๐. |
อุปมา | (อุปะ-, อุบปะ-) ก. เปรียบเทียบ. |
อุปมาโวหาร | น. สำนวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ. |
อุปมาน | (อุปะ-, อุบปะ-) น. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน. |
อุปมาอุปไมย | (อุปะมาอุปะไม, อุบปะมาอุบปะไม) น. การเปรียบเทียบกัน. |
อุปไมย | (อุปะไม, อุบปะไม) น. สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. |
อุปาณ- | (อุปานะ-) ว. เปรียบเทียบ เช่น อุปาณวาจา ว่า การกล่าวเปรียบเทียบ. |
อุ้มสม | ก. อุ้มไปให้สมสู่กัน (ในวรรณคดีใช้แก่การที่เทวดาอุ้มพระเอกไปให้สมสู่กับนางเอกที่ตนเห็นว่าคู่ควรกัน), (สำ) เปรียบเทียบคู่ผัวเมียที่เหมาะสมกันว่า ราวกับเทวดาอุ้มสม. |
Comparative librarianship | บรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Comparative analysis | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] |
Comparative advantage | ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] |
Comparative economics | เศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] |
Multiple comparisions (statistics)) | การเปรียบเทียบพหุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactive standard | สารมาตรฐานกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสี ที่รู้จำนวนและชนิดของอะตอมกัมมันตรังสี ณ เวลาอ้างอิงใดๆ ใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับปรับเทียบอุปกรณ์วัดรังสี หรือใช้ในการวัดเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ ปกติใช้สารกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวเป็นสารมาตรฐานกัมมันตรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Oxygen enhancement ratio | อัตราส่วนการเสริมผลของออกซิเจน, โออีอาร์, อัตราส่วนเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่มีผลต่อเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตเมื่อไม่มีและมีออกซิเจน ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน <br> OER = ปริมาณรังสีเมื่อไม่มีออกซิเจน / ปริมาณรังสีเมื่อมีออกซิเจน </br> <br>(ดู radiosensitizer ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] |
Fission yield | ฟิชชันยีลด์, ร้อยละของนิวไคลด์ใดๆ ต่อนิวไคลด์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการแบ่งแยกนิวเคลียส หรือหมายถึงพลังงานที่ปล่อยจากการแบ่งแยกนิวเคลียสในการระเบิดแบบเทอร์โมนิวเคลียร์ เมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานที่ปล่อยจาก<font color="#8b0000">การหลอมนิวเคลียส</font> [นิวเคลียร์] |
Allegories | นิทานเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Anatomy, Comparative | กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Art, Comparative | ศิลปะเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative accounting | การบัญชีเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative advantage (International trade) | ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (การค้าระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
Comparative civilization | อารยธรรมเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative economics | เศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative education ; Comparative studies | การศึกษาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative government | การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative law | กฎหมายเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative management | การจัดการแบบเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparison (Philosophy) | การเปรียบเทียบ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
Comparison (Psychology) | การเปรียบเทียบ (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Comparison (Psychology) in children | การเปรียบเทียบในเด็ก (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Comparison advertising | โฆษณาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Grammar, Comparative and general | ไวยากรณ์เปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Relative Biological Effect | ผลทางชีววิทยาสัมพัทธ์, การเปรียบเทียบปริมาณรังสีของรังสีชนิดหนึ่งกับรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60 ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน $ RBE = \frac{ ปริมาณรังสีจากรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 }{ ปริมาณรังสีจากรังสีชนิดอื่น } $ [นิวเคลียร์] |
Literature, Comparative | วรรณกรรมเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Multiple comparisons (Statistics) | การเปรียบเทียบพหุ (สถิติ) [TU Subject Heading] |
Philosophy, Comparative | ปรัชญาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] |
Comparative Mortality Index | ดัชนีเปรียบเทียบภาวะการตาย, Example: เป็นดัชนีที่ใช้เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ประชากร โดยปรับมาตรฐานเพื่อขจัดผลจากความแตกต่างของ โครงสร้างประชากรออก ดัชนีนี้หาได้โดยใช้อัตราภาวะการตายมาตรฐาน (standard mortality rates) คูณกับประชากรในกลุ่มอายุต่างๆ ของประชากรที่เราศึกษาและบวกค่าผลคูญที่ได้เข้าด้วยกัน ก็จะเป็นจำนวนการตายที่คาดหวัง จากนั้นจึงคำนวณดัชนีดังกล่าวโดยเปรียบเทียบระหว่างการตายที่เกิดขึ้นจริง (observed deaths) กับจำนวนการตามที่คาดหวัง (expected death) ซึ่งได้จากการใช้อัตรามาตรฐาน [สิ่งแวดล้อม] |
Comparative Density Index | ดัชนีความหนาแน่นเปรียบเทียบ, Example: เป็นดัชนีที่ใช้ในการเปรียบเทียบแบบแผนการ ตั้งถิ่นฐานของประชากรหลายกลุ่ม ดัชนีนี้มีหลายตัว เช่น ความหนาแน่นของ ประชากรต่อหน่วยพื้นที่ที่สามารถเพาะปลูกได้ (density of population per unit of cultivable area) ความหนาแน่นของเกษตรกรต่อพื้นที่ที่สามารถ เพาะปลูกได้ (Density of agricultural popultion per cultivable area) [สิ่งแวดล้อม] |
Comparative Advantage, Theory of | ทฤษฎีว่าด้วยการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ, Example: ทฤษฎีที่นำเสนอโดยนักเศรษฐศาสตร์ยุคคลาสสิกชาว อังกฤษ ชื่อ เดวิด ริคาร์โด (ดู Ricardo, David) เมื่อ พ.ศ. 2360 มีสาระสำคัญว่าการที่แต่ละประเทศมีต้นทุนเปรียบเทียบแตกต่างกัน ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ โดยแต่ละประเทศจะผลิตสินค้า ที่มีต้นทุนเปรียบเทียบต่ำที่สุด ทฤษฎีนี้แตกต่างกับทฤษฎีความได้เปรียบสมบูรณ์ (ดู Absolute Advantage, Theory of) ในแง่ที่มีกำหนดว่าประเทศคู่ค่าใดควรจะผลิตสินค้าใดนั้น ไม่จำเป็นต้องขึ้นอยู่กับการที่ประเทศนั้นต้องมีความได้เปรียบสมบูรณ์เสมอไป ประเทศนั้นยังคงสามารถผลิตสินค้าอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่มีความเสียเปรียบสมบูรณ์น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับการผลิตสินค้าชนิดอื่นๆ ได้ [สิ่งแวดล้อม] |
radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] |
sterile insect technique | การควบคุมจำนวนแมลงด้วยแมลงที่เป็นหมัน, คือ วิธีการควบคุมประชากรแมลง โดยใช้แมลงชนิดเดียวกันที่เป็นหมันด้วยรังสี โดยมีหลักการคือ นำแมลงม ทำให้เป็นหมันด้วยรังสีชนิดก่อไอออน แล้วปล่อยไปในธรรมชาติ แมลงตัวเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์กับแมลงตัวผู้ที่เป็นหมัน จะไม่สามารถขยายพันธุ์ต่อไปได้ การควบคุมแมลงวิธีนี้ จะต้องปล่อยแมลงที่เป็นหมันจำนวนมากหลายรุ่นต่อเนื่องกัน จนกว่าประชากรแมลงลดลงหรือหมดไป ข้อดีของวิธีการนี้เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการใช้ยาฆ่าแมลง คือ ไม่มีสารพิษตกค้างในผลิตผลการเกษตร และไม่ทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ ประเทศไทยมีการใช้วิธีการนี้ควบคุมแมลงวันผลไม้ (Oriental fruit fly) ที่ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง และ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา [พลังงาน] |
ฉลากเขียว | ฉลากที่ให้กับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน [พลังงาน] |
Comparative financial statement | งบการเงินเปรียบเทียบ [การบัญชี] |
Compression moulding | การขึ้นรูปโดยใช้แม่พิมพ์แบบอัดเป็นวิธีการขึ้นรูปที่ใช้กันมากที่สุด ในโรงงานอุตสาหกรรมเมื่อเปรียบเทียบกับการขึ้นรูปโดยใช้แม่พิมพ์แบบอื่น ๆ เพราะเป็นวิธีที่ง่ายและไม่ต้องลงทุนทางด้านเครื่องจักรสูง เพราะแม่พิมพ์และเครื่องอัดมีราคาไม่สูงมากนัก เครื่องอัดที่นิยมใช้ ได้แก่ เครื่องอัดระบบไฮดรอลิค การผลิตเริ่มจากการนำยางคอมพาวด์มาวางในแม่พิมพ์ที่ร้อน ปิดแบบแม่พิมพ์ อัดด้วยความร้อนและความดันภายใต้อุณหภูมิที่กำหนด ยางจะเกิดการวัลคาไนซ์และคงรูปเป็นผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นถอดออกจากแม่พิมพ์ จะได้ผลิตภัณฑ์ตามต้องการ [เทคโนโลยียาง] |
Isoprene rubber or Polyisoprene | ยางพอลิไอโซพรีนหรือยาง IR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกับยางธรรมชาติ จึงมีสมบัติต่างๆ ใกล้เคียงกับยางธรรมชาติมาก และสามารถใช้แทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติแล้ว ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนต่อแรงดึง และความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย เนื่องจากยาง IR มีสัดส่วนของโครงสร้างแบบ cis- ที่ต่ำกว่ายางธรรมชาติจึงมีแนวโน้มที่จะตกผลึกได้น้อยกว่า แต่มีข้อดีคือ ยางมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และมีสีขาวสวย [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Analysis, Comparative | การวิเคราะห์เปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Analysis, Coveriate | วิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้สถิติปรับข้อมูลในกรณี [การแพทย์] |
Anatomy, Comparative | กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Buffer Saline | น้ำยาเปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Calibration Curve | เส้นโค้งเปรียบเทียบ, เส้นปรับเทียบ [การแพทย์] |
Circuit, Comparative | วงจรเปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Comparative Method | วิธีวิเคราะห์ที่ใช้เพื่อการเปรียบเทียบค่า [การแพทย์] |
Comparative Studies | การศึกษาเปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Comparative Studies, Two Method | วิธีเปรียบเทียบค่าที่วิเคราะห์โดย2วิธี [การแพทย์] |
Compare | เปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Comparison Group | กลุ่มเปรียบเทียบ [การแพทย์] |
against | (prep) เปรียบเทียบกับ |
allegorize | (vt) เปรียบเทียบ |
allegorize | (vi) เปรียบเทียบ, Syn. compare |
allegory | (n) การแฝงคติ, See also: การสมมติเปรียบเทียบ |
allegory | (n) นิทานเปรียบเทียบ |
analogism | (n) อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ |
analogize | (vi) ให้เหตุผลโดยเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกัน |
analogize | (vt) ให้เหตุผลโดยเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกัน, Syn. compare, liken, make a comparison |
between | (prep) เปรียบเทียบระหว่างสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง |
cf. | (abbr) เปรียบเทียบ (คำย่อของ compare) |
collate | (vt) เปรียบเทียบ, Syn. compare, relate |
collator | (n) ผู้ที่เปรียบเทียบ |
comparable | (adj) ที่สามารถเปรียบเทียบกันได้, Syn. akin, analogous |
comparative | (adj) ที่เปรียบเทียบกัน, Syn. camparable, correlative |
comparator | (n) เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดเปรียบเทียบ |
compare | (vi) เปรียบเทียบ |
compare | (vt) เปรียบเทียบ, Syn. assess, correlate, collate |
comparison | (n) การเปรียบเทียบ, Syn. collating, comparative relation |
contrast | (vt) เปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่าง, Syn. counterpoint |
contrast | (n) สิ่งที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง, See also: ข้อแตกต่าง, ข้อเปรียบเทียบ |
control | (n) มาตรฐานเปรียบเทียบในการทดลอง |
compare to | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare with, equate to, liken to |
compare with | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare to |
contrast with | (phrv) แสดงความแตกต่างกับ, See also: เปรียบเทียบกับ |
equate to | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare to, compare with |
ethnology | (n) ชาติพันธุ์วิทยา, See also: การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม |
figurative | (adj) ซึ่งเป็นอุปมาอุปไมย, See also: ซึ่งเปรียบเทียบ, Syn. allegorical, symbolic |
figure of speech | (n) การใช้อุปมาอุปมัย, See also: การใช้สำนวนโวหาร, การเปรียบเทียบ, สำนวนที่สละสลวย, Syn. comparison, metaphor, simile |
pound for pound | (idm) เปรียบเทียบกันด้วยตัวเงิน, See also: คำนึงถึงเงิน, คำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไป |
year on year | (idm) แต่ละปี (มักใช้เมื่อพูดถึงราคา, สถิติ ฯลฯ และเปรียบเทียบกับปีสุดท้าย) |
illustrate | (vi) แสดงตัวอย่าง, See also: อธิบายด้วยตัวอย่าง, กล่าวเปรียบเทียบ, Syn. demonstrate, exemplify, explain |
illustrate | (vt) แสดงตัวอย่าง, See also: ให้ตัวอย่าง, ให้คำอธิบาย, กล่าวเปรียบเทียบ, Syn. demonstrate, exemplify, explain |
imagery | (n) การอุปมาอุปไมย, See also: การเปรียบเทียบ, Syn. figurativeness, metaphor |
incommensurable | (adj) ที่เปรียบเทียบกันไม่ได้, Ant. commensurable |
incommensurable | (n) สิ่งที่เปรียบเทียบกันไม่ได้, Ant. commensurable |
juxtapose | (vt) นำมาวางข้างๆกันเพื่อเปรียบเทียบ, See also: นำมาวางติดกันเพื่อเทียบเคียง |
juxtaposition | (n) การวางติดกันเพื่อเทียบเคียง, See also: การวางข้างๆกันเพื่อเปรียบเทียบ |
liken | (vt) เปรียบเทียบ, Syn. compare |
lower | (adj) ต่ำกว่า (ขั้นเปรียบเทียบ), See also: น้อยกว่า |
match against | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบเท่ากับ, Syn. match with |
madder | (adj) คำคุณศัพท์เปรียบเทียบขั้นกว่าของ mad |
maddest | (adj) คำคุณศัพท์เปรียบเทียบขั้นสูงสุดของ mad |
metaphor | (n) คำอุปมา, See also: คำเปรียบเทียบ, Syn. simile, trope |
metaphor | (n) การใช้คำอุปมา, See also: การพูดเปรียบเทียบ, Syn. figure of speech |
metaphorically | (adv) อย่างเปรียบเทียบ |
mixed metaphor | (n) การใช้คำหรือสำนวนเปรียบเทียบขัดแย้งกันแต่ทำให้ตลกขบขัน |
parallel | (n) การเปรียบเทียบ |
parallel | (vt) เปรียบเทียบ, Syn. fit, match |
price | (vt) เปรียบเทียบราคา |
ratio | (n) อัตราส่วน, See also: สัดส่วน, อัตราเปรียบเทียบ, Syn. comparison, proportion |
accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ |
alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
allegoric | (al) (แอลลิกอ' ริค, -เคิล) adj. แฝงความหมาย, เปรียบเทียบ, Syn. comparative |
allegorise | (แอล' ลิกะไรซ) vt., vi. เปรียบเทียบ, สมมุติ, เป็นสัญลักษณ์ |
allegory | (แอล' ลิโกรี) n. การเปรียบเทียบ, การแฝงคติ, การสมมุติ, นิทานเปรียบเทียบ, เครื่องหมาย, Syn. parable, representation |
alternate | (ออล' เทอเนท) vt., vi., n., adj. สลับกัน, ผลัดกัน, หมุนเวียนกัน, หนึ่งเว้นหนึ่ง, คนละครั้ง, ตัวแทน, แผนเปรียบเทียบ. -alternateness n., Syn. interchange |
alu | (เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ |
analog | (แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ |
analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ |
analogic | (al) (แอนนะลอจ' จิค, -เคิล) adj. คล้ายกัน, เหมือนกัน, อุปมา, เปรียบเหมือน analogism (อะแนล' โลจิสซึม) n. อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ -analogist n., -analogistic adj. (reasoning, analogy) |
analogize | (อะแนล'โชไจซ) vt., vt. ใช้วิธีการอุปมาเปรียบเทียบในการอธิบายหรือโต้เถียง, ทำการอุปมาในลักษณะเหมือนกัน |
analogue | (แอน' นะลอก) n. ของที่คล้ายกัน, ค่าที่มีความต่อเนื่องกันโดยตลอด, เชิงอุปมาน หมายถึง การแทนปริมาณแดสงจำนวนโดยการวัดในลักษณะต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ความเร็วของรถยนต์ ซึ่งวัดได้จากความเร็วของการหมุนของวงล้ออาจจะแทนได้ด้วยจำนวนเลข ดู digital เปรียบเทียบ |
arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ |
ascending order | เรียงลำดับขึ้นหมายถึง การเรียงลำดับจากต่ำไปหาสูง เช่น จาก 0 ถึง 100 หรือจาก A ถึง Z ตรงข้ามกับ descending order หรือเรียงลำดับลงดู descending order เปรียบเทียบ |
balance of trade | n. ดุลการค้าของประเทศเป็นการเปรียบเทียบค่าสินค้าขาเข้า กับสินค้าขาออก |
benchmark | การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน |
card punch | อุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ |
cascade | (แคส'เคด) { cascaded, cascading, cascades } n. น้ำตกเล็กที่ตกจากหน้าผาที่สูงชัน, น้ำตกเป็นหลั่น ๆ , การต่อไฟฟ้าเป็นหลั่น ๆ , การเชื่อมโยง, ใบพะเนียด vt., vi. ตกลงมาเหมือนน้ำตก, ต่อเนื่องกันเป็นขั้นบันได, Syn. cataract แบบต่อเรียงการจัดเรียงวินโดว์บนจอภาพนั้น สามารถทำได้ 2 แบบ คือให้เป็นแบบต่อเรียง ซึ่งจะทำให้สามารถมองเห็นชื่อของแต่ละวินโดว์ที่เรียงต่อกัน หรือแบบแผ่เรียง tile ซึ่งจะทำให้มองเห็นทุกวินโดว์บนจอพร้อม ๆ กันในขนาดเล็ก ๆ ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่คำสั่งของผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ว่าจะสั่งให้เป็นแบบ cascade หรือ tileดู tile เปรียบเทียบ |
centronics port | ช่องเซ็นโทรนิกส์ <ความหมาย>หมายถึง ช่องทางเข้า/ออกที่เดิมใช้เสียบสายเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ กับเครื่องพิมพ์เซ็นโทรนิก ปัจจุบันใช้หมายถึงเพียงช่องขนาน (pararell port) ที่อยู่ทางด้านหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ดู pararell port เปรียบเทียบ |
circuit switching | การสลับวงจรในด้านการสื่อสารข้อมูล (data communications) หมายถึงเทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร) ดู packet switching เปรียบเทียบ |
client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ |
client server system | ระบบรับ-ให้บริการหมายถึง เครือข่ายการทำงานแบบที่กำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเป็นเครื่องบริการแฟ้ม (file server) หรือเป็นที่เก็บโปรแกรมและแฟ้มทั้งหมด คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากกันไม่ได้ ต้องเรียกจากเครื่องบริการแฟ้มเท่านั้นดู file server ประกอบดู peer to peer เปรียบเทียบ |
cold boot | เปิดเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเริ่มใช้งานใหม่ หลังจากที่ปิดสวิตช์แล้ว ดู warm boot เปรียบเทียบ |
cold start | เปิดเครื่อง (คอมพิวเตอร์) การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด โดยเปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นครั้งแรกหรือเริ่มต้นใหม่เนื่องจากบางครั้ง ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ จึงต้องใช้วิธีปิดสวิตช์ แล้วเริ่มต้นใหม่ดู warm start เปรียบเทียบ |
colorimeter | n. การเปรียบเทียบสี |
colourimeter | n. การเปรียบเทียบสี |
companion | (คัมแพน'เยิน) { companioned, companioning, companions } n. เพื่อน, สหาย, มิตร, เพื่อนร่วมงาน, สิ่งเปรียบเทียบ, คู่มือ, ผู้ที่เป็นเพื่อนเฝ้าดูคนไข้, อัศวินตำแหน่งต่ำสุด, ชื่อดาว, ที่ครอบบันไดในตัวเรือ, บันไดในตัวเรือ vt. เป็นเพื่อน, Syn. frien |
comparable | (คอม'เพอระเบิล) adj. ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, พอเปรียบเทียบได้, เทียบเคียงได้., See also: comparability, comparableness n. ดูcomparable, Syn. similar, matching |
comparative | (คัมแพ'ระทิฟว) adj. เกี่ยวการเปรียบเทียบ, ซึ่งเทียบเคียง, พอสมควร., See also: comparativist ผู้เปรียบเทียบ, Syn. parallel -Conf. superlative |
comparator | (คอม'พะระเทอะ) n. เครื่องมือหรืออุปกรณ์เปรียบเทียบ (เช่นเปรียบเทียบระยะทาง ความยาว สีหรืออื่น ๆ) |
compare | (คัมแพร์ ') { compared, comparing, compares } vt .เปรียบเทียบ, เทียบเคียง, อุปมา. vi. เทียบได้กับ, สู้ได้, เทียบได้กับ, การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง., See also: comparer n. ดูcompare -Conf. contrast |
comparison | (คัมแพ'ริเซิน) n. การเปรียบเทียบ ภาวะที่ถูกเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง. -Phr. (degree of comparison การเปรียบเทียบคุณลักษณะในไวยากรณ์), Syn. equation, matching, similarity, correlation |
compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม, ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ |
compression | (คัมเพรส'เชิน) n. การอัด, การบีบ, การกด, ผลจากการถูกอัด, ความกดดัน, ภาวะที่ปริมาตร (ในห้องเครื่อง) ต่ำลงและความกดดันของอากาศสูงขึ้นก่อนการเผาไหม้., Syn. compressure การอัดแน่นหมายถึง นำข้อมูลหรือคำสั่งจำนวนมาก ๆ มาอัดให้แน่น เพื่อ ให้ใช้ที่เก็บในหน่วยความจำ หรือจานบันทึกน้อยลง โดยปกติ จะมีโปรแกรม หรือคำสั่ง ในดอส 6.0 ที่สามารถอัดโปรแกรม ใหญ่ ๆ ที่กินเนื้อที่มาก ๆ ให้เหลือน้อยลง เพื่อจะได้เก็บลงในแผ่นจานบันทึกได้ จานบันทึกชนิดอ่อน floppy disk ในปัจจุบัน มีความสูงสุด 1.44 เมกะไบต์ ฉะนั้น ถ้าแฟ้มข้อมูลใหญ่มาก ก็จะไม่สามารถเก็บลงในแผ่นได้ จึงต้องจัดการอัดให้แน่นเสียก่อน อย่างไรก็ตาม เมื่อจะเรียกมาใช้ จะต้องนำมาคลายออกก่อน เรียกว่า "decompress" การอัดแน่นก็ดี การคลายคืนก็ดี จะต้องมีโปรแกรมเฉพาะจัดทำให้ ในระบบดอส นิยมใช้ PKZip/Unzip ในระบบ Windows 95 โปรแกรมที่นิยมชื่อ WinZip ในระบบยูนิกซ์ ใช้ Gunzipดู expand, decompress เปรียบเทียบ |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ |
computer vendor group | กลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ |
confront | (คันฟรันทฺ') { confronted, confronting, confronts } vt. เผชิญหน้ากับ, พบกับ, นำมาร่วมกันเพื่อตรวจสอบหรือเปรียบเทียบ, See also: confrontment n. confronter n., Syn. oppose, face, meet, Ant. avoid, shun |
contrast | (n. คอน'แทรสทฺ, คันแทรสทฺ') { contrasted, contrasting, contrasts } n. ความผิดแผกกัน, ความตรงกันข้าม, สิ่งหรือบุคคลที่ผิดแผกกันอย่างชัดเจน, ความแตกต่างระหว่างบริเวณดำและขาวในภาพถ่าย. -v. เปรียบเทียบความคิดแผกกัน., See also: contrastable adj. ดูcontrast |
conversion table | n. ตารางเปรียบเทียบค่าของหน่วยน้ำหนักหรือปริมาตร, ตารางเปลี่ยนเงินตรา |
data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
digit punch | การเจาะตัวเลขหมายถึง การเจาะตัวเลขลงในบัตรคอมพิวเตอร์ โดยเจาะรูในช่องของแถวใดแถวหนึ่ง ตั้งแต่แถวที่ 0-9 โดยเจาะ 1 รูต่อ 1 คอลัมน์ เช่นถ้าจะเจาะเลข 7 ก็เจาะที่แถวที่มีเลข 7 ส่วนการเจาะตัวอักษรหรืออักขระพิเศษต่าง ๆ จะต้องเจาะ 2-3 รูในหนึ่งคอลัมน์ รูหนึ่งที่แถวบนเหนือแถวตัวเลข (zone punch) และอีกรูหนึ่งหรือสองรูที่แถวที่มีตัวเลข (digit punch) เรียกว่า รหัสฮอลเลอริทมีความหมายเหมือน numeric punchดู zone punch เปรียบเทียบ |
digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ |
document file | แฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ |
dp | (ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น |
dumb terminal | เครื่องปลายทางใบ้เครื่องปลายทางธรรมดาหมายถึง เครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัลของคอมพิวเตอร์ชนิดธรรมดา ดูเผิน ๆ จะเหมือนกับไมโครคอมพิวเตอร์ แต่จริง ๆ แล้ว จะมีแต่แป้นพิมพ์และจอภาพ ซึ่งเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) ที่อื่น เครื่องปลายทางชนิดนี้ไม่มีหน่วยบันทึกข้อมูล หน่วยความจำ หรือตัวประมวลผล ฉะนั้นจะเก็บข้อมูลหรือประมวลผลอะไรไม่ได้เลยดู intelligent terminal หรือ smart terminal เปรียบเทียบ |
dvorak keyboard | แป้นพิมพ์ดีโวรักแป้นพิมพ์แบบพิเศษ ที่อ้างว่าจัดเรียงลำดับของแป้นอักษรและสัญลักษณ์ เพื่อให้ สะดวกในการใช้สอยสูงสุด แต่กลับมีคนรู้จักน้อยและไม่นิยมใช้กันเท่าใดนัก ดู Qwerty keyboard เปรียบเทียบ |
em dash | (เอ็มแดช) เป็นอักษรพิเศษตัวหนึ่งที่ใช้ในการพิมพ์ มีลักษณะเป็นขีดยาวเท่า ๆ กับอักษร M หรือเครื่องหมาย hyphen 2 ตัวพิมพ์ติด ๆ กัน (--) โดยปกติ จะใช้เพื่อแสดงว่าต้องการเน้นข้อความนั้น ๆ เช่น " การ เล่นกอล์ฟเป็นการพนันอย่างหนึ่ง -- การพนันที่เป็นที่นิยมมากเสียด้วย " ดู en dash เปรียบเทียบ |
even parity | ภาวะคู่หมายถึง การตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล โดยการเพิ่มบิตต่อกันเข้ากับข้อมูล (concate nate) เพื่อให้จำนวนบิตที่มีค่าเป็น 1 เปลี่ยนเป็นเลขคู่ ดู odd parity เปรียบเทียบ |
allegorical | (adj) โดยวิธีสาธก, เป็นเชิงเปรียบเทียบ |
allegory | (n) ชาดก, นิทานเปรียบเทียบ |
analogy | (n) ความคล้ายคลึง, การอุปมา, การเปรียบเทียบ |
commensurate | (adj) เป็นสัดส่วนกัน, เปรียบเทียบกันได้, ได้ส่วน, ซึ่งเทียบเท่า, พอสมน้ำสมเนื้อ |
comparative | (adj) เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ, พอเปรียบได้, พอเทียบได้ |
compare | (vt) เปรียบเทียบ, เทียบเคียง, อุปมา |
comparison | (n) การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง, การอุปมา |
contrast | (n) การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง, ความแตกต่าง, ความตรงข้าม |
incommensurable | (adj) เปรียบเทียบกันไม่ได้, ไม่ได้ส่วน |
incommensurate | (adj) ไม่เพียงพอ, ไม่ได้ส่วน, ซึ่งเปรียบเทียบกันไม่ได้ |
liken | (vt) ทำให้เหมือนกัน, ทำให้คล้ายกัน, เปรียบเทียบ |
metaphor | (n) คำเปรียบเทียบ, คำอุปมาอุปไมย |
metaphorical | (adj) เชิงเปรียบเทียบ, เชิงอุปมาอุปไมย |
parable | (n) นิยายเปรียบเทียบ, การอุปมาอุปไมย |
parallel | (n) เส้นขนาน, การเปรียบเทียบ |
parallel | (vt) เสมอกัน, เปรียบเทียบ |
simile | (n) คำอุปมาอุปไมย, การเปรียบเทียบ |
similitude | (n) การเปรียบเทียบ, ความเหมือนกัน, ทำนอง, ท่าทาง, รูปร่าง |